SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
92
สารและสมบัติของสาร
บทที่ 1 สารชีวโมเลกุล
คือ สารที่มี C และธาตุ H เปนองคประกอบ มีขนาดใหญและพบในสิ่งมีชีวิตเทานั้น มี 4 ประเภท ไดแก
1. ไขมัน และนํ้ามัน ประกอบดวยธาตุ C H O มีหนาที่ดังนี้
ปองกันการสูญเสียนํ้า ชวยทําใหผิวชุมชื้น ปองกันการสูญเสียความรอน ชวยทําใหรางกายอบอุน ชวยใหผมและเล็บมี
สุขภาพดี ชวยละลายวิตามิน A D E K (ไขมัน 1 กรัม ใหพลังงาน 9 กิโลแคลอรี )
ไขมัน เปนสารไตรกลีเซอไรด ซึ่งเกิดจากกรดไขมัน 3 โมเลกุล กับ กลีเซอรอล 1 โมเลกุล
กรดไขมันไมอิ่มตัว + กาซออกซิเจน ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นหืน
แสดงวา นํ้ามันพืช จะเกิดกลิ่นเหม็นหืนไดงาย แตในธรรมชาติจะมีวิตามินE ซึ่งเปนสารตานหืน
การผลิตสบู จากปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน ไดจาก การตมไขมันกับเบส (โซเดียมไฮดรอกไซด / NaOH)
2. โปรตีน ( C H O N ) มีหนาที่ ชวยเสริมสรางการเจริญเติบโตและซอมแซมเนื้อเยื่อ ชวยรักษาสมดุลนํ้าและกรด-เบส เปน
สวนประกอบของเอนไซม ฮอรโมน เลือด และภูมิคุมกัน (1 กรัม ใหพลังงาน 4 KCal)
หนวยยอย คือ กรดอะมิโน มีทั้งหมด 20 ชนิด แบงเปน
• กรดอะมิโนที่จําเปน มี 8 ชนิด ซึ่งรางกายสรางไมได ตองกินจากอาหารเขาไป
• กรดอะมิโนที่ไมจําเปน มี 12 ชนิด ซึ่งรางกายสามารถสังเคราะหไดเอง
การแปลงสภาพโปรตีน คือ การที่ทําใหโครงสรางของโปรตีนถูกทําลาย เชน แข็งตัว
เมื่อไดรับความรอน เมื่อไดรับสารละลายกรด-เบส เมื่อไดรับไอออนของโลหะหนัก
คุณคาทางชีววิทยา หมายถึง คุณภาพของโปรตีนที่นํามาสรางเปนเนื้อเยื่อได(ไข 100%)
3. คารโบไฮเดรต ( C H O ) มีหนาที่ดังนี้
- เปนแหลงพลังงานหลักของคน (1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี) แบง 3 ประเภท ดังนี้
3.1 มอโนแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ) แบงเปน
• นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C5
H10
O5
เรียกวา ไรโบส
• นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C6
H12
O6
เชน กลูโคส ฟรุกโตส ( ฟรักโตส ) กาแลกโทส
3.2 ไดแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลคู )
• กลูโคส + กลูโคส = มอลโทส พบในขาว เมล็ดพืช ใชในการทําเบียร อาหารทารก
• กลูโคส + ฟรุกโตส = ซูโครส หรือ นํ้าตาลทราย พบมากในออย
• กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในนํ้านม
3.3 พอลิแซ็กคาไรด (นํ้าตาลโมเลกุลใหญ )
• แปง เกิดจากกลูโคสหลายพันโมเลกุลมาตอกัน แบบสายยาวและแบบกิ่ง พบมากในพืช
- รางกายคนยอยสลายไดดวยเอนไซมที่มีในนํ้าลาย (อะไมเลส)
• เซลลูโลส เกิดจากกลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล ตอกันแบบสายยาว เปนเสนใยพืช
- รางกายคนยอยสลายไมได ชวยกระตุนใหลําไสใหญเคลื่อนไหว ทําใหอุจจาระออนนุม
• ไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสเปนแสนถึงลานโมเลกุลมาตอกันแบบกิ่ง พบในคนและสัตว ที่ตับและกลามเนื้อ เปนแหลง
พลังงานสํารอง โดยจะสลายกลับคืนเปนกลูโคส เมื่อรางกายขาดแคลนพลังงาน
กรดไขมัน อิ่มตัว ไมอิ่มตัว
จํานวนอะตอมไฮโดรเจน มาก นอย
จุดหลอมเหลว สูงกวา 25 ๐
C ตํ่ากวา 25 ๐
C
สถานะ ของแข็ง ของเหลว
แหลงที่พบมาก ไขมันสัตว นํ้ามันพืช
พันธะระหวางคารบอน เดี่ยว คู
ความวองไวตอปฏิกิริยา นอย มาก
เตรียมสอบวิทยาศาสตร (O-NET)
อ.กรกฤช ศรีวิชัย
93
4. กรดนิวคลีอิก ( C H O N P ) มีหนวยยอย เรียกวา นิวคลีโอไทด
DNA ประกอบดวย นิวคลีโอไทด มาเชื่อมตอกันเกิดเปนสายยาว 2 สายพัน กันเปนเกลียว โดยเกาะกันดวยคูไนโตรเจนเบสที่
เฉพาะเจาะจง คือ อะดีนีน (A) กับ ไทมีน (T) กวานีน (G) กับ ไซโตซีน (C)
บทที่ 2 ปโตรเลียม
เกิดจาก ซากพืชซากสัตวที่ตายทับถม แลวถูกยอยสลาย เกิดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน
2.1 นํ้ามันปโตรเลียม ประเทศไทยพบครั้งแรกที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม และตอมาพบที่ อ.ลานกระบือ จ.กําแพงเพชร
การกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม เรียกวา การกลั่นลําดับสวน โดยใชความรอน 350-400 o
C จะไดผลิตภัณฑ เรียงตามลําดับจาก
จุดเดือดตํ่าไปสูง ดังนี้
มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เบนซิน กาด ดีเซล หลอลื่น เตา ไข ยางมะตอย
2.2 กาซธรรมชาติ ประเทศไทยพบบริเวณอาวไทยและมีมากในเชิงพาณิชย และพบที่ อ.นํ้าพอง จ.ขอนแกน
สวนใหญเปนกาซมีเทน รอยละ 80-95
ปฏิกิริยาการเผาไหม คือ ปฏิกิริยาระหวางสารไฮโดรคารบอนกับกาซออกซิเจน แบงเปน
- การเผาไหมที่สมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2
มากเพียงพอ จะได CO2
และ H2
O ซึ่งจะไมมีเถาถาน และเขมา
- การเผาไหมไมสมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2
นอย จะได CO ซึ่งจะไปจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ทําใหรางกายเกิด
การขาดออกซิเจน อาจเกิดอาการหนามืด เปนลมหรือเสียชีวิตได
2.3 เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน
- กาซมีเทน (CH4
) ใชในการผลิตกระแสไฟฟา ใชในรถปรับอากาศเครื่องยนตยูโร-2
- กาซหุงตม ประกอบดวย กาซโพรเพน (C3
H8
) และกาซบิวเทน (C4
H10
) ที่ถูกอัดดวยความดันสูง จนมีสถานะเปนของเหลว
เรียกวา LPG (Liquid Petroleum Gas)
เลขออกเทน เปนตัวเลขบอกคุณภาพของนํ้ามันเบนซิน โดยกําหนดให
ไอโซออกเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมดี ทําใหเครื่องยนตเดินเรียบ มีเลขออกเทน 100
นอรมอลเฮปเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมไมดี ทําใหเครื่องยนตกระตุก มีเลขออกเทน 0
- นํ้ามันดีเซล บอกคุณภาพโดยใชเลขซีเทน
บทที่ 3 พอลิเมอร
คือ สารที่มีขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของสารขนาดเล็ก (มอนอเมอร) จํานวนมาก
3.1 พลาสติก แบงเปน
• เทอรมอพลาสติก มีโครงสรางแบบโซตรงหรือโซกิ่ง ยืดหยุน และโคงงอได เมื่อไดรับความรอนจะออนตัว สามารถ
เปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได เพราะสมบัติไมมีการเปลี่ยนแปลง
• เทอรมอเซต มีโครงสรางแบบตาขาย มีความแข็งแรงมาก เมื่อไดรับความรอนจะไมออนตัว แตจะเกิดการแตกหัก ไม
สามารถเปลี่ยนรูปรางได เพราะสมบัติมีการเปลี่ยนแปลง
3.2 ยาง แบงเปน
• ยางธรรมชาติ เกิดจากมอนอเมอร คือ ไอโซพรีน รวมตัวกันเปนพอลิไอโซพรีน ดังนี้
มีความยืดหยุน ทนตอแรงดึงทนตอการขัดถู ทนนํ้า นํ้ามันพืชและสัตว แตไมทนนํ้ามันเบนซินและตัวทําละลายอินทรีย เมื่อไดรับความ
เย็นจะแข็งและเปราะ แตเมื่อไดรับความรอนจะออนตัวและเหนียว
• ยางสังเคราะห (ยางเทียม) เชน
: ยาง IR (Isoprene Rubber) มีโครงสรางเหมือนยางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนนอย คุณภาพสมํ่าเสมอ
: ยาง SBR (Styrene - Butadiene Rubber) ทนตอการขัดถูแตไมทนตอแรงดึง ใชทําพื้นรองเทา สายยาง
บทที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี
เกิดจาก สารเริ่มตน เขาทําปฏิกิริยากัน แลวทําใหเกิดสารใหม เรียกวา ผลิตภัณฑ
4.1 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
- ปฏิกิริยาการเผาไหมของถานหิน จะมีกํามะถัน (S) เมื่อเผาไหมกํามะถันจะทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนทําใหเกิดกาซ
ซัลเฟอรไดออกไซดและเมื่อทําปฏิกิริยากับนํ้าฝน ทําใหเกิดกรดกํามะถัน/กรดซัลฟวริก (ฝนกรด)
- การเผาไหมเชื้อเพลิงในเครื่องยนต จะเกิดกาซ NO2
กลายเปนฝนกรดไนตริกได
- ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (Fe2
O3
) เกิดจาก ปฏิกิริยาระหวางเหล็กกับกาซออกซิเจน
- ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (ผงฟู) ดวยความรอนจะไดกาซ CO2
และ H2
O
- สารไฮโดรเจนเปอรออกไซด เมื่อไดรับแสงและความรอน จะสลายตัว ดังนั้น จึงตองเก็บไวในที่มืด
- ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3
) ดวยความรอน ไดปูนขาว (CaO) ใชในการผลิตปูนซีเมนต
- ปฏิกิริยาระหวางหินปูนกับกรดไนตริก / กรดซัลฟวริก ทําใหสิ่งกอสรางสึกและเกิดหินงอกหินยอย
94
บทที่ 5 ธาตุและสารประกอบ
พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมของธาตุ โดยแบงเปน
- พันธะไอออนิก : เกิดจากโลหะกับอโลหะ เชน NaCl CaO
- พันธะโควาเลนซ : เกิดจากอโลหะกับอโลหะ เชน H2
Cl2
CO2
CH4
ธาตุหมู 1A และ 2A เปนโลหะ เปนของแข็ง จุดเดือด / จุดหลอมเหลวสูง นําไฟฟาได
ธาตุหมู 1A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 1 จึงหลุดออกงาย ทําใหมีประจุ +1 เชน Na+
มีความวองไวตอปฏิกิริยาสูงมาก ลุกไหมไดอยางรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยากับนํ้ารุนแรง
ธาตุหมู 2A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 2 จึงสูญเสียไดงาย ทําใหมีประจุ +2 เชน Mg2+
ธาตุหมู 7A (Halogen) เปนอโลหะ อยูเปนโมเลกุลมี 2 อะตอม เชน F2
Cl2
Br2
I2
At2
• มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 7 จึงสามารถรับอิเล็กตรอนไดอีก 1 กลายเปนไอออนประจุ -1
• มีความวองไวตอปฏิกิริยาเคมีมาก
ธาตุหมู 8A เปนอโลหะ มีสถานะเปนกาซ อยูเปนอะตอมอิสระ : He Ne Ar Kr Xe Rn
• มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 8 จึงมีความเสถียรมาก ไมวองไวตอปฏิกิริยาเคมี จึงเรียกวา กาซเฉื่อย
โลหะแทรนซิชัน เปนโลหะ มีสมบัติกายภาพเหมือนโลหะหมู 1A / 2A แตสมบัติเคมีแตกตางกัน
ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคลายโลหะและบางประการคลายอโลหะ เชน
อะลูมิเนียม (Al) มีความหนาแนนตํ่า จึงแข็งแรงแตนํ้าหนักเบา นําไฟฟา/ความรอนดี เชน
บอกไซด :ใชทําโลหะอะลูมิเนียม อุปกรณไฟฟา เครื่องครัว หออาหาร
คอรันดัม หรือ อะลูมิเนียมออกไซด : ทําอัญมณีที่มีสีตามชนิดของโลหะแทรนซิชัน
สารสม (Al(SO4
)2
. 12H2
O) : ใชในการทํานํ้าประปาหรือกวนนํ้าใหตกตะกอน
ซิลิกอน (Si) - อะตอมยึดตอกันดวยพันธะโคเวเลนซ ในรูปโครงผลึกรางตาขาย เปนสารกึ่งตัวนํา ใชทําแผงวงจรไฟฟาและ
อุปกรณไฟฟา
ธาตุกัมมันตรังสี คือ ไอโซโทปของธาตุที่มีนิวตรอนตางจากโปรตอนมากๆ ทําใหไมเสถียร จึงสลายตัว โดยปลดปลอยรังสีออก
มา ซึ่งตรวจหาและวัดรังสี โดยใชไกเกอรมูลเลอรเคานเตอร
การเคลื่อนที่และพลังงาน
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ แบงเปน 4 ประเภท ดังนี้
1.1 การเคลื่อนที่แนวตรง : เปนการเคลื่อนที่ ที่ไมมีการเปลี่ยนทิศทาง
การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวระดับ
• อัตราเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางระยะทางกับเวลา
• ความเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางกระจัดกับชวงเวลา ( กระจัด คือ ระยะทางที่สั้นที่สุด)
• ความเรง หาไดจาก ความเร็วที่เปลี่ยนไปกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง (เมตรตอวินาที 2 )
การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง ภายใตแรงโนมถวงของโลก (แนวดิ่ง)
ใชสูตร V = U + g t
1.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล : เปนการเคลื่อนที่เปนเสนโคงพาราโบลา
เชน การโยนของจากเครื่องบิน การโยนลูกบาสเกตบอลเขาหวง การขวางกอนหิน การยิงธนู การตีลูกกอลฟ
1.3 การเคลื่อนที่แบบวงกลม : เกิดจากเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลม
เชน การเหวี่ยงหมุนของบนศีรษะ การเลี้ยวของรถ การขี่มอเตอรไซคไตถัง การโคจรของดวงดาว
1.4 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย : เปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ซํ้าทางเดิมในแนวดิ่ง โดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งจะ
มีคาคงที่เสมอ เชน การแกวงของชิงชา การแกวงของลูกตุมนาฬกา
บทที่ 2 สนามของแรง คือ บริเวณที่มีแรงกระทําตอวัตถุ แบงเปน 3 ประเภท
2.1 สนามแมเหล็ก คือ บริเวณที่มีแรงแมเหล็กกระทํา จะมีทิศจากขั้วเหนือไปยังขั้วใตของแทงแมเหล็ก
เมื่อใหกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดตัวนํา ที่วางตัด (ตั้งฉาก) กับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะมีแรงแมเหล็กกระทํา ทําใหขด
ลวดตัวนําเคลื่อนที่ได นําไปใชสรางมอเตอรไฟฟา
กรณีตรงขาม ถาหมุนขดลวดตัวนําใหตั้งฉากกับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้น เรียกวา กระแส
ไฟฟาเหนี่ยวนํา ซึ่งคนพบโดย ไมเคิล ฟาราเดย และนําไปสรางเครื่องกําเนิดไฟฟา สนามแมเหล็กโลก โลกเสมือนมีแมเหล็กฝงอยู
ใตโลก โดยขั้วโลกเหนือ ทําหนาที่เปน ขั้วใตของแมเหล็ก ขั้วโลกใต ทําหนาที่เปน ขั้วเหนือของแมเหล็ก ทําหนาที่ เปนโลปองกันลม
สุริยะ
2.2 สนามไฟฟา คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟา กระทํา จะมีทิศจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของขั้วไฟฟา
- อนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบ
95
- อนุภาคที่มีประจุลบ (อิเล็กตรอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปยังขั้วบวก
หลักการนี้นําไปใชในการทําเครื่องกําจัดฝุน โดยเมื่อฝุนละอองผานเขาไปในเครื่อง ฝุนเล็กๆ จะรับประจุไฟฟาลบจาก
ขั้วลบของเครื่อง และจะถูกดูดติดแนนโดยแผนขั้วบวกของเครื่อง
2.3 สนามโนมถวง คือ บริเวณที่มีแรงโนมถวงกระทํา ทําใหเกิดแรงดึงดูดวัตถุ พุงเขาสูศูนยกลางโลก
ณ ผิวโลก แรงโนมถวงมีคา 9.8 นิวตันตอ กิโลกรัม แตจะมีคาลดลงไปเรื่อยๆ เมื่ออยูในระดับสูงขึ้นไปจากผิวโลกเรื่อยๆ
แรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ ก็คือ นํ้าหนักของวัตถุบนโลก (weight)
บทที่ 3 คลื่น แบงเปน 2 ประเภท
3.1 คลื่นกล คือ คลื่นที่เดินทางไดตองอาศัยตัวกลาง แบงเปน
สมบัติของคลื่น มี 4 ประเภท
• การสะทอน : เกิดจากการที่คลื่นไป แลวกลับสูตัวกลางเดิม เชน คางคาวและปลาโลมา โดยการสงคลื่นเสียง (Ultra-
sound) ออกไป แลวรับคลื่นที่สะทอนกลับมา
• การหักเห : เกิดจากการที่คลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางที่มีสมบัติตางกัน ทําใหทิศทางเบี่ยงเบน เนื่องจาก
อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป เชน บางครั้งเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง
• การเลี้ยวเบน : เกิดจากการที่คลื่นปะทะสิ่งกีดขวาง แลวแผกระจายไปตามขอบ เชน การที่เราเดินผานมุมอาคารเรียน
หรือมุมตึก จะไดยินเสียงตางๆ จากอีกดานหนึ่งของอาคาร
• การแทรกสอด : เกิดจากการที่คลื่นสองขบวนเคลื่อนที่เขาหากัน ทําใหเกิดบริเวณสงบนิ่งและบริเวณที่สั่นสะเทือนมาก
ธรรมชาติของเสียง มี 3 ประเภท
• ระดับเสียง ขึ้นอยูกับ ความถี่ของเสียง
- หูของคนสามารถรับรูคลื่นเสียงในชวงความถี่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ
เสียงที่มีความถี่ตํ่ากวา 20 เฮิรตซ เรียกวา อินฟราซาวนด (infrasound)
เสียงที่มีความถี่สูงกวา 20,000 เฮิรตซ เรียกวา อัลตราซาวนด (ultrasound)
• ความดัง ขึ้นอยูกับ แอมพลิจูด จะวัดเปนระดับความเขมเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล ดังนี้
- เสียงคอยที่สุดที่เริ่มไดยิน มีระดับความเขมเสียงเปน 0 เดซิเบล
- เสียงดังที่สุดที่ไมเปนอันตรายตอหู มีระดับความเขมเสียงเปน 120 เดซิเบล
องคการอนามัยโลก กําหนดวา ระดับความเขมเสียงที่ปลอดภัยตองไม เกิน 85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกินวันละ 8
ชั่วโมง ถาเกินกวานี้ จะถือวาเปนมลภาวะของเสียง
คุณภาพเสียง คือ คุณลักษณะเฉพาะตัวของเสียง (ไมไดแปลวาเสียงดี หรือไมดี ) ขึ้นอยูกับ รูปรางของคลื่น ชวยระบุแหลง
กําเนิดเสียงที่แตกตางกัน ทําใหเสียงที่ไดยินวาเปนเสียงอะไร
3.2 คลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ คลื่นที่สามารถเคลื่อนที่ได โดยไมอาศัยตัวกลาง มี 7 ชนิด ดังนี้
แกมมา เอกซ อัลตราไวโอเลต แสง อินฟราเรด ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ
พลังงานมาก -------------------------------------------------------------------------> พลังงานนอย
ความยาวคลื่นนอย ------------------------------------------------------------------> ความยาวคลื่นมาก
คลื่นแมเหล็กไฟฟา จะเคลื่อนที่ในสุญญากาศดวยความเร็วเทากัน คือ 3 x 108
เมตร/วินาที
คลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่ใชประโยชนมากในชีวิตประจําวัน คือ คลื่นวิทยุ มี 2 ระบบ คือ
- ระบบเอเอ็ม (AM : Amplitude Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหแอมพลิจูดเปลี่ยนแปลง แตความถี่คงที่ สง
กระจายเสียงดวยความถี่ 530-1,600 กิโลเฮิรตซ
- ระบบเอฟเอ็ม (FM : Frequency Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหความถี่เปลี่ยนแปลง แตแอมพลิจูดคงที่ สง
กระจายเสียงดวยความถี่ 88-108 เมกะเฮิรตซ
บทที่ 4 กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร
4.1 กัมมันตภาพรังสี แบงเปน 3 ชนิด
รังสีแกมมา () เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่มีความยาวคลื่นสั้น มีอํานาจทะลุผานมาก กั้นไดใชตะกั่ว
รังสีบีตา () เปนอิเล็กตรอน สามารถกั้นไดโดยใชแผนอะลูมิเนียม
รังสีแอลฟา () เปนนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ( 2
He) สามารถทําใหสารเกิดการแตกตัวเปนไอออนไดดี มีอํานาจทะลุผาน
นอยมาก สามารถกั้นไดโดยใชกระดาษ
4.2 พลังงานนิวเคลียร แบงเปน 2 ประเภท
ฟชชัน ฟวชัน
- ใหญ ----> เล็ก - เล็ก ----> ใหญ
- ควบคุมได - ควบคุมไมได
- เกิดลูกโซ - ไมเกิดลูกโซ
- พลังงานนอย - พลังงานมาก
4
96
โลก ดาราศาสตร และอวกาศ
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.1 โครงสรางโลก แบงตามลักษณะมวลสาร ได 3 ชั้น คือ
1. ชั้นเปลือกโลก แบงเปน 2 บริเวณ คือ
• ภาคพื้นทวีป ประกอบดวย ซิลิกาและอะลูมินา
• ใตมหาสมุทร ประกอบดวย ซิลิกาและแมกนีเซีย
2. ชั้นเนื้อโลก มีความลึก 2,900 กิโลเมตร แบงเปน 3 สวน คือ
• สวนบน เปนหินที่เย็นตัว ชั้นเนื้อโลกสวนบนรวมกับชั้นเปลือกโลก เรียกวา ชั้นธรณีภาค
• ชั้นฐานธรณีภาค เปนชั้นของหินหลอมละลายหรือหินหนืด ที่เรียกวา แมกมา
• ชั้นลางสุด เปนชั้นของแข็งรอนที่แนนและหนืด
3. ชั้นแกนโลก แบงเปน 2 สวน คือ
• แกนโลกชั้นนอก เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของเหลวรอน
• แกนโลกชั้นใน เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของแข็ง
1.2 ปรากฏการณทางธรณีวิทยา
แนวรอยตอที่ทําใหเกิดแผนดินไหว มี 3 แนว คือ
1. แนวรอยตอรอบมหาสมุทรแปซิฟก เกิดแผนดินไหวรุนแรงและมากที่สุด ( 80% ) เรียกวา วงแหวนแหงไฟ ไดแก ญี่ปุน
ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก
2. แนวรอยตอภูเขาแอลปในยุโรปและภูเขาหิมาลัยในเอเซีย เกิดแผนดินไหว (15%) โดยจะเกิดระดับตื้นและปานกลาง
ไดแก พมา อัฟกานิสถาน อิหราน ตุรกี และทะเลเมดิเตอรเรเนียน
3. แนวรอยตอบริเวณสันกลางมหาสมุทรตางๆ ของโลก (5%) ไดแก บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรอินเดียและอารกติก โดยจะเกิดแผนดินไหวในระดับตื้น
ภูเขาไฟ แบงเปน 2 รูปแบบ ดังนี้
• เกิดจาก การปะทุของแมกมา จะมีสัญญาณบอกเหตุลวงหนา เชน แผนดินไหว และมีเสียงคลายฟารอง ซึ่งเมื่อพนออก
มา เรียกวา ลาวา คุพุงเหมือนนํ้าพุรอน เมื่อเย็นตัวกลายเปน หินบะซอลต ซึ่งมีรูพรุน
• เกิดจาก การระเบิดของแมกมาที่มีกาซ ซึ่งจะแยกเปนฟองเหมือนนํ้าเดือดและขยายตัวจนระเบิดอยางรุนแรง พนเศษ
หิน ผลึกแร เถาภูเขาไฟ และเมื่อเย็นตันเปนหิน เรียกวา หินตะกอนภูเขาไฟ ซึ่งเรียกชื่อตามขนาดและชิ้นสวนที่พนออกมา เชน หิน
ทัฟฟ หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ หินกรวดมนภูเขาไฟ
บทที่ 2 ธรณีภาค
2.1 แผนธรณีภาคและการเคลื่อนที่
ป พ.ศ.2458 ดร.อัลเฟรด เวกาเนอร นักอุตุนิยมวิทยา ชาวเยอรมัน ไดตั้งสมมติฐานวา
“ผืนแผนดินทั้งหมดบนโลกแตเดิมเปนแผนดินผืนเดียวกัน เรียกวา พันเจีย เมื่อ 200 - 135 ลานปที่แลว แยกออกเปน 2
ทวีปใหญ คือ ลอเรเซียทางตอนเหนือและกอนดวานาทางตอนใต และเมื่อ 135-65 ลานปที่แลว ลอเรเซียเริ่มแยกเปนอเมริกาเหนือ
และแผนยูเรเซีย (ยุโรป+เอเชีย) กอนดวานาจะแยกเปน อเมริกาใต แอฟริกา ออสเตรเลีย แอนตารกติกา และอินเดีย
แผนธรณีภาคมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ดังนี้
1. ขอบแผนธรณีภาคแยกออกจากกัน
เกิดจาก การดันตัวของแมกมา ทําใหเกิดรอยแตก จนแมกมาถายโอนความรอนได ทําใหอุณหภูมิและความดันลดลง
ทําเปลือกโลกทรุดตัวกลายเปนหุบเขาทรุด ตอมามีนํ้าไหลมาสะสมเปนทะเล และเกิดเปนรองลึก แมกมาจึงแทรกดันขึ้นมา สงผลให
แผนธรณีเคลื่อนตัวแยกออกไปทั้งสองขาง เกิดการขยายตัวของพื้นทะเล
2. ขอบแผนธรณีภาคเคลื่อนเขาหากัน มี 3 แบบ คือ
- แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคใตมหาสมุทร ทําใหแผนหนึ่งมุดลงใตอีกแผนหนึ่ง ปลายของแผนที่
มุดลงจะหลอมกลายเปนแมกมา และปะทุขึ้นมา ทําใหเกิดเปนแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร
- แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ทําใหแผนธรณีภาคใตมหาสมุทรซึ่งหนักกวามุดลงขาง
ลาง เกิดเปนแนวภูเขาไฟชายฝง เชน อเมริกาใต (แอนดีส)
- แผนธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ซึ่งทั้งสองแผนมีความหนามาก ทําใหแผนหนึ่งมุดลงแต
อีกแผนหนึ่งเกยขึ้นเกิดเปนเทือกเขาเปนแนวยาวอยูกลางทวีป เชน เทือกเขาหิมาลัย แอลป
97
บทที่ 3 ธรณีประวัติ
3.1 อายุทางธรณีวิทยา แบงเปน 2 แบบ
- อายุสัมบูรณ เปนอายุของหินหรือซากดึกดําบรรพที่สามารถบอกจํานวนปที่แนนอน ซึ่งคํานวณไดจากครึ่งชีวิตของธาตุ
กัมมันตรังสี ไดแก ธาตุ C-14 K-40
- อายุเปรียบเทียบ ใชบอกอายุของหิน วาหินชุดใดมีอายุมากหรือนอยกวากัน โดยอาศัยขอมูลจากซากดึกดําบรรพที่ทราบ
อายุแนนอน ลักษณะลําดับชั้นหินและโครงสรางของชั้นหิน
3.2 ซากดึกดําบรรพ คือ ซากและรองรอยของสิ่งมีชีวิต ที่ตายทับถมอยูในชั้นหินตะกอน
พืชและสัตวที่จะเปลี่ยนสภาพเปนซากดึกดําบรรพไดตองมีโครงรางที่แข็ง เพื่อวาแรธาตุตางๆ จะสามารถแทรกซึมเขาไป
ในชองวางนั้นได ทําใหทนทานตอการผุพังและตองถูกฝงกลบอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตชะลอการสลายตัว โดยซากของ
สัตวทะเลจะพบมากที่สุด เพราะวาเมื่อจมลงจะถูกโคลนและตะกอนเม็ดละเอียดทับถม ซึ่งตะกอนละเอียดจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตเสีย
หายนอยที่สุด
ประเทศไทยพบซากดึกดําบรรพ เชน ซากไดโนเสาร พบครั้งแรกที่ อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน เปนไดโนเสารเดิน 4 เทา มี
คอ-หาง ยาว กินพืชเปนอาหาร ตั้งชื่อวา “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน”
- รองรอยของสิ่งมีชีวิตที่พิมพรอยอยูในตะกอนที่แข็งตัวเปนหิน เชน รอยเทาไดโนเสารที่ภูหลวง จ.เลย และที่ภูแฝก
จ.กาฬสินธุ หรือรอยเปลือกหอยตาง ๆ
นอกจากนี้ ยังมีซากดึกดําบรรพที่ไมกลายเปนหิน เชน ซากชางแมมมอธ ซากแมลงในยางไมหรืออําพัน
บทที่ 4 เอกภพ
4.1 กําเนิดเอกภพ ทฤษฏีกําเนิดเอกภพ “บิกแบง” (Big Bang) กลาววา
เมื่อเกิดการระเบิดใหญ ทําใหพลังงานเปลี่ยนเปนสสาร เนื้อสารที่เกิดขึ้นจะในรูปของอนุภาคพื้นฐานชื่อ ควารก อิเล็กตรอน
นิวทริโน และโฟตอน
เมื่อเกิดอนุภาคจะเกิดปฏิอนุภาคที่มีประจุตรงขาม เมื่ออนุภาคพบปฏิอนุภาคชนิดเดียวกัน จะหลอมสลายเปนพลังงานจน
หมด แตในธรรมชาติมีอนุภาคมากกวาปฏิอนุภาค จึงทําใหยังมีอนุภาคเหลือ
หลังบิกแบง 10-6
วินาที อุณหภูมิจะลดลงเปนสิบลานลานเคลวิน ทําใหควารกรวมตัวกลายเปนโปรตอน (นิวเคลียสของ
ไฮโดรเจน) และนิวตรอน
หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิจะลดลงเปนรอยลานเคลวิน เกิดการรวมตัวเปนนิวเคลียสของฮีเลียม
หลังบิกแบง 300,000 ป อุณหภูมิจะลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียม จะดึงอิเล็กตรอนเขา
มา ทําใหเกิดเปนอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม
หลังบิกแบง 1,000 ลานป จะเกิดกาแล็กซีตางๆ โดยภายในกาแล็กซีจะมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเปนสารเบื้องตน ในการ
กําเนิดเปนดาวฤกษรุนแรก ๆ
ขอสังเกตและประจักษพยาน ที่สนับสนุนทฤษฏีบิกแบง
1. การขยายตัวของเอกภพ คนพบโดยฮับเบิล นักดาราศาสตรชาวอเมริกา
2.อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ ปจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน
นักดาราศาสตร แบงกาแล็กซี ออกเปน 4 ประเภท
1. กาแล็กซีกังหันหรือสไปรัล เชน กาแล็กซีทางชางเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซี M -81 (M ยอมาจาก
เมสสิแอร (Messier) เปนนักลาดาวหางชาวฝรั่งเศส)
2. กาแล็กซีกังหันมีแกนหรือบารสไปรัล
เชน กาแล็กซี NGC – 7479 (NGC ยอมาจาก The New General Catalogue)
3. กาแล็กซีรูปไข เชน กาแล็กซี M–87
4. กาแล็กซีไรรูปทรง เชน กาแล็กซีแมกเจลเเลนใหญ
บทที่ 5 ดาวฤกษ
เปนกอนกาซรอนขนาดใหญ มีองคประกอบสวนใหญ เปนธาตุไฮโดรเจน
5.1 วิวัฒนาการของดาวฤกษ
• ดาวฤกษที่มีมวลนอย เชน ดวงอาทิตย ใหแสงสวางนอย จึงมีการใชเชื้อเพลิงนอย ทําใหมีชวงชีวิตยาว และจบชีวิตลง
โดยไมมีการระเบิด แตจะกลายเปนดาวแคระ
• ดาวฤกษที่มีมวลมาก จะมีขนาดใหญ ใหแสงสวางมาก จึงมีการใชเชื้อเพลิงมาก ทําใหมีชวงชีวิตสั้น และจบชีวิตลงดวย
การระเบิดอยางรุนแรง เรียกวา ซูเปอรโนวา (supernova)
หลังจากนั้น ดาวที่มีมวลมาก จะกลายเปนดาวนิวตรอน ดาวที่มีมวลสูงมาก ๆ จะกลายเปนหลุมดํา
กําเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย
1. เมื่อเนบิวลายุบตัว ที่แกนกลางจะมีอุณหภูมิสูงเปนแสนองศาเซลเซียส เรียกวา “ดาวฤกษกอนเกิด”
98
2. ปจจุบันที่แกนกลางมีอุณหภูมิสูงเปน 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิด ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร
คือ ปฏิกิริยาหลอมไฮโดรเจน 4 นิวเคลียส กลายเปนฮีเลียม 1 นิวเคลียสและเกิดพลังงานออกมามหาศาล จนทําใหเกิด
สมดุลระหวางแรงโนมถวงกับแรงดันของกาซ เกิดเปนดวงอาทิตย มีสีเหลือง
3. ในอนาคต เมื่อไฮโดรเจนลดลง ทําใหดาวยุบตัวลง ทําใหแกนกลางมีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 100 ลานเคลวิน จนเกิดปฏิกิริยา
เทอรโมนิวเคลียร ที่มีการหลอมฮีเลียม ใหกลายเปนคารบอน
ในขณะเดียวกันรอบนอกของดาว ก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียส ที่มีหลอม
ไฮโดรเจนใหกลายเปนฮีเลียมครั้งใหม
จึงเกิดพลังงานออกมาอยางมหาศาลและทําใหดวงอาทิตยมีขนาดใหญขึ้นเปน 100 เทา และเปลี่ยนจากสีเหลืองเปนสีแดง
เรียกวา ดาวยักษแดง ซึ่งจะปลดปลอยพลังงานออกมามาก ทําใหชวงชีวิตคอนขางสั้น
4. ในชวงทาย แกนกลางจะยุบตัวลงกลายเปนดาวแคระขาว ซึ่งมีขนาดเล็กลงเปน 1 ใน 100
5. ความสวางจะลดลงตามลําดับ และในที่สุดก็จะหยุดสองแสงสวาง กลายเปนดาวแคระดํา (black dwarf)
5.2 ความสวางและอันดับความสวางของดาวฤกษ
• ดาวฤกษที่ริบหรี่ที่สุดที่มองเห็นดวยตาเปลา มีอันดับความสวาง 6
• ดาวฤกษที่สวางที่สุด มีอันดับความสวาง 1
• ดวงอาทิตย มีอันดับความสวาง - 26.7
ถาอันดับความสวางตางกัน x อันดับ จะมีความสวางตางกันประมาณ (2.5)x
เทา
5.3 สีและอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ แบงออกเปน 7 ชนิดหลัก ๆ ดังนี้
• ดาวที่มีอายุนอย จะมีอุณหภูมิผิวสูง มีสีขาว นํ้าเงิน
• ดาวที่มีอายุมาก ใกลถึงจุดสุดทายของชีวิต จะมีอุณหภูมิผิวตํ่า มีสีแดง
O B A F G K M
มวง คราม นํ้าเงิน ขาว เหลือง แสด แดง
บทที่ 6 กําเนิดระบบสุริยะ
นักดาราศาสตร แบงเขตพื้นที่รอบดวงอาทิตย เปน 4 เขต คือ
1. ดาวเคราะหชั้นใน ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก และ ดาวอังคาร
มีขนาดเล็กและมีพื้นผิวแข็งหรือเปนหินแบบเดียวกับโลก
2. แถบดาวเคราะหนอย คือ บริเวณระหวางวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี
เปนเศษที่เหลือจากการพอกพูนเปนดาวเคราะหหิน แลวถูกดึงดูดจากแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีขนาดใหญและเกิดมา
กอน ทําใหไมสามารถจับตัวกันมีขนาดใหญได
3. ดาวเคราะหชั้นนอก หรือ ดาวเคราะหยักษ เปนดาวที่มีขนาดใหญ ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
มีองคประกอบหลัก คือ กาซไฮโดรเจนและฮีเลียมทั้งดวง
ดาวพลูโต เปนดาวเคราะหชั้นนอกที่อยูไกลและเล็กที่สุด มีสมบัติคลายดาวเคราะหนอย
4. เขตของดาวหาง เปนเศษที่เหลือจากดาวเคราะหยักษ มีจํานวนมากอยูรอบนอกระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย : เปนดาวฤกษสีเหลือง ชนิดสเปกตรัม G มีอุณหภูมิผิวประมาณ 6,000 เคลวิน
- แสงสวางที่เปลงออกมา ทําใหเรามองเห็นดาวเคราะหได โดยใชเวลาเดินทาง 8.3 นาที
- ลมสุริยะ ประกอบดวยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน มาจากการแผรังสีของดวงอาทิตย ซึ่งจะมาถึงโลกภายในเวลา
20-40 ชั่งโมง
ซึ่งจะสงผลทําใหเกิดปรากฏการณแสงเหนือ-แสงใต ไฟฟาแรงสูงดับที่ขั้วโลก เกิดการรบกวนวงจรอิเล็กทรอนิกสของ
ดาวเทียม และทําใหเกิดการติดขัดในการสื่อสารของคลื่นวิทยุ
บทที่ 7 เทคโนโลยีอวกาศ
7.1 ดาวเทียมและยานอวกาศ
การสงดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นสูอวกาศ จะตองเอาชนะแรงดึงดูดของโลก ความเร็วมากกวา 7.91 กิโลเมตรตอวินาที
ถาหากจะใหยานอวกาศออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย จะตองใชความเร็วที่ 11.2 กิโลเมตรตอวินาที เรียกวา ความเร็วหลุดพน
พ.ศ. 2446 ไชออลคอฟสกี ชาวรัสเซีย ไดคนควาเกี่ยวกับเชื้อเพลิงในจรวด เสนอวา ใชเชื้อเพลิงเหลว แยกเชื้อเพลิงและ
สารที่ชวยในการเผาไหมออกจากกัน นําจรวดมาตอเปนชั้นๆ จะชวยลดมวลของจรวดลง โดยเมื่อจรวดชั้นแรกใชเชื้อเพลิงหมดก็
ปลดทิ้งไป และใหจรวดชั้นตอไปทําหนาที่ตอ แลวปลดทิ้งไปเรื่อยๆ โดย จรวดชั้นสุดทายที่ติดกับดาวเทียมหรือยานอวกาศ จะตองมี
ความเร็วสูงพอที่จะเอาชนะแรงดึงดูดของโลกได
พ.ศ. 2469 โรเบิรต กอดดารด ชาวอเมริกัน สามารถสรางจรวดเชื้อเพลิงเหลว โดยใชไฮโดรเจนเหลวเปนเชื้อเพลิงและ
ออกซิเจนเหลวเปนสารที่ชวยในการเผาไหม และแยกอยูตางถังกัน
สหภาพโซเวียต สามารถใชจรวดสามทอนสงดาวเทียม ไดเปนประเทศแรก
99
ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต
บทที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
โลก มีระบบนิเวศนหลากหลายรวมกัน เปนระบบขนาดใหญ เรียกวา ชีวภาค(Biophere) เชน
- บริเวณเสนศูนยสูตร มีอุณหภูมิสูงและแสงแดดมาก ทําใหมีฝนตกชุก เกิดปาฝนเขตรอน
- บริเวณที่สูงหรือตํ่าจากเสนศูนยสูตร เรียกวา เขตอบอุน มีอุณหภูมิและแสงแดดจํากัด จึงไมหลากหลาย
- ขั้วโลกเหนือ เรียกวา เขตทุนดรา มีอุณหภูมิและแสงแดดนอย พื้นนํ้าเปนนํ้าแข็ง มีพืชคลุมดิน
ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดพลังงานจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตาง ๆ โดยจะถายทอดไปเพียง 10% สวนพลังงานอีก 90%
จะถูกใชในการดํารงชีวิต นอกจากนี้ ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดโลหะหนัก จากยาฆาแมลงและสารพิษดวย โดยจะมีปริมาณ
สะสมเพิ่มขึ้นตามลําดับการกินของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่เหมือนกัน คือ
- เยื่อหุมเซลล ทําหนาที่ หอหุมเซลลและควบคุมการผานสารเขา – ออก
- นิวเคลียส เปนศูนยควบคุมการทํางานของเซลลและเปนแหลงเก็บสารพันธุกรรม
- ไมโทคอนเดรีย เปนแหลงผลิตสารพลังงานสูง
- ไรโบโซม ทําหนาที่ สังเคราะหโปรตีน
- รางแหเอนโดพลาซึม ทําหนาที่สังเคราะหและลําเลียงโปรตีน บางสวนสังเคราะหไขมัน
- กอลจิคอมเพล็กซ ทําหนาที่ ปรับเปลี่ยนโปรตีนและไขมัน แลวสงไปยังปลายประสาท
เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่ตางกัน คือ
ในเซลลพืช จะมี
: ผนังเซลล ทําใหเซลลคงรูปรางและมีการเจริญในแนวตั้ง มีโครงสรางหลัก คือ เซลลูโลส
: คลอโรพลาสต ทําหนาที่ สังเคราะหนํ้าตาลโดยใชพลังงานแสง
: แวคิวโอล ทําหนาที่ บรรจุนํ้าและสารชนิดตาง ๆ
ในเซลลสัตว จะมี : ไลโซโซม ทําหนาที่ บรรจุเอนไซมที่มีสมบัติในการยอยสลาย
2.1 การลําเลียงสารผานเซลล มี 4 ประเภท
2.2.1 การแพร คือ การที่สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนสูง ไปสูที่มีความเขมขนตํ่า
ออสโมซิส คือ การแพรของนํ้าผานเยื่อหุมเซลล จากบริเวณที่มีนํ้ามากไปสูนํ้านอย แบงเปน
- ไฮโพโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนตํ่าหรือนํ้ามาก นํ้าจะไหลเขา ทําใหเซลลใหญโดยถาเปนเซลลพืช จะเตง แตเซลล
สัตว จะแตก
- ไฮเพอรโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนสูงหรือนํ้านอย นํ้าจะไหลออก ทําใหเซลลเหี่ยว
- ไอโซโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนเทากับภายในเซลล นํ้าจะไหลเขา = ไหลออก ทําใหเซลลคงเดิม
2.2.2 การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต ( Facilitated Transport)
คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนตํ่า โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล
ซึ่งไมตองอาศัยพลังงาน โดยมีอัตราเร็วมากกวาการแพร
2.2.3 การลําเลียงแบบใชพลังงาน (Active Transport)
คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนตํ่าไปสูบริเวณที่มีความเขมขนสูง โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล
และตองอาศัยพลังงาน
2.2.4 การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล
คือ การลําเลียงสารที่มีขนาดใหญ เชน โปรตีน คารโบไฮเดรต ซึ่งจะไมสามารถผานโปรตีนตัวพาได แตจะใชเยื่อหุมเซลล
โอบลอม ดังนี้
- กระบวนการเอนโดไซโทซิส (Endocytosis) เปนการลําเลียงสารเขาเซลล
- กระบวนการเอกโซไซโทซิส (Exocytosis) เปนการลําเลียงสารออกเซลล
2.2 กลไกการรักษาดุลยภาพ
2.3.1 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืชโดยการคายนํ้าออกที่ปากใบ และการดูดนํ้าเขาทางราก
2.3.2 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในรางกายคน
• เมื่อรางกายเกิดภาวะขาดนํ้า ทําใหเลือดขน มีความดันเลือดตํ่า สมองไฮโพทาลามัสจะกระตุนตอมใตสมองสวนทาย ให
หลั่งฮอรโมนแอนติไดยูเรติก ออกมา เพื่อไปกระตุนใหทอหนวยไตดูดนํ้ากลับคืน
2.3.3 การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรางกายคน
ถารางกายมีระดับเมแทบอลิซึมสูง (ปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกาย) ทําใหเกิดกาซ CO2
มาก เกิดเปนกรดคารบอนิก ซึ่ง
แตกตัวให H+
ออกมา สงผลให pH ในเลือดตํ่าลง หนวยไตจึงทําหนาที่ขับ H+
ออกมาทางปสสาวะ
100
2.3.4 การรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
• สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวที่อาศัยในนํ้า เชน อะมีบา พารามีเซียม มีโครงสรางเรียกวา คอนแทร็กไทลแวคิวโอล (Contractile
Vacuole) ทําหนาที่ กําจัดนํ้าและของเสียออกจากเซลล
• ปลานํ้าจืด :มีปสสาวะมาก แตเจือจาง และที่เหงือกมีเซลลคอยดูดแรธาตุที่จําเปนกลับคืน
• ปลานํ้าเค็ม : มีปสสาวะนอย แตเขมขน และมีผิวหนังและเกล็ดหนา เพื่อปองกันแรธาตุ
• นกทะเล มีตอมนาซัล สําหรับขับเกลือออกในรูปนํ้าเกลือ ทางรูจมูกและปาก
2.3.5 การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในรางกาย (อุณหภูมิปกติ 35.8-37.7 o
C)
• เมื่ออากาศรอน ลดอัตราเมแทบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร หลอดเลือดฝอยขยายตัว ผิวจึงมีสีแดง และตอมเหงื่อ
ขับเหงื่อเพิ่มขึ้น กลามเนื้อที่โคนขนจะคลายตัว ทําใหขนเอนราบ
• เมื่ออากาศเย็น เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร หลอดเลือดฝอยจะหดตัว ผิวจึงมีสีซีด และลดการ
ทํางานของตอมเหงื่อ กลามเนื้อที่โคนขนจะหดตัว ดึงใหขนลุก
บทที่ 3 ภูมิคุมกันของรางกาย
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย เรียกวา แอนติเจน
- เซลลเม็ดเลือดขาว ทําหนาที่ ปองกันและทําลายเชื้อโรค โดยสรางมาจากไขกระดูก และอวัยวะนํ้าเหลือง ซึ่งแบงเปน 2 กลุม
ดังนี้
1. กลุมฟาโกไซต (phagocyte) จะใชเยื่อหุมเซลลโอบลอมเชื้อโรค แลวนําเขาสูเซลล เพื่อยอยสลาย
2. กลุมลิมโฟไซต (lymphocyte) จะสรางแอนติบอดี ซึ่งเปนสารโปรตีน ทําหนาที่ตอตานแอนติเจน
- ระบบนํ้าเหลือง อวัยวะนํ้าเหลือง เปนแหลงผลิตเซลลเม็ดเลือดขาว ประกอบดวย
• ตอมนํ้าเหลือง เชน คอ (เรียกวา ทอนซิล) รักแร โคนขา
• มาม เปนอวัยวะนํ้าเหลืองที่มีขนาดใหญที่สุด อยูใตกระบังลมดานซาย
• ตอมไทมัส เปนเนื้อเยื่อนํ้าเหลือง ทําหนาที่ สรางเซลลเม็ดเลือดขาวกลุมลิมโฟไซต
รางกายเรามีภูมิคุมกันตั้งแตอยูในทองแม โดยสรางแอนติบอดีไดเองและไดรับจากแม และเมื่อคลอดจะไดจากการดื่มนมแม แต
จะปองกันไดเฉพาะบางโรคเทานั้น จึงจําเปนตองไดรับภูมิคุมกันเพิ่มเติม โดยแบงเปน
วัคซีน - ผลิตจากเชื้อโรคที่ถูกทําใหออนกําลัง หรือ ผลิตจากจุลินทรียที่ตายแลว หรือ ผลิตจากสารพิษที่หมดพิษหรือทอกซอยด
เมื่อฉีดเขาไปในรางกายจะเปนแอนติเจน ไปกระตุนใหรางกายสรางแอนติบอดี โดยใชเวลา 4-7 วัน
เซรุม : ผลิตจากแอนติบอดี เพื่อฉีดใหรางกายมีภูมิคุมกันทันที ซึ่งเตรียมไดจากการฉีดสารพิษหรือเชื้อโรคเขาไปในตัวสัตว เพื่อ
กระตุนใหรางกายของสัตว ไดสรางแอนติบอดี แลวจึงนํา มาฉีดใหกับผูปวย
เลือดของคน แบงเปน 4 หมู ไดแก หมู A B AB O
หมูเลือด แอนติเจนบนเม็ดเลือดแดง แอนติบอดีในนํ้าเลือด
A A B
B B A
AB AB ไมมี
O ไมมี AB
บทที่ 4 การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
เซลลรางกายของคน 1 เซลล จะมี 46 โครโมโซม โดยเหมือนกันเปนคูๆ เรียกวา โฮโมโลกัสโครโมโซม
การแบงเซลลแบบไมโตซิส คือ การแบงเซลลรางกาย
- ไดเซลลใหม 2 เซลล มีจํานวนโครโมโซมเทาเดิม
การแบงเซลลแบบไมโอซิส คือ การแบงเซลลสืบพันธุ
- ไดเซลลใหม 4 เซลล มีโครโมโซมลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง
เซลลรางกายของคน 1 เซลล มี 46 โครโมโซม หรือ 23 คู แบงเปน
+ โครโมโซมรางกายหรือออโตโซม (22 คูแรก)
A เปนแอลลีนเดน เชน ลักยิ้ม นิ้วเกิน คนแคระ ทาวแสนปม
a เปนแอลลีนดอย เชน ผิวเผือก ธาลัสซีเมีย (เลือดจาง)
+ โครโมโซมเพศ (คูที่ 23) โดย เพศหญิง เปน XX เพศชาย เปน XY
ลักษณะที่ผิดปกติจะถูกควบคุมดวยยีนดอย บนโครโมโซม X
XC
เปนแอลลีนปกติ
Xc
เปนแอลลีนผิดปกติ เชน ตาบอดสี ฮีโมฟเลีย (โรคเลือดไหลไมหยุด) ภาวะพรองเอนไซมกลูโคส 6 ฟอสเฟต (G6PD)
101
หมูเลือด (ฟโนไทป) จีโนไทป
A IA
IA
/ IA
i
B IB
IB
/ IB
i
AB IA
IB
O i i
4.4 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
4.4.1 มิวเทชัน (mutation) : เปนการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ทําใหลูกมีลักษณะบางอยาง
แตกตางไปจากรุนพอ-แม โดยมีทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากรังสีหรือสารเคมี
4.4.2 การคัดเลือกตามธรรมชาติ ของชารลส ดารวิน เสนอ วา “สิ่งมีชีวิตจะออกลูกเปนจํานวนมาก และมีความแปรผัน
ในแตละรุน แลวเกิดการแกงแยงสิ่งที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่มีอยูอยางจํากัด ดังนั้น สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะที่เหมาะสม จะสามารถ
เอาชีวิตรอดได และจะถายทอดลักษณะที่เหมาะสม ไปยังสิ่งมีชีวิตรุนตอไป” เชน นกจาบที่อยูตามหมูเกาะกาลาปากอส พบวา มี
จงอยปากแตกตางกันตามลักษณะอาหารของนก
4.4.3 การคัดเลือกพันธุและปรับปรุงพันธุโดยคน
การคัดเลือกพันธุปลาทับทิม : พัฒนาโดยการคัดพันธุปลานิลจากทั่วโลก
การปรับปรุงพันธุขาวขาวขาวดอกมะลิ 105 เปนขาวเจา เมื่อใชรังสีแกมมา ทําใหเกิดมิวเทชัน ทําใหไดขาวพันธุ กข 6 ที่
เปนขาวเหนียว ขาวพันธุ กข 15
4.5 เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ไดแก
4.5.1 พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering ) : คือ การตัดตอยีน เรียกวา สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม หรือ GMO
4.5.2 การโคลน: หมายถึง การสรางสิ่งมีชีวิตใหม ที่มีลักษณะเหมือนสิ่งมีชีวิตตนแบบทุกประการ
4.5.3 ลายพิมพ DNA : เปนเอกลักษณเฉพาะของบุคคล เปลี่ยนแปลงไมไดและไมมีใครเหมือนกัน (ยกเวน ฝาแฝดแท ) ใช
ในการพิสูจนผูตองสงสัย หรือหาความสัมพันธทางสายเลือด
4.5.4 การทําแผนที่ยีน หรือ แผนที่จีโนม : เพื่อใหรูตําแหนงของยีนในโครโมโซม เพราะวาเมื่อระบุไดวายีนใดบางที่ผิดปกติ
ก็ใชเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมตัดตอยีนที่พึงประสงคเขาไปแทนยีนที่เปนสาเหตุใหเกิดโรค เรียกวิธีรักษาแบบนี้วา การบําบัดรักษาดวย
ยีน (gene therapy)
บทที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพ
นักชีววิทยา จัดจําแนกหมวดหมูสิ่งมีชีวิต ออกไดเปน 5 อาณาจักร ดังนี้
• อาณาจักรสัตว : เปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลและเซลลรวมกันเปนเนื้อเยื่อ : เปนผูบริโภค
• อาณาจักรพืช : เปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลและเซลลรวมกันเปนเนื้อเยื่อ : เปนผูผลิต
: มีผนังเซลล ซึ่งมีเซลลูโลสเปนองคประกอบ
• อาณาจักรโพรทิสตา : เปนสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวหรือหลายเซลล
: บางชนิดสรางอาหารได แตบางชนิดตองกินอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น
• อาณาจักรเห็ดรา และยีสต : ยีสตมีเซลลเดียว เห็ดรามีหลายเซลล
: เปนผูยอยสลายอินทรียสาร แตบางชนิดเปนปรสิต
• อาณาจักรมอเนอรา : เปนสิ่งมีชีวิตที่เซลลไมมีนิวเคลียส : เปนผูยอยสลายอินทรียสาร บางชนิดสรางอาหารไดเอง ไดแก
แบคทีเรีย สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน
ไวรัส ไมมีอาณาจักร เพราะ ไมมีลักษณะเปนเซลล แตเปนอนุภาค ที่ใชโปรตีนหอหุมสารพันธุกรรมไว สามารถเพิ่มจํานวนได
เฉพาะเมื่ออยูภายในเซลลของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
102
1. ความสัมพันธระหวางการสังเคราะหดวยแสง และการหายใจ มีแกสใดที่มีความสัมพันธกัน
1. CO , H2O 2. CO2 , O2 3. H2O , CO2 4. CO , O2
2. ในระบบนิเวศนาขาวแหงหนึ่งมีสายโซอาหารดังนี้ สาหราย –> ปลา –> กบ –> งู หากพลังงานเริ่มตนที่ 10,000 kcal พลังงาน
ที่ถูกถายทอดไปยังผูบริโภคลําดับสุดทายเปนกี่ kcal
1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000
3. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการแบงเซลลสืบพันธุ
1. เปนการแบงเซลลแบบไมโตซิส 2. จํานวนโครโมโซมเทาเดิม
3. มีเซลลใหมเกิดขึ้น 6 เซลล 4. จํานวนโครโมโซมมีการลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง
4. แกสใดไมมีอิทธิพลตอปรากฏการณเรือนกระจก
1. มีเทน 2. คารบอนไดออกไซด 3. ไนโตรเจนออกไซด 4. ซัลเฟอรไดออกไซด
5. โครงสรางใดของเซลลที่พบเฉพาะในเซลลพืชเทานั้น
1. แวคิวโอล 2. เยื่อหุมเซลล 3. กอลจิคอมเพลกซ 4. ไมโทคอนเดรีย
6. สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีอุณหภูมิรางกายเปลี่ยนแปลงไดตามสิ่งแวดลอม
1. ปลาวาฬ 2. นกเพนกวิน 3. แมวนํ้า 4. คางคก
7. ขอใดไมเกี่ยวของกับอวัยวะนํ้าเหลือง
1. ตอมทอนซิล 2. ตอมไทมัส 3. มาม 4. ตับ
8. คนที่มีเลือดหมู O สามารถรับเลือดจากหมูใดบาง
1. หมู A หมู B หมู AB และหมู O 2. หมู B หมู AB และหมู O
3. หมู AB และหมู O 4. หมู O
9. พอมีเลือดหมู A แมมีเลือดหมู B ลูกของพอแมคูนี้จะมีโอกาสมีหมูเลือดใดบาง
1. A และ B 2. AB และ O
3. มีโอกาสเปนไปไดทุกหมู 4. ไมมีโอกาสเปนไปได
10. ลักษณะใดที่ไมแสดงออกในพอแม แตสามารถพบในรุนลูก
1. การมีลักยิ้ม 2. การมีนิ้วเกิน 3. โรคธาลัสซีเมีย 4. โรคทาวแสนปม
11. เซรุมปองกันโรคพิษสุนัขบา เปนสารประเภทใด
1. แอนติเจน 2. แอนติบอดี 3. แอนติไบโอติก 4. เอนไซม
12. ลําดับของ “ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ” เปนไปตามขอใด เมื่อประชากรเพิ่ม
1. เกิดความผันแปรของยีนในกลุมประชากร เกิดสปชีสใหม
2. เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได
3. เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ เกิดความหลากหลายในกลุมประชากร ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได
4. เกิดความหลากหลายในกลุมประชากร เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได
13. เพราะเหตุใด “ลอ” จึงไมสามารถสืบพันธุมีลูกหลานในรุนตอไปได
1. เปนสิ่งมีชีวิตที่ไดมาจากการผสมเทียมของ มา และ ลา
2. พอ แม มีโครโมโซมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากมิวเทชัน
3. พอ แม เปนสิ่งมีชีวิตตางสปชีสจึงใหลูกที่ไมสามารถสืบพันธุได
4. ถูกทั้งขอ 1 ขอ 2 และขอ 3
14. เมื่อนํานํ้ามันสําหรับประกอบอาหาร A และ B ปริมาตรเทากัน มาอุนใหรอน แลวหยดทิงเจอรไอโอดีน ทีละหยดและคน รอจน
สีทิงเจอรไอโอดีนหายไป แลวเติมหยดตอไป นับจํานวนหยดที่เติมจนกระทั่ง หยดสุดทายที่สีไมหายไป ไดผลการทดลองดังตาราง
นํ้ามันชนิดใดเหมาะแกการบริโภคมากที่สุด
1. นํ้ามัน A เพราะมีกรดไขมันอิ่มตัวมากที่สุด
2. นํ้ามัน B เพราะมีกรดไขมันอิ่มตัวมากที่สุด
3. นํ้ามัน A เพราะมีกรดไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุด
4. นํ้ามัน B เพราะมีกรดไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุด
แบบทดสอบวิทยาศาสตร
นํ้ามัน จํานวนหยด
A 23
B 10
103
15. สารพันธุกรรมเปนสารประเภทใด
1. โปรตีน 2. ไขมัน 3. คารโบไฮเดรต 4. กรดนิวคลีอิก
16. ขอใดที่อาหารโปรตีนไมถูกทําลายหรือแปลงสภาพ
1. ไขขาวดิบที่คนไขกินเขาไปเพื่อกําจัดยาฆาแมลง
2. เนื้อหมูที่แชไวในตูเย็นเพื่อแกงใสบาตร
3. เนื้อไกที่ทอดจนเหลือกรอบจะปลอดภัยจากไขหวัดนก
4. หอยแมลงภูที่บีบมะนาวเปนอาหารโปรด
17. ขอใดกลาวถึงเลขออกเทนไมถูกตอง
1. เปนตัวแสดงคุณภาพของนํ้ามันดีเซลและเบนซิน
2. นํ้ามันไรสารตะกั่วมีการเติมเมทิลเทอรเชียรีบิวทิลอีเทอร เพื่อเพิ่มเลขออกเทน
3. สารเตตระเมทิลเลดชวยเพิ่มเลขออกเทน แตการเผาไหมจะใหไอของตะกั่ว
4. นํ้ามันที่มีเลขออกเทน 95 มีประสิทธิภาพการเผาไหมเหมือนกับของผสมที่มีไอโซออกเทน 95% และนอรมอลเฮปเทน 5%
18. เมื่อนําชิ้นสังกะสีใสสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีการในขอใดทําใหปฏิกิริยาเกิดชาลง
1. ใชแทงแกวคนใหทั่ว
2. ใหผงสังกะสีนํ้าหนักเทากันแทนชิ้นสังกะสี
3. ใหความรอน
4. เติมนํ้ากลั่นลงไปเทาตัว
19. พันธะระหวางอะตอมในโมเลกุลของโซเดียมคลอไรด (NaCl) เปนพันธะชนิดใด
1. ไอออนิก 2. โลหะ 3. โควาเลนต 4. วันเดอรวาลส
20. อะตอมของธาตุโบรอนที่มีสัญลักษณนิวเคลียร 11B มีการจัดอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานอยางไร
1. 2, 3 2. 2, 4 3. 2, 4, 5 4. 2, 8, 1
รถเริ่มเคลื่อนที่ v = 90 km/h v = 90 km/h รถหยุด v = 0 km/h
v = 0 km/h t = 20 วินาที t = 40 วินาที t = 60 วินาที
t = 0 วินาที
21. ความเรงในชวง 0-20 วินาทีแรก มีคากี่เมตร/วินาที2
1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.5
22. ความเรงในชวง 20-40 วินาทีตอมา มีคากี่เมตร/วินาที2
1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.5
23. หากปลอยกอนหินจากตึกสูง เมื่อเวลาผานไป 5 วินาที กอนหินจะมีความเร็วกี่เมตร/วินาที
(กําหนดคาความเรงโนมถวง = 9.8 เมตร/วินาที2)
1. 9.8 2. 14.8 3. 24.5 4. 49
24. ถายิงกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็วตน 98 เมตร/วินาที กอนหินจะถึงจุดสูงสุดใชเวลานานกี่วินาที
1. 5 2. 10 3. 29.6 4. 49
25. มอเตอรไซดไตถังคันหนึ่งเคลื่อนที่ได 5 รอบ ภายในเวลา 2 วินาที จงหาความถี่ของมอเตอรไซดคันนี้
1. 0.4 Hz 2. 1.5 Hz 3. 2.5 Hz 4. 4.0 Hz
26. คลื่นเสียงเปนคลื่นชนิดใด
1. คลื่นตามยาว 2. คลื่นตามขวาง 3. คลื่นแมเหล็กไฟฟา 4. คลื่นอัด-ขยาย
27. ขอใดเปนเหตุผลที่เราไมไดยินเสียง
1. ความถี่คลื่นเสียงตํ่าเกินไป 2. ความถี่คลื่นเสียงสูงเกินไป
3. ความดังของเสียงนอยเกินไป 4. ถูกทุกขอ
28. ขอใดผิดเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา
1. คลื่นแกมมามีพลังงานมากกวารังสีเอกซ
2. เคลื่อนที่ไดโดยไมอาศัยตัวกลาง
3. คลื่นอินฟราเรดและคลื่นอัลตราไวโอเลตมีความเร็วในสุญญากาศเทากัน
4. คลื่นวิทยุสะทอนในชั้นเรดิโอสเฟยร
5
ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

More Related Content

What's hot

เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่งkaoijai
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์nn ning
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารkrumanop
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 

What's hot (17)

เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Bond
BondBond
Bond
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 

Similar to ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqneakaratkk
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรWichai Likitponrak
 

Similar to ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง) (9)

ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
สาร
สารสาร
สาร
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 

More from viewil

Internatonal breakfast
Internatonal breakfastInternatonal breakfast
Internatonal breakfastviewil
 
project
projectproject
projectviewil
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์viewil
 
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)viewil
 
ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)
ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)
ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)viewil
 
ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)
ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)
ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)viewil
 

More from viewil (6)

Internatonal breakfast
Internatonal breakfastInternatonal breakfast
Internatonal breakfast
 
project
projectproject
project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
เฉลยข้อสอบภาษาไทย O net ปี 2553 (ครูลิลลี่)
 
ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)
ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)
ติวมาม่า16th สังคมศึกษา (อ.ชัย ลาภเพิ่มทวี)
 
ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)
ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)
ติวมาม่า16th ภาษาอังกฤษ (ครูพี่โอม At Once Academy)
 

ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)

  • 1. 92 สารและสมบัติของสาร บทที่ 1 สารชีวโมเลกุล คือ สารที่มี C และธาตุ H เปนองคประกอบ มีขนาดใหญและพบในสิ่งมีชีวิตเทานั้น มี 4 ประเภท ไดแก 1. ไขมัน และนํ้ามัน ประกอบดวยธาตุ C H O มีหนาที่ดังนี้ ปองกันการสูญเสียนํ้า ชวยทําใหผิวชุมชื้น ปองกันการสูญเสียความรอน ชวยทําใหรางกายอบอุน ชวยใหผมและเล็บมี สุขภาพดี ชวยละลายวิตามิน A D E K (ไขมัน 1 กรัม ใหพลังงาน 9 กิโลแคลอรี ) ไขมัน เปนสารไตรกลีเซอไรด ซึ่งเกิดจากกรดไขมัน 3 โมเลกุล กับ กลีเซอรอล 1 โมเลกุล กรดไขมันไมอิ่มตัว + กาซออกซิเจน ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นหืน แสดงวา นํ้ามันพืช จะเกิดกลิ่นเหม็นหืนไดงาย แตในธรรมชาติจะมีวิตามินE ซึ่งเปนสารตานหืน การผลิตสบู จากปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน ไดจาก การตมไขมันกับเบส (โซเดียมไฮดรอกไซด / NaOH) 2. โปรตีน ( C H O N ) มีหนาที่ ชวยเสริมสรางการเจริญเติบโตและซอมแซมเนื้อเยื่อ ชวยรักษาสมดุลนํ้าและกรด-เบส เปน สวนประกอบของเอนไซม ฮอรโมน เลือด และภูมิคุมกัน (1 กรัม ใหพลังงาน 4 KCal) หนวยยอย คือ กรดอะมิโน มีทั้งหมด 20 ชนิด แบงเปน • กรดอะมิโนที่จําเปน มี 8 ชนิด ซึ่งรางกายสรางไมได ตองกินจากอาหารเขาไป • กรดอะมิโนที่ไมจําเปน มี 12 ชนิด ซึ่งรางกายสามารถสังเคราะหไดเอง การแปลงสภาพโปรตีน คือ การที่ทําใหโครงสรางของโปรตีนถูกทําลาย เชน แข็งตัว เมื่อไดรับความรอน เมื่อไดรับสารละลายกรด-เบส เมื่อไดรับไอออนของโลหะหนัก คุณคาทางชีววิทยา หมายถึง คุณภาพของโปรตีนที่นํามาสรางเปนเนื้อเยื่อได(ไข 100%) 3. คารโบไฮเดรต ( C H O ) มีหนาที่ดังนี้ - เปนแหลงพลังงานหลักของคน (1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี) แบง 3 ประเภท ดังนี้ 3.1 มอโนแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ) แบงเปน • นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C5 H10 O5 เรียกวา ไรโบส • นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C6 H12 O6 เชน กลูโคส ฟรุกโตส ( ฟรักโตส ) กาแลกโทส 3.2 ไดแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลคู ) • กลูโคส + กลูโคส = มอลโทส พบในขาว เมล็ดพืช ใชในการทําเบียร อาหารทารก • กลูโคส + ฟรุกโตส = ซูโครส หรือ นํ้าตาลทราย พบมากในออย • กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในนํ้านม 3.3 พอลิแซ็กคาไรด (นํ้าตาลโมเลกุลใหญ ) • แปง เกิดจากกลูโคสหลายพันโมเลกุลมาตอกัน แบบสายยาวและแบบกิ่ง พบมากในพืช - รางกายคนยอยสลายไดดวยเอนไซมที่มีในนํ้าลาย (อะไมเลส) • เซลลูโลส เกิดจากกลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล ตอกันแบบสายยาว เปนเสนใยพืช - รางกายคนยอยสลายไมได ชวยกระตุนใหลําไสใหญเคลื่อนไหว ทําใหอุจจาระออนนุม • ไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสเปนแสนถึงลานโมเลกุลมาตอกันแบบกิ่ง พบในคนและสัตว ที่ตับและกลามเนื้อ เปนแหลง พลังงานสํารอง โดยจะสลายกลับคืนเปนกลูโคส เมื่อรางกายขาดแคลนพลังงาน กรดไขมัน อิ่มตัว ไมอิ่มตัว จํานวนอะตอมไฮโดรเจน มาก นอย จุดหลอมเหลว สูงกวา 25 ๐ C ตํ่ากวา 25 ๐ C สถานะ ของแข็ง ของเหลว แหลงที่พบมาก ไขมันสัตว นํ้ามันพืช พันธะระหวางคารบอน เดี่ยว คู ความวองไวตอปฏิกิริยา นอย มาก เตรียมสอบวิทยาศาสตร (O-NET) อ.กรกฤช ศรีวิชัย
  • 2. 93 4. กรดนิวคลีอิก ( C H O N P ) มีหนวยยอย เรียกวา นิวคลีโอไทด DNA ประกอบดวย นิวคลีโอไทด มาเชื่อมตอกันเกิดเปนสายยาว 2 สายพัน กันเปนเกลียว โดยเกาะกันดวยคูไนโตรเจนเบสที่ เฉพาะเจาะจง คือ อะดีนีน (A) กับ ไทมีน (T) กวานีน (G) กับ ไซโตซีน (C) บทที่ 2 ปโตรเลียม เกิดจาก ซากพืชซากสัตวที่ตายทับถม แลวถูกยอยสลาย เกิดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน 2.1 นํ้ามันปโตรเลียม ประเทศไทยพบครั้งแรกที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม และตอมาพบที่ อ.ลานกระบือ จ.กําแพงเพชร การกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม เรียกวา การกลั่นลําดับสวน โดยใชความรอน 350-400 o C จะไดผลิตภัณฑ เรียงตามลําดับจาก จุดเดือดตํ่าไปสูง ดังนี้ มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เบนซิน กาด ดีเซล หลอลื่น เตา ไข ยางมะตอย 2.2 กาซธรรมชาติ ประเทศไทยพบบริเวณอาวไทยและมีมากในเชิงพาณิชย และพบที่ อ.นํ้าพอง จ.ขอนแกน สวนใหญเปนกาซมีเทน รอยละ 80-95 ปฏิกิริยาการเผาไหม คือ ปฏิกิริยาระหวางสารไฮโดรคารบอนกับกาซออกซิเจน แบงเปน - การเผาไหมที่สมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2 มากเพียงพอ จะได CO2 และ H2 O ซึ่งจะไมมีเถาถาน และเขมา - การเผาไหมไมสมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2 นอย จะได CO ซึ่งจะไปจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ทําใหรางกายเกิด การขาดออกซิเจน อาจเกิดอาการหนามืด เปนลมหรือเสียชีวิตได 2.3 เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน - กาซมีเทน (CH4 ) ใชในการผลิตกระแสไฟฟา ใชในรถปรับอากาศเครื่องยนตยูโร-2 - กาซหุงตม ประกอบดวย กาซโพรเพน (C3 H8 ) และกาซบิวเทน (C4 H10 ) ที่ถูกอัดดวยความดันสูง จนมีสถานะเปนของเหลว เรียกวา LPG (Liquid Petroleum Gas) เลขออกเทน เปนตัวเลขบอกคุณภาพของนํ้ามันเบนซิน โดยกําหนดให ไอโซออกเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมดี ทําใหเครื่องยนตเดินเรียบ มีเลขออกเทน 100 นอรมอลเฮปเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมไมดี ทําใหเครื่องยนตกระตุก มีเลขออกเทน 0 - นํ้ามันดีเซล บอกคุณภาพโดยใชเลขซีเทน บทที่ 3 พอลิเมอร คือ สารที่มีขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของสารขนาดเล็ก (มอนอเมอร) จํานวนมาก 3.1 พลาสติก แบงเปน • เทอรมอพลาสติก มีโครงสรางแบบโซตรงหรือโซกิ่ง ยืดหยุน และโคงงอได เมื่อไดรับความรอนจะออนตัว สามารถ เปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได เพราะสมบัติไมมีการเปลี่ยนแปลง • เทอรมอเซต มีโครงสรางแบบตาขาย มีความแข็งแรงมาก เมื่อไดรับความรอนจะไมออนตัว แตจะเกิดการแตกหัก ไม สามารถเปลี่ยนรูปรางได เพราะสมบัติมีการเปลี่ยนแปลง 3.2 ยาง แบงเปน • ยางธรรมชาติ เกิดจากมอนอเมอร คือ ไอโซพรีน รวมตัวกันเปนพอลิไอโซพรีน ดังนี้ มีความยืดหยุน ทนตอแรงดึงทนตอการขัดถู ทนนํ้า นํ้ามันพืชและสัตว แตไมทนนํ้ามันเบนซินและตัวทําละลายอินทรีย เมื่อไดรับความ เย็นจะแข็งและเปราะ แตเมื่อไดรับความรอนจะออนตัวและเหนียว • ยางสังเคราะห (ยางเทียม) เชน : ยาง IR (Isoprene Rubber) มีโครงสรางเหมือนยางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนนอย คุณภาพสมํ่าเสมอ : ยาง SBR (Styrene - Butadiene Rubber) ทนตอการขัดถูแตไมทนตอแรงดึง ใชทําพื้นรองเทา สายยาง บทที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี เกิดจาก สารเริ่มตน เขาทําปฏิกิริยากัน แลวทําใหเกิดสารใหม เรียกวา ผลิตภัณฑ 4.1 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน - ปฏิกิริยาการเผาไหมของถานหิน จะมีกํามะถัน (S) เมื่อเผาไหมกํามะถันจะทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนทําใหเกิดกาซ ซัลเฟอรไดออกไซดและเมื่อทําปฏิกิริยากับนํ้าฝน ทําใหเกิดกรดกํามะถัน/กรดซัลฟวริก (ฝนกรด) - การเผาไหมเชื้อเพลิงในเครื่องยนต จะเกิดกาซ NO2 กลายเปนฝนกรดไนตริกได - ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (Fe2 O3 ) เกิดจาก ปฏิกิริยาระหวางเหล็กกับกาซออกซิเจน - ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (ผงฟู) ดวยความรอนจะไดกาซ CO2 และ H2 O - สารไฮโดรเจนเปอรออกไซด เมื่อไดรับแสงและความรอน จะสลายตัว ดังนั้น จึงตองเก็บไวในที่มืด - ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3 ) ดวยความรอน ไดปูนขาว (CaO) ใชในการผลิตปูนซีเมนต - ปฏิกิริยาระหวางหินปูนกับกรดไนตริก / กรดซัลฟวริก ทําใหสิ่งกอสรางสึกและเกิดหินงอกหินยอย
  • 3. 94 บทที่ 5 ธาตุและสารประกอบ พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมของธาตุ โดยแบงเปน - พันธะไอออนิก : เกิดจากโลหะกับอโลหะ เชน NaCl CaO - พันธะโควาเลนซ : เกิดจากอโลหะกับอโลหะ เชน H2 Cl2 CO2 CH4 ธาตุหมู 1A และ 2A เปนโลหะ เปนของแข็ง จุดเดือด / จุดหลอมเหลวสูง นําไฟฟาได ธาตุหมู 1A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 1 จึงหลุดออกงาย ทําใหมีประจุ +1 เชน Na+ มีความวองไวตอปฏิกิริยาสูงมาก ลุกไหมไดอยางรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยากับนํ้ารุนแรง ธาตุหมู 2A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 2 จึงสูญเสียไดงาย ทําใหมีประจุ +2 เชน Mg2+ ธาตุหมู 7A (Halogen) เปนอโลหะ อยูเปนโมเลกุลมี 2 อะตอม เชน F2 Cl2 Br2 I2 At2 • มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 7 จึงสามารถรับอิเล็กตรอนไดอีก 1 กลายเปนไอออนประจุ -1 • มีความวองไวตอปฏิกิริยาเคมีมาก ธาตุหมู 8A เปนอโลหะ มีสถานะเปนกาซ อยูเปนอะตอมอิสระ : He Ne Ar Kr Xe Rn • มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 8 จึงมีความเสถียรมาก ไมวองไวตอปฏิกิริยาเคมี จึงเรียกวา กาซเฉื่อย โลหะแทรนซิชัน เปนโลหะ มีสมบัติกายภาพเหมือนโลหะหมู 1A / 2A แตสมบัติเคมีแตกตางกัน ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคลายโลหะและบางประการคลายอโลหะ เชน อะลูมิเนียม (Al) มีความหนาแนนตํ่า จึงแข็งแรงแตนํ้าหนักเบา นําไฟฟา/ความรอนดี เชน บอกไซด :ใชทําโลหะอะลูมิเนียม อุปกรณไฟฟา เครื่องครัว หออาหาร คอรันดัม หรือ อะลูมิเนียมออกไซด : ทําอัญมณีที่มีสีตามชนิดของโลหะแทรนซิชัน สารสม (Al(SO4 )2 . 12H2 O) : ใชในการทํานํ้าประปาหรือกวนนํ้าใหตกตะกอน ซิลิกอน (Si) - อะตอมยึดตอกันดวยพันธะโคเวเลนซ ในรูปโครงผลึกรางตาขาย เปนสารกึ่งตัวนํา ใชทําแผงวงจรไฟฟาและ อุปกรณไฟฟา ธาตุกัมมันตรังสี คือ ไอโซโทปของธาตุที่มีนิวตรอนตางจากโปรตอนมากๆ ทําใหไมเสถียร จึงสลายตัว โดยปลดปลอยรังสีออก มา ซึ่งตรวจหาและวัดรังสี โดยใชไกเกอรมูลเลอรเคานเตอร การเคลื่อนที่และพลังงาน บทที่ 1 การเคลื่อนที่ แบงเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1.1 การเคลื่อนที่แนวตรง : เปนการเคลื่อนที่ ที่ไมมีการเปลี่ยนทิศทาง การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวระดับ • อัตราเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางระยะทางกับเวลา • ความเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางกระจัดกับชวงเวลา ( กระจัด คือ ระยะทางที่สั้นที่สุด) • ความเรง หาไดจาก ความเร็วที่เปลี่ยนไปกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง (เมตรตอวินาที 2 ) การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง ภายใตแรงโนมถวงของโลก (แนวดิ่ง) ใชสูตร V = U + g t 1.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล : เปนการเคลื่อนที่เปนเสนโคงพาราโบลา เชน การโยนของจากเครื่องบิน การโยนลูกบาสเกตบอลเขาหวง การขวางกอนหิน การยิงธนู การตีลูกกอลฟ 1.3 การเคลื่อนที่แบบวงกลม : เกิดจากเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลม เชน การเหวี่ยงหมุนของบนศีรษะ การเลี้ยวของรถ การขี่มอเตอรไซคไตถัง การโคจรของดวงดาว 1.4 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย : เปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ซํ้าทางเดิมในแนวดิ่ง โดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งจะ มีคาคงที่เสมอ เชน การแกวงของชิงชา การแกวงของลูกตุมนาฬกา บทที่ 2 สนามของแรง คือ บริเวณที่มีแรงกระทําตอวัตถุ แบงเปน 3 ประเภท 2.1 สนามแมเหล็ก คือ บริเวณที่มีแรงแมเหล็กกระทํา จะมีทิศจากขั้วเหนือไปยังขั้วใตของแทงแมเหล็ก เมื่อใหกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดตัวนํา ที่วางตัด (ตั้งฉาก) กับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะมีแรงแมเหล็กกระทํา ทําใหขด ลวดตัวนําเคลื่อนที่ได นําไปใชสรางมอเตอรไฟฟา กรณีตรงขาม ถาหมุนขดลวดตัวนําใหตั้งฉากกับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้น เรียกวา กระแส ไฟฟาเหนี่ยวนํา ซึ่งคนพบโดย ไมเคิล ฟาราเดย และนําไปสรางเครื่องกําเนิดไฟฟา สนามแมเหล็กโลก โลกเสมือนมีแมเหล็กฝงอยู ใตโลก โดยขั้วโลกเหนือ ทําหนาที่เปน ขั้วใตของแมเหล็ก ขั้วโลกใต ทําหนาที่เปน ขั้วเหนือของแมเหล็ก ทําหนาที่ เปนโลปองกันลม สุริยะ 2.2 สนามไฟฟา คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟา กระทํา จะมีทิศจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของขั้วไฟฟา - อนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบ
  • 4. 95 - อนุภาคที่มีประจุลบ (อิเล็กตรอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปยังขั้วบวก หลักการนี้นําไปใชในการทําเครื่องกําจัดฝุน โดยเมื่อฝุนละอองผานเขาไปในเครื่อง ฝุนเล็กๆ จะรับประจุไฟฟาลบจาก ขั้วลบของเครื่อง และจะถูกดูดติดแนนโดยแผนขั้วบวกของเครื่อง 2.3 สนามโนมถวง คือ บริเวณที่มีแรงโนมถวงกระทํา ทําใหเกิดแรงดึงดูดวัตถุ พุงเขาสูศูนยกลางโลก ณ ผิวโลก แรงโนมถวงมีคา 9.8 นิวตันตอ กิโลกรัม แตจะมีคาลดลงไปเรื่อยๆ เมื่ออยูในระดับสูงขึ้นไปจากผิวโลกเรื่อยๆ แรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ ก็คือ นํ้าหนักของวัตถุบนโลก (weight) บทที่ 3 คลื่น แบงเปน 2 ประเภท 3.1 คลื่นกล คือ คลื่นที่เดินทางไดตองอาศัยตัวกลาง แบงเปน สมบัติของคลื่น มี 4 ประเภท • การสะทอน : เกิดจากการที่คลื่นไป แลวกลับสูตัวกลางเดิม เชน คางคาวและปลาโลมา โดยการสงคลื่นเสียง (Ultra- sound) ออกไป แลวรับคลื่นที่สะทอนกลับมา • การหักเห : เกิดจากการที่คลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางที่มีสมบัติตางกัน ทําใหทิศทางเบี่ยงเบน เนื่องจาก อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป เชน บางครั้งเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง • การเลี้ยวเบน : เกิดจากการที่คลื่นปะทะสิ่งกีดขวาง แลวแผกระจายไปตามขอบ เชน การที่เราเดินผานมุมอาคารเรียน หรือมุมตึก จะไดยินเสียงตางๆ จากอีกดานหนึ่งของอาคาร • การแทรกสอด : เกิดจากการที่คลื่นสองขบวนเคลื่อนที่เขาหากัน ทําใหเกิดบริเวณสงบนิ่งและบริเวณที่สั่นสะเทือนมาก ธรรมชาติของเสียง มี 3 ประเภท • ระดับเสียง ขึ้นอยูกับ ความถี่ของเสียง - หูของคนสามารถรับรูคลื่นเสียงในชวงความถี่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ เสียงที่มีความถี่ตํ่ากวา 20 เฮิรตซ เรียกวา อินฟราซาวนด (infrasound) เสียงที่มีความถี่สูงกวา 20,000 เฮิรตซ เรียกวา อัลตราซาวนด (ultrasound) • ความดัง ขึ้นอยูกับ แอมพลิจูด จะวัดเปนระดับความเขมเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล ดังนี้ - เสียงคอยที่สุดที่เริ่มไดยิน มีระดับความเขมเสียงเปน 0 เดซิเบล - เสียงดังที่สุดที่ไมเปนอันตรายตอหู มีระดับความเขมเสียงเปน 120 เดซิเบล องคการอนามัยโลก กําหนดวา ระดับความเขมเสียงที่ปลอดภัยตองไม เกิน 85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกินวันละ 8 ชั่วโมง ถาเกินกวานี้ จะถือวาเปนมลภาวะของเสียง คุณภาพเสียง คือ คุณลักษณะเฉพาะตัวของเสียง (ไมไดแปลวาเสียงดี หรือไมดี ) ขึ้นอยูกับ รูปรางของคลื่น ชวยระบุแหลง กําเนิดเสียงที่แตกตางกัน ทําใหเสียงที่ไดยินวาเปนเสียงอะไร 3.2 คลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ คลื่นที่สามารถเคลื่อนที่ได โดยไมอาศัยตัวกลาง มี 7 ชนิด ดังนี้ แกมมา เอกซ อัลตราไวโอเลต แสง อินฟราเรด ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ พลังงานมาก -------------------------------------------------------------------------> พลังงานนอย ความยาวคลื่นนอย ------------------------------------------------------------------> ความยาวคลื่นมาก คลื่นแมเหล็กไฟฟา จะเคลื่อนที่ในสุญญากาศดวยความเร็วเทากัน คือ 3 x 108 เมตร/วินาที คลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่ใชประโยชนมากในชีวิตประจําวัน คือ คลื่นวิทยุ มี 2 ระบบ คือ - ระบบเอเอ็ม (AM : Amplitude Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหแอมพลิจูดเปลี่ยนแปลง แตความถี่คงที่ สง กระจายเสียงดวยความถี่ 530-1,600 กิโลเฮิรตซ - ระบบเอฟเอ็ม (FM : Frequency Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหความถี่เปลี่ยนแปลง แตแอมพลิจูดคงที่ สง กระจายเสียงดวยความถี่ 88-108 เมกะเฮิรตซ บทที่ 4 กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร 4.1 กัมมันตภาพรังสี แบงเปน 3 ชนิด รังสีแกมมา () เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่มีความยาวคลื่นสั้น มีอํานาจทะลุผานมาก กั้นไดใชตะกั่ว รังสีบีตา () เปนอิเล็กตรอน สามารถกั้นไดโดยใชแผนอะลูมิเนียม รังสีแอลฟา () เปนนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ( 2 He) สามารถทําใหสารเกิดการแตกตัวเปนไอออนไดดี มีอํานาจทะลุผาน นอยมาก สามารถกั้นไดโดยใชกระดาษ 4.2 พลังงานนิวเคลียร แบงเปน 2 ประเภท ฟชชัน ฟวชัน - ใหญ ----> เล็ก - เล็ก ----> ใหญ - ควบคุมได - ควบคุมไมได - เกิดลูกโซ - ไมเกิดลูกโซ - พลังงานนอย - พลังงานมาก 4
  • 5. 96 โลก ดาราศาสตร และอวกาศ บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง 1.1 โครงสรางโลก แบงตามลักษณะมวลสาร ได 3 ชั้น คือ 1. ชั้นเปลือกโลก แบงเปน 2 บริเวณ คือ • ภาคพื้นทวีป ประกอบดวย ซิลิกาและอะลูมินา • ใตมหาสมุทร ประกอบดวย ซิลิกาและแมกนีเซีย 2. ชั้นเนื้อโลก มีความลึก 2,900 กิโลเมตร แบงเปน 3 สวน คือ • สวนบน เปนหินที่เย็นตัว ชั้นเนื้อโลกสวนบนรวมกับชั้นเปลือกโลก เรียกวา ชั้นธรณีภาค • ชั้นฐานธรณีภาค เปนชั้นของหินหลอมละลายหรือหินหนืด ที่เรียกวา แมกมา • ชั้นลางสุด เปนชั้นของแข็งรอนที่แนนและหนืด 3. ชั้นแกนโลก แบงเปน 2 สวน คือ • แกนโลกชั้นนอก เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของเหลวรอน • แกนโลกชั้นใน เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของแข็ง 1.2 ปรากฏการณทางธรณีวิทยา แนวรอยตอที่ทําใหเกิดแผนดินไหว มี 3 แนว คือ 1. แนวรอยตอรอบมหาสมุทรแปซิฟก เกิดแผนดินไหวรุนแรงและมากที่สุด ( 80% ) เรียกวา วงแหวนแหงไฟ ไดแก ญี่ปุน ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก 2. แนวรอยตอภูเขาแอลปในยุโรปและภูเขาหิมาลัยในเอเซีย เกิดแผนดินไหว (15%) โดยจะเกิดระดับตื้นและปานกลาง ไดแก พมา อัฟกานิสถาน อิหราน ตุรกี และทะเลเมดิเตอรเรเนียน 3. แนวรอยตอบริเวณสันกลางมหาสมุทรตางๆ ของโลก (5%) ไดแก บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดียและอารกติก โดยจะเกิดแผนดินไหวในระดับตื้น ภูเขาไฟ แบงเปน 2 รูปแบบ ดังนี้ • เกิดจาก การปะทุของแมกมา จะมีสัญญาณบอกเหตุลวงหนา เชน แผนดินไหว และมีเสียงคลายฟารอง ซึ่งเมื่อพนออก มา เรียกวา ลาวา คุพุงเหมือนนํ้าพุรอน เมื่อเย็นตัวกลายเปน หินบะซอลต ซึ่งมีรูพรุน • เกิดจาก การระเบิดของแมกมาที่มีกาซ ซึ่งจะแยกเปนฟองเหมือนนํ้าเดือดและขยายตัวจนระเบิดอยางรุนแรง พนเศษ หิน ผลึกแร เถาภูเขาไฟ และเมื่อเย็นตันเปนหิน เรียกวา หินตะกอนภูเขาไฟ ซึ่งเรียกชื่อตามขนาดและชิ้นสวนที่พนออกมา เชน หิน ทัฟฟ หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ หินกรวดมนภูเขาไฟ บทที่ 2 ธรณีภาค 2.1 แผนธรณีภาคและการเคลื่อนที่ ป พ.ศ.2458 ดร.อัลเฟรด เวกาเนอร นักอุตุนิยมวิทยา ชาวเยอรมัน ไดตั้งสมมติฐานวา “ผืนแผนดินทั้งหมดบนโลกแตเดิมเปนแผนดินผืนเดียวกัน เรียกวา พันเจีย เมื่อ 200 - 135 ลานปที่แลว แยกออกเปน 2 ทวีปใหญ คือ ลอเรเซียทางตอนเหนือและกอนดวานาทางตอนใต และเมื่อ 135-65 ลานปที่แลว ลอเรเซียเริ่มแยกเปนอเมริกาเหนือ และแผนยูเรเซีย (ยุโรป+เอเชีย) กอนดวานาจะแยกเปน อเมริกาใต แอฟริกา ออสเตรเลีย แอนตารกติกา และอินเดีย แผนธรณีภาคมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ดังนี้ 1. ขอบแผนธรณีภาคแยกออกจากกัน เกิดจาก การดันตัวของแมกมา ทําใหเกิดรอยแตก จนแมกมาถายโอนความรอนได ทําใหอุณหภูมิและความดันลดลง ทําเปลือกโลกทรุดตัวกลายเปนหุบเขาทรุด ตอมามีนํ้าไหลมาสะสมเปนทะเล และเกิดเปนรองลึก แมกมาจึงแทรกดันขึ้นมา สงผลให แผนธรณีเคลื่อนตัวแยกออกไปทั้งสองขาง เกิดการขยายตัวของพื้นทะเล 2. ขอบแผนธรณีภาคเคลื่อนเขาหากัน มี 3 แบบ คือ - แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคใตมหาสมุทร ทําใหแผนหนึ่งมุดลงใตอีกแผนหนึ่ง ปลายของแผนที่ มุดลงจะหลอมกลายเปนแมกมา และปะทุขึ้นมา ทําใหเกิดเปนแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร - แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ทําใหแผนธรณีภาคใตมหาสมุทรซึ่งหนักกวามุดลงขาง ลาง เกิดเปนแนวภูเขาไฟชายฝง เชน อเมริกาใต (แอนดีส) - แผนธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ซึ่งทั้งสองแผนมีความหนามาก ทําใหแผนหนึ่งมุดลงแต อีกแผนหนึ่งเกยขึ้นเกิดเปนเทือกเขาเปนแนวยาวอยูกลางทวีป เชน เทือกเขาหิมาลัย แอลป
  • 6. 97 บทที่ 3 ธรณีประวัติ 3.1 อายุทางธรณีวิทยา แบงเปน 2 แบบ - อายุสัมบูรณ เปนอายุของหินหรือซากดึกดําบรรพที่สามารถบอกจํานวนปที่แนนอน ซึ่งคํานวณไดจากครึ่งชีวิตของธาตุ กัมมันตรังสี ไดแก ธาตุ C-14 K-40 - อายุเปรียบเทียบ ใชบอกอายุของหิน วาหินชุดใดมีอายุมากหรือนอยกวากัน โดยอาศัยขอมูลจากซากดึกดําบรรพที่ทราบ อายุแนนอน ลักษณะลําดับชั้นหินและโครงสรางของชั้นหิน 3.2 ซากดึกดําบรรพ คือ ซากและรองรอยของสิ่งมีชีวิต ที่ตายทับถมอยูในชั้นหินตะกอน พืชและสัตวที่จะเปลี่ยนสภาพเปนซากดึกดําบรรพไดตองมีโครงรางที่แข็ง เพื่อวาแรธาตุตางๆ จะสามารถแทรกซึมเขาไป ในชองวางนั้นได ทําใหทนทานตอการผุพังและตองถูกฝงกลบอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตชะลอการสลายตัว โดยซากของ สัตวทะเลจะพบมากที่สุด เพราะวาเมื่อจมลงจะถูกโคลนและตะกอนเม็ดละเอียดทับถม ซึ่งตะกอนละเอียดจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตเสีย หายนอยที่สุด ประเทศไทยพบซากดึกดําบรรพ เชน ซากไดโนเสาร พบครั้งแรกที่ อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน เปนไดโนเสารเดิน 4 เทา มี คอ-หาง ยาว กินพืชเปนอาหาร ตั้งชื่อวา “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน” - รองรอยของสิ่งมีชีวิตที่พิมพรอยอยูในตะกอนที่แข็งตัวเปนหิน เชน รอยเทาไดโนเสารที่ภูหลวง จ.เลย และที่ภูแฝก จ.กาฬสินธุ หรือรอยเปลือกหอยตาง ๆ นอกจากนี้ ยังมีซากดึกดําบรรพที่ไมกลายเปนหิน เชน ซากชางแมมมอธ ซากแมลงในยางไมหรืออําพัน บทที่ 4 เอกภพ 4.1 กําเนิดเอกภพ ทฤษฏีกําเนิดเอกภพ “บิกแบง” (Big Bang) กลาววา เมื่อเกิดการระเบิดใหญ ทําใหพลังงานเปลี่ยนเปนสสาร เนื้อสารที่เกิดขึ้นจะในรูปของอนุภาคพื้นฐานชื่อ ควารก อิเล็กตรอน นิวทริโน และโฟตอน เมื่อเกิดอนุภาคจะเกิดปฏิอนุภาคที่มีประจุตรงขาม เมื่ออนุภาคพบปฏิอนุภาคชนิดเดียวกัน จะหลอมสลายเปนพลังงานจน หมด แตในธรรมชาติมีอนุภาคมากกวาปฏิอนุภาค จึงทําใหยังมีอนุภาคเหลือ หลังบิกแบง 10-6 วินาที อุณหภูมิจะลดลงเปนสิบลานลานเคลวิน ทําใหควารกรวมตัวกลายเปนโปรตอน (นิวเคลียสของ ไฮโดรเจน) และนิวตรอน หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิจะลดลงเปนรอยลานเคลวิน เกิดการรวมตัวเปนนิวเคลียสของฮีเลียม หลังบิกแบง 300,000 ป อุณหภูมิจะลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียม จะดึงอิเล็กตรอนเขา มา ทําใหเกิดเปนอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม หลังบิกแบง 1,000 ลานป จะเกิดกาแล็กซีตางๆ โดยภายในกาแล็กซีจะมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเปนสารเบื้องตน ในการ กําเนิดเปนดาวฤกษรุนแรก ๆ ขอสังเกตและประจักษพยาน ที่สนับสนุนทฤษฏีบิกแบง 1. การขยายตัวของเอกภพ คนพบโดยฮับเบิล นักดาราศาสตรชาวอเมริกา 2.อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ ปจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน นักดาราศาสตร แบงกาแล็กซี ออกเปน 4 ประเภท 1. กาแล็กซีกังหันหรือสไปรัล เชน กาแล็กซีทางชางเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซี M -81 (M ยอมาจาก เมสสิแอร (Messier) เปนนักลาดาวหางชาวฝรั่งเศส) 2. กาแล็กซีกังหันมีแกนหรือบารสไปรัล เชน กาแล็กซี NGC – 7479 (NGC ยอมาจาก The New General Catalogue) 3. กาแล็กซีรูปไข เชน กาแล็กซี M–87 4. กาแล็กซีไรรูปทรง เชน กาแล็กซีแมกเจลเเลนใหญ บทที่ 5 ดาวฤกษ เปนกอนกาซรอนขนาดใหญ มีองคประกอบสวนใหญ เปนธาตุไฮโดรเจน 5.1 วิวัฒนาการของดาวฤกษ • ดาวฤกษที่มีมวลนอย เชน ดวงอาทิตย ใหแสงสวางนอย จึงมีการใชเชื้อเพลิงนอย ทําใหมีชวงชีวิตยาว และจบชีวิตลง โดยไมมีการระเบิด แตจะกลายเปนดาวแคระ • ดาวฤกษที่มีมวลมาก จะมีขนาดใหญ ใหแสงสวางมาก จึงมีการใชเชื้อเพลิงมาก ทําใหมีชวงชีวิตสั้น และจบชีวิตลงดวย การระเบิดอยางรุนแรง เรียกวา ซูเปอรโนวา (supernova) หลังจากนั้น ดาวที่มีมวลมาก จะกลายเปนดาวนิวตรอน ดาวที่มีมวลสูงมาก ๆ จะกลายเปนหลุมดํา กําเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย 1. เมื่อเนบิวลายุบตัว ที่แกนกลางจะมีอุณหภูมิสูงเปนแสนองศาเซลเซียส เรียกวา “ดาวฤกษกอนเกิด”
  • 7. 98 2. ปจจุบันที่แกนกลางมีอุณหภูมิสูงเปน 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิด ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร คือ ปฏิกิริยาหลอมไฮโดรเจน 4 นิวเคลียส กลายเปนฮีเลียม 1 นิวเคลียสและเกิดพลังงานออกมามหาศาล จนทําใหเกิด สมดุลระหวางแรงโนมถวงกับแรงดันของกาซ เกิดเปนดวงอาทิตย มีสีเหลือง 3. ในอนาคต เมื่อไฮโดรเจนลดลง ทําใหดาวยุบตัวลง ทําใหแกนกลางมีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 100 ลานเคลวิน จนเกิดปฏิกิริยา เทอรโมนิวเคลียร ที่มีการหลอมฮีเลียม ใหกลายเปนคารบอน ในขณะเดียวกันรอบนอกของดาว ก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียส ที่มีหลอม ไฮโดรเจนใหกลายเปนฮีเลียมครั้งใหม จึงเกิดพลังงานออกมาอยางมหาศาลและทําใหดวงอาทิตยมีขนาดใหญขึ้นเปน 100 เทา และเปลี่ยนจากสีเหลืองเปนสีแดง เรียกวา ดาวยักษแดง ซึ่งจะปลดปลอยพลังงานออกมามาก ทําใหชวงชีวิตคอนขางสั้น 4. ในชวงทาย แกนกลางจะยุบตัวลงกลายเปนดาวแคระขาว ซึ่งมีขนาดเล็กลงเปน 1 ใน 100 5. ความสวางจะลดลงตามลําดับ และในที่สุดก็จะหยุดสองแสงสวาง กลายเปนดาวแคระดํา (black dwarf) 5.2 ความสวางและอันดับความสวางของดาวฤกษ • ดาวฤกษที่ริบหรี่ที่สุดที่มองเห็นดวยตาเปลา มีอันดับความสวาง 6 • ดาวฤกษที่สวางที่สุด มีอันดับความสวาง 1 • ดวงอาทิตย มีอันดับความสวาง - 26.7 ถาอันดับความสวางตางกัน x อันดับ จะมีความสวางตางกันประมาณ (2.5)x เทา 5.3 สีและอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ แบงออกเปน 7 ชนิดหลัก ๆ ดังนี้ • ดาวที่มีอายุนอย จะมีอุณหภูมิผิวสูง มีสีขาว นํ้าเงิน • ดาวที่มีอายุมาก ใกลถึงจุดสุดทายของชีวิต จะมีอุณหภูมิผิวตํ่า มีสีแดง O B A F G K M มวง คราม นํ้าเงิน ขาว เหลือง แสด แดง บทที่ 6 กําเนิดระบบสุริยะ นักดาราศาสตร แบงเขตพื้นที่รอบดวงอาทิตย เปน 4 เขต คือ 1. ดาวเคราะหชั้นใน ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก และ ดาวอังคาร มีขนาดเล็กและมีพื้นผิวแข็งหรือเปนหินแบบเดียวกับโลก 2. แถบดาวเคราะหนอย คือ บริเวณระหวางวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี เปนเศษที่เหลือจากการพอกพูนเปนดาวเคราะหหิน แลวถูกดึงดูดจากแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีขนาดใหญและเกิดมา กอน ทําใหไมสามารถจับตัวกันมีขนาดใหญได 3. ดาวเคราะหชั้นนอก หรือ ดาวเคราะหยักษ เปนดาวที่มีขนาดใหญ ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน มีองคประกอบหลัก คือ กาซไฮโดรเจนและฮีเลียมทั้งดวง ดาวพลูโต เปนดาวเคราะหชั้นนอกที่อยูไกลและเล็กที่สุด มีสมบัติคลายดาวเคราะหนอย 4. เขตของดาวหาง เปนเศษที่เหลือจากดาวเคราะหยักษ มีจํานวนมากอยูรอบนอกระบบสุริยะ ดวงอาทิตย : เปนดาวฤกษสีเหลือง ชนิดสเปกตรัม G มีอุณหภูมิผิวประมาณ 6,000 เคลวิน - แสงสวางที่เปลงออกมา ทําใหเรามองเห็นดาวเคราะหได โดยใชเวลาเดินทาง 8.3 นาที - ลมสุริยะ ประกอบดวยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน มาจากการแผรังสีของดวงอาทิตย ซึ่งจะมาถึงโลกภายในเวลา 20-40 ชั่งโมง ซึ่งจะสงผลทําใหเกิดปรากฏการณแสงเหนือ-แสงใต ไฟฟาแรงสูงดับที่ขั้วโลก เกิดการรบกวนวงจรอิเล็กทรอนิกสของ ดาวเทียม และทําใหเกิดการติดขัดในการสื่อสารของคลื่นวิทยุ บทที่ 7 เทคโนโลยีอวกาศ 7.1 ดาวเทียมและยานอวกาศ การสงดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นสูอวกาศ จะตองเอาชนะแรงดึงดูดของโลก ความเร็วมากกวา 7.91 กิโลเมตรตอวินาที ถาหากจะใหยานอวกาศออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย จะตองใชความเร็วที่ 11.2 กิโลเมตรตอวินาที เรียกวา ความเร็วหลุดพน พ.ศ. 2446 ไชออลคอฟสกี ชาวรัสเซีย ไดคนควาเกี่ยวกับเชื้อเพลิงในจรวด เสนอวา ใชเชื้อเพลิงเหลว แยกเชื้อเพลิงและ สารที่ชวยในการเผาไหมออกจากกัน นําจรวดมาตอเปนชั้นๆ จะชวยลดมวลของจรวดลง โดยเมื่อจรวดชั้นแรกใชเชื้อเพลิงหมดก็ ปลดทิ้งไป และใหจรวดชั้นตอไปทําหนาที่ตอ แลวปลดทิ้งไปเรื่อยๆ โดย จรวดชั้นสุดทายที่ติดกับดาวเทียมหรือยานอวกาศ จะตองมี ความเร็วสูงพอที่จะเอาชนะแรงดึงดูดของโลกได พ.ศ. 2469 โรเบิรต กอดดารด ชาวอเมริกัน สามารถสรางจรวดเชื้อเพลิงเหลว โดยใชไฮโดรเจนเหลวเปนเชื้อเพลิงและ ออกซิเจนเหลวเปนสารที่ชวยในการเผาไหม และแยกอยูตางถังกัน สหภาพโซเวียต สามารถใชจรวดสามทอนสงดาวเทียม ไดเปนประเทศแรก
  • 8. 99 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต บทที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม โลก มีระบบนิเวศนหลากหลายรวมกัน เปนระบบขนาดใหญ เรียกวา ชีวภาค(Biophere) เชน - บริเวณเสนศูนยสูตร มีอุณหภูมิสูงและแสงแดดมาก ทําใหมีฝนตกชุก เกิดปาฝนเขตรอน - บริเวณที่สูงหรือตํ่าจากเสนศูนยสูตร เรียกวา เขตอบอุน มีอุณหภูมิและแสงแดดจํากัด จึงไมหลากหลาย - ขั้วโลกเหนือ เรียกวา เขตทุนดรา มีอุณหภูมิและแสงแดดนอย พื้นนํ้าเปนนํ้าแข็ง มีพืชคลุมดิน ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดพลังงานจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตาง ๆ โดยจะถายทอดไปเพียง 10% สวนพลังงานอีก 90% จะถูกใชในการดํารงชีวิต นอกจากนี้ ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดโลหะหนัก จากยาฆาแมลงและสารพิษดวย โดยจะมีปริมาณ สะสมเพิ่มขึ้นตามลําดับการกินของสิ่งมีชีวิต บทที่ 2 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่เหมือนกัน คือ - เยื่อหุมเซลล ทําหนาที่ หอหุมเซลลและควบคุมการผานสารเขา – ออก - นิวเคลียส เปนศูนยควบคุมการทํางานของเซลลและเปนแหลงเก็บสารพันธุกรรม - ไมโทคอนเดรีย เปนแหลงผลิตสารพลังงานสูง - ไรโบโซม ทําหนาที่ สังเคราะหโปรตีน - รางแหเอนโดพลาซึม ทําหนาที่สังเคราะหและลําเลียงโปรตีน บางสวนสังเคราะหไขมัน - กอลจิคอมเพล็กซ ทําหนาที่ ปรับเปลี่ยนโปรตีนและไขมัน แลวสงไปยังปลายประสาท เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่ตางกัน คือ ในเซลลพืช จะมี : ผนังเซลล ทําใหเซลลคงรูปรางและมีการเจริญในแนวตั้ง มีโครงสรางหลัก คือ เซลลูโลส : คลอโรพลาสต ทําหนาที่ สังเคราะหนํ้าตาลโดยใชพลังงานแสง : แวคิวโอล ทําหนาที่ บรรจุนํ้าและสารชนิดตาง ๆ ในเซลลสัตว จะมี : ไลโซโซม ทําหนาที่ บรรจุเอนไซมที่มีสมบัติในการยอยสลาย 2.1 การลําเลียงสารผานเซลล มี 4 ประเภท 2.2.1 การแพร คือ การที่สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนสูง ไปสูที่มีความเขมขนตํ่า ออสโมซิส คือ การแพรของนํ้าผานเยื่อหุมเซลล จากบริเวณที่มีนํ้ามากไปสูนํ้านอย แบงเปน - ไฮโพโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนตํ่าหรือนํ้ามาก นํ้าจะไหลเขา ทําใหเซลลใหญโดยถาเปนเซลลพืช จะเตง แตเซลล สัตว จะแตก - ไฮเพอรโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนสูงหรือนํ้านอย นํ้าจะไหลออก ทําใหเซลลเหี่ยว - ไอโซโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนเทากับภายในเซลล นํ้าจะไหลเขา = ไหลออก ทําใหเซลลคงเดิม 2.2.2 การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต ( Facilitated Transport) คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนตํ่า โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล ซึ่งไมตองอาศัยพลังงาน โดยมีอัตราเร็วมากกวาการแพร 2.2.3 การลําเลียงแบบใชพลังงาน (Active Transport) คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนตํ่าไปสูบริเวณที่มีความเขมขนสูง โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล และตองอาศัยพลังงาน 2.2.4 การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล คือ การลําเลียงสารที่มีขนาดใหญ เชน โปรตีน คารโบไฮเดรต ซึ่งจะไมสามารถผานโปรตีนตัวพาได แตจะใชเยื่อหุมเซลล โอบลอม ดังนี้ - กระบวนการเอนโดไซโทซิส (Endocytosis) เปนการลําเลียงสารเขาเซลล - กระบวนการเอกโซไซโทซิส (Exocytosis) เปนการลําเลียงสารออกเซลล 2.2 กลไกการรักษาดุลยภาพ 2.3.1 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืชโดยการคายนํ้าออกที่ปากใบ และการดูดนํ้าเขาทางราก 2.3.2 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในรางกายคน • เมื่อรางกายเกิดภาวะขาดนํ้า ทําใหเลือดขน มีความดันเลือดตํ่า สมองไฮโพทาลามัสจะกระตุนตอมใตสมองสวนทาย ให หลั่งฮอรโมนแอนติไดยูเรติก ออกมา เพื่อไปกระตุนใหทอหนวยไตดูดนํ้ากลับคืน 2.3.3 การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรางกายคน ถารางกายมีระดับเมแทบอลิซึมสูง (ปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกาย) ทําใหเกิดกาซ CO2 มาก เกิดเปนกรดคารบอนิก ซึ่ง แตกตัวให H+ ออกมา สงผลให pH ในเลือดตํ่าลง หนวยไตจึงทําหนาที่ขับ H+ ออกมาทางปสสาวะ
  • 9. 100 2.3.4 การรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ • สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวที่อาศัยในนํ้า เชน อะมีบา พารามีเซียม มีโครงสรางเรียกวา คอนแทร็กไทลแวคิวโอล (Contractile Vacuole) ทําหนาที่ กําจัดนํ้าและของเสียออกจากเซลล • ปลานํ้าจืด :มีปสสาวะมาก แตเจือจาง และที่เหงือกมีเซลลคอยดูดแรธาตุที่จําเปนกลับคืน • ปลานํ้าเค็ม : มีปสสาวะนอย แตเขมขน และมีผิวหนังและเกล็ดหนา เพื่อปองกันแรธาตุ • นกทะเล มีตอมนาซัล สําหรับขับเกลือออกในรูปนํ้าเกลือ ทางรูจมูกและปาก 2.3.5 การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในรางกาย (อุณหภูมิปกติ 35.8-37.7 o C) • เมื่ออากาศรอน ลดอัตราเมแทบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร หลอดเลือดฝอยขยายตัว ผิวจึงมีสีแดง และตอมเหงื่อ ขับเหงื่อเพิ่มขึ้น กลามเนื้อที่โคนขนจะคลายตัว ทําใหขนเอนราบ • เมื่ออากาศเย็น เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร หลอดเลือดฝอยจะหดตัว ผิวจึงมีสีซีด และลดการ ทํางานของตอมเหงื่อ กลามเนื้อที่โคนขนจะหดตัว ดึงใหขนลุก บทที่ 3 ภูมิคุมกันของรางกาย เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย เรียกวา แอนติเจน - เซลลเม็ดเลือดขาว ทําหนาที่ ปองกันและทําลายเชื้อโรค โดยสรางมาจากไขกระดูก และอวัยวะนํ้าเหลือง ซึ่งแบงเปน 2 กลุม ดังนี้ 1. กลุมฟาโกไซต (phagocyte) จะใชเยื่อหุมเซลลโอบลอมเชื้อโรค แลวนําเขาสูเซลล เพื่อยอยสลาย 2. กลุมลิมโฟไซต (lymphocyte) จะสรางแอนติบอดี ซึ่งเปนสารโปรตีน ทําหนาที่ตอตานแอนติเจน - ระบบนํ้าเหลือง อวัยวะนํ้าเหลือง เปนแหลงผลิตเซลลเม็ดเลือดขาว ประกอบดวย • ตอมนํ้าเหลือง เชน คอ (เรียกวา ทอนซิล) รักแร โคนขา • มาม เปนอวัยวะนํ้าเหลืองที่มีขนาดใหญที่สุด อยูใตกระบังลมดานซาย • ตอมไทมัส เปนเนื้อเยื่อนํ้าเหลือง ทําหนาที่ สรางเซลลเม็ดเลือดขาวกลุมลิมโฟไซต รางกายเรามีภูมิคุมกันตั้งแตอยูในทองแม โดยสรางแอนติบอดีไดเองและไดรับจากแม และเมื่อคลอดจะไดจากการดื่มนมแม แต จะปองกันไดเฉพาะบางโรคเทานั้น จึงจําเปนตองไดรับภูมิคุมกันเพิ่มเติม โดยแบงเปน วัคซีน - ผลิตจากเชื้อโรคที่ถูกทําใหออนกําลัง หรือ ผลิตจากจุลินทรียที่ตายแลว หรือ ผลิตจากสารพิษที่หมดพิษหรือทอกซอยด เมื่อฉีดเขาไปในรางกายจะเปนแอนติเจน ไปกระตุนใหรางกายสรางแอนติบอดี โดยใชเวลา 4-7 วัน เซรุม : ผลิตจากแอนติบอดี เพื่อฉีดใหรางกายมีภูมิคุมกันทันที ซึ่งเตรียมไดจากการฉีดสารพิษหรือเชื้อโรคเขาไปในตัวสัตว เพื่อ กระตุนใหรางกายของสัตว ไดสรางแอนติบอดี แลวจึงนํา มาฉีดใหกับผูปวย เลือดของคน แบงเปน 4 หมู ไดแก หมู A B AB O หมูเลือด แอนติเจนบนเม็ดเลือดแดง แอนติบอดีในนํ้าเลือด A A B B B A AB AB ไมมี O ไมมี AB บทที่ 4 การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เซลลรางกายของคน 1 เซลล จะมี 46 โครโมโซม โดยเหมือนกันเปนคูๆ เรียกวา โฮโมโลกัสโครโมโซม การแบงเซลลแบบไมโตซิส คือ การแบงเซลลรางกาย - ไดเซลลใหม 2 เซลล มีจํานวนโครโมโซมเทาเดิม การแบงเซลลแบบไมโอซิส คือ การแบงเซลลสืบพันธุ - ไดเซลลใหม 4 เซลล มีโครโมโซมลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง เซลลรางกายของคน 1 เซลล มี 46 โครโมโซม หรือ 23 คู แบงเปน + โครโมโซมรางกายหรือออโตโซม (22 คูแรก) A เปนแอลลีนเดน เชน ลักยิ้ม นิ้วเกิน คนแคระ ทาวแสนปม a เปนแอลลีนดอย เชน ผิวเผือก ธาลัสซีเมีย (เลือดจาง) + โครโมโซมเพศ (คูที่ 23) โดย เพศหญิง เปน XX เพศชาย เปน XY ลักษณะที่ผิดปกติจะถูกควบคุมดวยยีนดอย บนโครโมโซม X XC เปนแอลลีนปกติ Xc เปนแอลลีนผิดปกติ เชน ตาบอดสี ฮีโมฟเลีย (โรคเลือดไหลไมหยุด) ภาวะพรองเอนไซมกลูโคส 6 ฟอสเฟต (G6PD)
  • 10. 101 หมูเลือด (ฟโนไทป) จีโนไทป A IA IA / IA i B IB IB / IB i AB IA IB O i i 4.4 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 4.4.1 มิวเทชัน (mutation) : เปนการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ทําใหลูกมีลักษณะบางอยาง แตกตางไปจากรุนพอ-แม โดยมีทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากรังสีหรือสารเคมี 4.4.2 การคัดเลือกตามธรรมชาติ ของชารลส ดารวิน เสนอ วา “สิ่งมีชีวิตจะออกลูกเปนจํานวนมาก และมีความแปรผัน ในแตละรุน แลวเกิดการแกงแยงสิ่งที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่มีอยูอยางจํากัด ดังนั้น สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะที่เหมาะสม จะสามารถ เอาชีวิตรอดได และจะถายทอดลักษณะที่เหมาะสม ไปยังสิ่งมีชีวิตรุนตอไป” เชน นกจาบที่อยูตามหมูเกาะกาลาปากอส พบวา มี จงอยปากแตกตางกันตามลักษณะอาหารของนก 4.4.3 การคัดเลือกพันธุและปรับปรุงพันธุโดยคน การคัดเลือกพันธุปลาทับทิม : พัฒนาโดยการคัดพันธุปลานิลจากทั่วโลก การปรับปรุงพันธุขาวขาวขาวดอกมะลิ 105 เปนขาวเจา เมื่อใชรังสีแกมมา ทําใหเกิดมิวเทชัน ทําใหไดขาวพันธุ กข 6 ที่ เปนขาวเหนียว ขาวพันธุ กข 15 4.5 เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ไดแก 4.5.1 พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering ) : คือ การตัดตอยีน เรียกวา สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม หรือ GMO 4.5.2 การโคลน: หมายถึง การสรางสิ่งมีชีวิตใหม ที่มีลักษณะเหมือนสิ่งมีชีวิตตนแบบทุกประการ 4.5.3 ลายพิมพ DNA : เปนเอกลักษณเฉพาะของบุคคล เปลี่ยนแปลงไมไดและไมมีใครเหมือนกัน (ยกเวน ฝาแฝดแท ) ใช ในการพิสูจนผูตองสงสัย หรือหาความสัมพันธทางสายเลือด 4.5.4 การทําแผนที่ยีน หรือ แผนที่จีโนม : เพื่อใหรูตําแหนงของยีนในโครโมโซม เพราะวาเมื่อระบุไดวายีนใดบางที่ผิดปกติ ก็ใชเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมตัดตอยีนที่พึงประสงคเขาไปแทนยีนที่เปนสาเหตุใหเกิดโรค เรียกวิธีรักษาแบบนี้วา การบําบัดรักษาดวย ยีน (gene therapy) บทที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพ นักชีววิทยา จัดจําแนกหมวดหมูสิ่งมีชีวิต ออกไดเปน 5 อาณาจักร ดังนี้ • อาณาจักรสัตว : เปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลและเซลลรวมกันเปนเนื้อเยื่อ : เปนผูบริโภค • อาณาจักรพืช : เปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลและเซลลรวมกันเปนเนื้อเยื่อ : เปนผูผลิต : มีผนังเซลล ซึ่งมีเซลลูโลสเปนองคประกอบ • อาณาจักรโพรทิสตา : เปนสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวหรือหลายเซลล : บางชนิดสรางอาหารได แตบางชนิดตองกินอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น • อาณาจักรเห็ดรา และยีสต : ยีสตมีเซลลเดียว เห็ดรามีหลายเซลล : เปนผูยอยสลายอินทรียสาร แตบางชนิดเปนปรสิต • อาณาจักรมอเนอรา : เปนสิ่งมีชีวิตที่เซลลไมมีนิวเคลียส : เปนผูยอยสลายอินทรียสาร บางชนิดสรางอาหารไดเอง ไดแก แบคทีเรีย สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ไวรัส ไมมีอาณาจักร เพราะ ไมมีลักษณะเปนเซลล แตเปนอนุภาค ที่ใชโปรตีนหอหุมสารพันธุกรรมไว สามารถเพิ่มจํานวนได เฉพาะเมื่ออยูภายในเซลลของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
  • 11. 102 1. ความสัมพันธระหวางการสังเคราะหดวยแสง และการหายใจ มีแกสใดที่มีความสัมพันธกัน 1. CO , H2O 2. CO2 , O2 3. H2O , CO2 4. CO , O2 2. ในระบบนิเวศนาขาวแหงหนึ่งมีสายโซอาหารดังนี้ สาหราย –> ปลา –> กบ –> งู หากพลังงานเริ่มตนที่ 10,000 kcal พลังงาน ที่ถูกถายทอดไปยังผูบริโภคลําดับสุดทายเปนกี่ kcal 1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000 3. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการแบงเซลลสืบพันธุ 1. เปนการแบงเซลลแบบไมโตซิส 2. จํานวนโครโมโซมเทาเดิม 3. มีเซลลใหมเกิดขึ้น 6 เซลล 4. จํานวนโครโมโซมมีการลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง 4. แกสใดไมมีอิทธิพลตอปรากฏการณเรือนกระจก 1. มีเทน 2. คารบอนไดออกไซด 3. ไนโตรเจนออกไซด 4. ซัลเฟอรไดออกไซด 5. โครงสรางใดของเซลลที่พบเฉพาะในเซลลพืชเทานั้น 1. แวคิวโอล 2. เยื่อหุมเซลล 3. กอลจิคอมเพลกซ 4. ไมโทคอนเดรีย 6. สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีอุณหภูมิรางกายเปลี่ยนแปลงไดตามสิ่งแวดลอม 1. ปลาวาฬ 2. นกเพนกวิน 3. แมวนํ้า 4. คางคก 7. ขอใดไมเกี่ยวของกับอวัยวะนํ้าเหลือง 1. ตอมทอนซิล 2. ตอมไทมัส 3. มาม 4. ตับ 8. คนที่มีเลือดหมู O สามารถรับเลือดจากหมูใดบาง 1. หมู A หมู B หมู AB และหมู O 2. หมู B หมู AB และหมู O 3. หมู AB และหมู O 4. หมู O 9. พอมีเลือดหมู A แมมีเลือดหมู B ลูกของพอแมคูนี้จะมีโอกาสมีหมูเลือดใดบาง 1. A และ B 2. AB และ O 3. มีโอกาสเปนไปไดทุกหมู 4. ไมมีโอกาสเปนไปได 10. ลักษณะใดที่ไมแสดงออกในพอแม แตสามารถพบในรุนลูก 1. การมีลักยิ้ม 2. การมีนิ้วเกิน 3. โรคธาลัสซีเมีย 4. โรคทาวแสนปม 11. เซรุมปองกันโรคพิษสุนัขบา เปนสารประเภทใด 1. แอนติเจน 2. แอนติบอดี 3. แอนติไบโอติก 4. เอนไซม 12. ลําดับของ “ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ” เปนไปตามขอใด เมื่อประชากรเพิ่ม 1. เกิดความผันแปรของยีนในกลุมประชากร เกิดสปชีสใหม 2. เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได 3. เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ เกิดความหลากหลายในกลุมประชากร ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได 4. เกิดความหลากหลายในกลุมประชากร เกิดการแกงแยงปจจัยสําคัญ ลักษณะที่แข็งแรงสามารถอยูรอดได 13. เพราะเหตุใด “ลอ” จึงไมสามารถสืบพันธุมีลูกหลานในรุนตอไปได 1. เปนสิ่งมีชีวิตที่ไดมาจากการผสมเทียมของ มา และ ลา 2. พอ แม มีโครโมโซมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากมิวเทชัน 3. พอ แม เปนสิ่งมีชีวิตตางสปชีสจึงใหลูกที่ไมสามารถสืบพันธุได 4. ถูกทั้งขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 14. เมื่อนํานํ้ามันสําหรับประกอบอาหาร A และ B ปริมาตรเทากัน มาอุนใหรอน แลวหยดทิงเจอรไอโอดีน ทีละหยดและคน รอจน สีทิงเจอรไอโอดีนหายไป แลวเติมหยดตอไป นับจํานวนหยดที่เติมจนกระทั่ง หยดสุดทายที่สีไมหายไป ไดผลการทดลองดังตาราง นํ้ามันชนิดใดเหมาะแกการบริโภคมากที่สุด 1. นํ้ามัน A เพราะมีกรดไขมันอิ่มตัวมากที่สุด 2. นํ้ามัน B เพราะมีกรดไขมันอิ่มตัวมากที่สุด 3. นํ้ามัน A เพราะมีกรดไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุด 4. นํ้ามัน B เพราะมีกรดไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุด แบบทดสอบวิทยาศาสตร นํ้ามัน จํานวนหยด A 23 B 10
  • 12. 103 15. สารพันธุกรรมเปนสารประเภทใด 1. โปรตีน 2. ไขมัน 3. คารโบไฮเดรต 4. กรดนิวคลีอิก 16. ขอใดที่อาหารโปรตีนไมถูกทําลายหรือแปลงสภาพ 1. ไขขาวดิบที่คนไขกินเขาไปเพื่อกําจัดยาฆาแมลง 2. เนื้อหมูที่แชไวในตูเย็นเพื่อแกงใสบาตร 3. เนื้อไกที่ทอดจนเหลือกรอบจะปลอดภัยจากไขหวัดนก 4. หอยแมลงภูที่บีบมะนาวเปนอาหารโปรด 17. ขอใดกลาวถึงเลขออกเทนไมถูกตอง 1. เปนตัวแสดงคุณภาพของนํ้ามันดีเซลและเบนซิน 2. นํ้ามันไรสารตะกั่วมีการเติมเมทิลเทอรเชียรีบิวทิลอีเทอร เพื่อเพิ่มเลขออกเทน 3. สารเตตระเมทิลเลดชวยเพิ่มเลขออกเทน แตการเผาไหมจะใหไอของตะกั่ว 4. นํ้ามันที่มีเลขออกเทน 95 มีประสิทธิภาพการเผาไหมเหมือนกับของผสมที่มีไอโซออกเทน 95% และนอรมอลเฮปเทน 5% 18. เมื่อนําชิ้นสังกะสีใสสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีการในขอใดทําใหปฏิกิริยาเกิดชาลง 1. ใชแทงแกวคนใหทั่ว 2. ใหผงสังกะสีนํ้าหนักเทากันแทนชิ้นสังกะสี 3. ใหความรอน 4. เติมนํ้ากลั่นลงไปเทาตัว 19. พันธะระหวางอะตอมในโมเลกุลของโซเดียมคลอไรด (NaCl) เปนพันธะชนิดใด 1. ไอออนิก 2. โลหะ 3. โควาเลนต 4. วันเดอรวาลส 20. อะตอมของธาตุโบรอนที่มีสัญลักษณนิวเคลียร 11B มีการจัดอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานอยางไร 1. 2, 3 2. 2, 4 3. 2, 4, 5 4. 2, 8, 1 รถเริ่มเคลื่อนที่ v = 90 km/h v = 90 km/h รถหยุด v = 0 km/h v = 0 km/h t = 20 วินาที t = 40 วินาที t = 60 วินาที t = 0 วินาที 21. ความเรงในชวง 0-20 วินาทีแรก มีคากี่เมตร/วินาที2 1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.5 22. ความเรงในชวง 20-40 วินาทีตอมา มีคากี่เมตร/วินาที2 1. 0 2. 1 3. 1.25 4. 4.5 23. หากปลอยกอนหินจากตึกสูง เมื่อเวลาผานไป 5 วินาที กอนหินจะมีความเร็วกี่เมตร/วินาที (กําหนดคาความเรงโนมถวง = 9.8 เมตร/วินาที2) 1. 9.8 2. 14.8 3. 24.5 4. 49 24. ถายิงกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็วตน 98 เมตร/วินาที กอนหินจะถึงจุดสูงสุดใชเวลานานกี่วินาที 1. 5 2. 10 3. 29.6 4. 49 25. มอเตอรไซดไตถังคันหนึ่งเคลื่อนที่ได 5 รอบ ภายในเวลา 2 วินาที จงหาความถี่ของมอเตอรไซดคันนี้ 1. 0.4 Hz 2. 1.5 Hz 3. 2.5 Hz 4. 4.0 Hz 26. คลื่นเสียงเปนคลื่นชนิดใด 1. คลื่นตามยาว 2. คลื่นตามขวาง 3. คลื่นแมเหล็กไฟฟา 4. คลื่นอัด-ขยาย 27. ขอใดเปนเหตุผลที่เราไมไดยินเสียง 1. ความถี่คลื่นเสียงตํ่าเกินไป 2. ความถี่คลื่นเสียงสูงเกินไป 3. ความดังของเสียงนอยเกินไป 4. ถูกทุกขอ 28. ขอใดผิดเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา 1. คลื่นแกมมามีพลังงานมากกวารังสีเอกซ 2. เคลื่อนที่ไดโดยไมอาศัยตัวกลาง 3. คลื่นอินฟราเรดและคลื่นอัลตราไวโอเลตมีความเร็วในสุญญากาศเทากัน 4. คลื่นวิทยุสะทอนในชั้นเรดิโอสเฟยร 5