SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
9
สารและสมบัติของสาร
บทที่ 1 สารชีวโมเลกุล
คือ สารที่มี C และธาตุ H เปนองคประกอบ มีขนาดใหญและพบในสิ่งมีชีวิตเทานั้น มี 4 ประเภท ไดแก
1. ไขมัน และนํ้ามัน ประกอบดวยธาตุ C H O มีหนาที่ดังนี้
ปองกันการสูญเสียนํ้า ชวยทําใหผิวชุมชื้น ปองกันการสูญเสียความรอน ชวยทําใหรางกายอบอุน ชวยใหผมและเล็บมี
สุขภาพดี ชวยละลายวิตามิน A D E K (ไขมัน 1 กรัม ใหพลังงาน 9 กิโลแคลอรี )
ไขมัน เปนสารไตรกลีเซอไรด ซึ่งเกิดจากกรดไขมัน 3 โมเลกุล กับ กลีเซอรอล 1 โมเลกุล
กรดไขมันไมอิ่มตัว + กาซออกซิเจน ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นหืน
แสดงวา นํ้ามันพืช จะเกิดกลิ่นเหม็นหืนไดงาย แตในธรรมชาติจะมีวิตามินE ซึ่งเปนสารตานหืน
การผลิตสบู จากปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน ไดจาก การตมไขมันกับเบส (โซเดียมไฮดรอกไซด / NaOH)
2. โปรตีน ( C H O N ) มีหนาที่ ชวยเสริมสรางการเจริญเติบโตและซอมแซมเนื้อเยื่อ ชวยรักษาสมดุลนํ้าและกรด-เบส เปน
สวนประกอบของเอนไซม ฮอรโมน เลือด และภูมิคุมกัน (1 กรัม ใหพลังงาน 4 KCal)
หนวยยอย คือ กรดอะมิโน มีทั้งหมด 20 ชนิด แบงเปน
• กรดอะมิโนที่จําเปน มี 8 ชนิด ซึ่งรางกายสรางไมได ตองกินจากอาหารเขาไป
• กรดอะมิโนที่ไมจําเปน มี 12 ชนิด ซึ่งรางกายสามารถสังเคราะหไดเอง
การแปลงสภาพโปรตีน คือ การที่ทําใหโครงสรางของโปรตีนถูกทําลาย เชน แข็งตัว
เมื่อไดรับความรอน เมื่อไดรับสารละลายกรด-เบส เมื่อไดรับไอออนของโลหะหนัก
คุณคาทางชีววิทยา หมายถึง คุณภาพของโปรตีนที่นํามาสรางเปนเนื้อเยื่อได(ไข 100%)
3. คารโบไฮเดรต ( C H O ) มีหนาที่ดังนี้
- เปนแหลงพลังงานหลักของคน (1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี) แบง 3 ประเภท ดังนี้
3.1 มอโนแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ) แบงเปน
• นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C5
H10
O5
เรียกวา ไรโบส
• นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C6
H12
O6
เชน กลูโคส ฟรุกโตส ( ฟรักโตส ) กาแลกโทส
3.2 ไดแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลคู )
• กลูโคส + กลูโคส = มอลโทส พบในขาว เมล็ดพืช ใชในการทําเบียร อาหารทารก
• กลูโคส + ฟรุกโตส = ซูโครส หรือ นํ้าตาลทราย พบมากในออย
• กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในนํ้านม
3.3 พอลิแซ็กคาไรด (นํ้าตาลโมเลกุลใหญ )
• แปง เกิดจาก กลูโคสหลายพันโมเลกุลมาตอกัน แบบสายยาวและแบบกิ่ง พบมากในพืช
- รางกายคนยอยสลายไดดวยเอนไซมที่มีในนํ้าลาย (อะไมเลส)
• เซลลูโลส เกิดจาก กลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล ตอกันแบบสายยาว เปนเสนใยพืช
- รางกายคนยอยสลายไมได ชวยกระตุนใหลําไสใหญเคลื่อนไหว ทําใหอุจจาระออนนุม
• ไกลโคเจน เกิดจาก กลูโคสเปนแสนถึงลานโมเลกุลมาตอกันแบบกิ่ง พบในคนและสัตว ที่ตับและกลามเนื้อ เปนแหลง
พลังงานสํารอง โดยจะสลายกลับคืนเปนกลูโคส เมื่อรางกายขาดแคลนพลังงาน
เตรียมสอบวิทยาศาสตร (O-NET)
อ.กรกฤช ศรีวิชัย
กรดไขมัน อิ่มตัว ไมอิ่มตัว
จํานวนอะตอมไฮโดรเจน มาก นอย
จุดหลอมเหลว สูงกวา 25 ๐
C ตํ่ากวา 25 ๐
C
สถานะ ของแข็ง ของเหลว
แหลงที่พบมาก ไขมันสัตว นํ้ามันพืช
พันธะระหวางคารบอน เดี่ยว คู
ความวองไวตอปฏิกิริยา นอย มาก
4
1. แผนภาพแสดงความสัมพันธระหวาง ก และ ข อาจเปนสารใดตามลําดับ
1. CO2
, H2
O 2. CO2
, O2
3. O2
, CO2
4. H2
O , O2
2. จากสายใยอาหารขางลางนี้ ข และ ง เปนสิ่งมีชีวิตในกลุมใด ตามลําดับ
แสง
1. ผูผลิตและผูบริโภคสัตว 2. ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว และผูยอยสลายสารอินทรีย
3. ผูบริโภคพืชและผูบริโภคสัตว 4. ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว และผูบริโภคสัตว
3. ถาตองการลดการทําลายโอโซนในบรรยากาศ เราควรปฏิบัติอยางไร
1. ลดการตัดไมทําลายปา 2. ลดการใชสาร CFC
3. ลดการใชนํ้ามัน 4. ลดการใชเชื้อเพลิงฟอสซิล
4. ปรากฏการณใดตอไปนี้จะเกิดกับเซลลพืชที่แชในสารละลายไฮโพโทนิก
1. เซลลแตง 2. เซลลแตก 3. เซลลเหี่ยว 4. เซลลเหมือนเดิม
5. การหลั่งเพปซิโนเจนออกจากเซลลผนังกระเพาะอาหารอาศัยกระบวนการใด
1. กระบวนการออสโมซิส 2. กระบวนการเอกโซไซโทซิส
3. การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต 4. การลําเลียงแบบใชพลังงาน
6. สารพันธุกรรมเปนสารประเภทใด
1. คารโบไฮเดรต 2. โปรตีน 3. ลิพิด 4. กรดนิวคลีอิก
7. สิ่งมีชีวิตในขอใดจัดเปนจีเอ็มโอ (GMO)
1. เซลลแบคทีเรียมียีนอินซูลินของคน 2. ตนเปลานอยที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
3. พุทธรักษาพันธุกลายที่เกิดจากการฉายรังสีแกมมา 4. แตงโมที่เมล็ดลีบ
8. ลักษณะตาบอดสีพบในเพศชายมากกวาเพศหญิง เพราะเหตุใด
1. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนดอยบนโครโมโซม X และเพศชายมีโครโมโซม X เพียง 1 โครโมโซม
2. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนเดนบนโครโมโซม X และเพศชายมีโครโมโซม X เพียง 1 โครโมโซม
3. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนดอยบนโครโมโซม Y และแสดงออกเมื่อมีฮอรโมนเพศชาย
4. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนเดนบนโครโมโซม Y และแสดงออกเมื่อมีฮอรโมนเพศชาย
9. การสรางเซลลสืบพันธุของคน เกิดจากการแบงเซลลแบบใด
1. ไมโตซิสที่มีการลดจํานวนโครโมโซม 2. ไมโตซิสที่ไมมีการลดจํานวนโครโมโซม
3. ไมโอซิสที่มีการลดจํานวนโครโมโซม 4. ไมโอซิสที่ไมมีการลดจํานวนโครโมโซม
แบบทดสอบวิทยาศาสตร (O-NET)
จํานวน 45 ขŒอ เวลา 30 นาที
ก ค ง
ข
อ.กรกฤช ศรีวิชััย
กระบวนการสังเคราะหดวยแสง กระบวนการหายใจ
ก
ข
5
10. ชายคนหนึ่งมีลักษณะนิ้วเกินแตงงานกับหญิงที่มีนิ้วปกติ มีบุตรชาย 1 คน ที่มีจํานวนนิ้วปกติ และบุตรสาว 1 คนที่มีลักษณะนิ้ว
เกิน บุตรชายแตงงานกับหญิงที่มีจํานวนนิ้วปกติและมีบุตรชาย 2 คนที่มีจํานวนนิ้วปกติ ขอใดคือเพดดิกรีของครอบครัวนี้
1. 2.
3. 4.
11. สามีภรรยาคูหนึ่งเปนพาหะของธาลัสซีเมียที่เหมือนกัน โอกาสที่ลูกคนแรกจะเปนธาลัสซีเมียมีเทาใด
1. 1 2. 1 3. 1 4. 3
2 3 4 4
12. พอมีเลือดหมู O แมมีเลือดหมู AB ลูกของพอแมคูนี้หมูเลือดใดไดบาง
1. หมู A หรือหมู AB 2. หมู B หรือหมู AB
3. หมู A หรือหมู B 4. หมู O หรือหมู AB
13. หลังจากออกกําลังกายกลางแดดนานๆ รางกายมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิอยางไร
1. ลดอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดขยายตัว 2. ลดอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดหดตัว
3. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดขยายตัว 4. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดหดตัว
14. สารใดที่ไมพบในปสสาวะของคนปกติ
1. โปรตีน 2. ยูเรีย 3. ยูริก 4. เกลือโซเดียม
15. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับปลาทะเล
1. ปสสาวะมากแตเจือจาง 2. ปสสาวะมากแตเขมขน
3. ปสสาวะนอยแตเจือจาง 4. ปสสาวะนอยแตเขมขน
16. วัคซีนที่ใชหยอดปองกันโรคโปลิโอในเด็ก เปนสารใด
1. แอนติบอดี 2. แอนติเจน 3. เอนไซม 4. แอนติไบโอติก
17. ขอความใดตอไปนี้ ถูกตองมากที่สุด
1. มิวเทชันเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติไมได
2. มิวเทชันทําใหไดลักษณะที่ไมพึ่งประสงคเทานั้น
3. สารอะฟลาทอกซินจากเชื้อราทําใหอัตราการเกิดมิวเทชันสูงขึ้น
4. การแปรผันทางพันธุกรรมเกิดจากมิวเทชันเทานั้น
18. รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรตอวินาที นานเทาใดจึงจะเคลื่อนที่ไดระยะทาง 500 เมตร
1. 10 s 2. 15 s 3. 20 s 4. 25 s
19. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็วตน 4.9 เมตรตอวินาที นานเทาใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด
1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 1.5 s 4. 2.0 s
20. มะมวงลูกหนึ่งตกจากตนในแนวดิ่ง เมื่อเวลาผานไป 5 วินาที ลูกมะมวงจะมีความเร็วเปนกี่เมตรตอวินาที
1. 4.9 2. 9.8 3. 49 4. 98
6
21. รถไตถังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสมํ่าเสมอและวิ่งครบรอบได 5 รอบในเวลา 2 วินาที หากคิดในแงความถี่ของการเคลื่อนที่ ความถี่
จะเปนเทาใด
1. 2.5 Hz 2. 0.5 Hz 3. 1.5 Hz 4. 0.4 Hz
22. เด็กคนหนึ่งออกกําลังกายดวยอัตราเร็ว 6 เมตรตอวินาที เปนเวลา 1 นาที วิ่งดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาทีอีก 1 นาที แลว
เดินดวยอัตราเร็ว 1 เมตรตอวินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในชวง 3 นาทีนี้
1. 3.0 m/s 2. 3.5 m/s 3. 4.0 m/s 4. 4.5 m/s
23. รังสีในขอใดที่มีอํานาจในการทะลุลวงผานเนื้อสารไดนอยที่สุด
1. รังสีแอลฟา 2. รังสีบีตา 3. รังสีแกมมา 4. รังสีเอกซ
24. A, B และ C เปนแผนวัตถุ 3 ชนิดที่ทําใหเกิดประจุไฟฟาโดยการถู ซึ่งไดผลดังนี้
A และ B ผลักกัน สวน A และ C ดูดกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. A และ C มีประจุบวก แต B มีประจุลบ 2. A และ C มีประจุลบ แต A มีประจุบวก
3. A และ B มีประจุบวก แต C มีประจุลบ 4. A และ C มีประจุลบ แต B มีประจุบวก
25. ขอใดเปนการเรียงลําดับคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากความยาวคลื่นนอยไปมากที่ถูกตอง
1. รังสีเอกซ อินฟราเรด ไมโครเวฟ 2. อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีเอกซ
3. รีงสีเอกซ ไมโครเวฟ อินฟราเรด 4. ไมโครเวฟ อินฟราเรด รังสีเอกซ
26. คลื่นใดตอไปนี้ เปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ก. คลื่นแสง ข. คลื่นเสียง ค. คลื่นผิวนํ้า
คําตอบที่ถูกตองคือ
1. ทั้ง ก ข และ ค 2. ขอ ข และ ขอ ค
3. ขอ ก เทานั้น 4. ผิดทุกขอ
27. ชาวประมงสงคลื่นโซนารไปยังฝูงปลา พบวาชวงเวลาที่คลื่นออกไปจากเครื่องสงจนกลับมาถึงเครื่องเปน 1.0 วินาทีพอดี จงหา
วาปลาอยูหางจากเรือเทาใด (กําหนดใหความเร็วของคลื่นในนํ้าเปน 1,540 เมตรตอวินาที)
1. 260 m 2. 520 m 3. 770 m 4. 1,540 m
28. คารบอนเปนธาตุที่เปนสวนสําคัญของสิ่งมีชีวิต สัญลักษณนิวเคลียส 12
C แสดงวานิวเคลียสของคารบอนนี้มีอนุภาคตามขอใด
1. โปรตอน 12 ตัว นิวตรอน 6 ตัว 2. โปรตอน 6 ตัว อิเล็กตรอน 6 ตัว
3. โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 12 ตัว 4. โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 6 ตัว
29. ธาตุที่มีเลขอะตอมตอไปนี้ มีสิ่งใดเหมือนกัน
1 3 11 19 37
1. เปนอโลหะเหมือนกัน 2. มีจํานวนอนุภาคมูลฐานเทากัน
3. อยูในระดับพลังงานเดียวกัน 4. มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน
30. เมื่อนําชิ้นสังกะสีใสในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีทําใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น โดยไมเพิ่มปริมาณสังกะสีและกรดตอไปนี้
ก. ใชแทงแกวคนใหทั่ว ข. ใชผงสังกะสีนํ้าหนักเทากันแทนชิ้นสังกะสี
ค. ใหความรอน ง. เติมนํ้ากลั่นลงไปเทาตัว
ขอใดถูก
1. ก ข และ ค เทานั้น 2. ข ก และ ง เทานั้น
3. ก ค และ ง เทานั้น 4. ก ข ค และ ง
6
7
31. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. แกสโซฮอลเปนสารผสมระหวางเมทานอลและนํ้ามันเบนซิน
ข. กาซหุงตม หรือ LPG เปนกาซผสมระหวางโพรเพนและบิวเทน
ค. กาซธรรมชาติจัดเปนพลังงานสะอาดเพราะสามารถเกิดการเผาไหมไดสมบูรณ
ขอใดถูก
1. ก และ ข เทานั้น 2. ก และ ค เทานั้น
3. ข และ ค เทานั้น 4. ทั้ง ก ข และ ค
32. ขอใดเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. การผลิตสบู ข. การเหม็นหื่นของนํ้ามันเมื่อทิ้งไวนาน ๆ
ค. การผลิตนํ้าอัดลมและนํ้าโซดา ง. บมมะมวงดิบจนเปนมะมวงสุก
1. ก ข และ ค 2. ข ค และ ง
3. ก ข และ ง 4. ก ค และ ง
33. เมื่อทดลองแชขวดนํ้ามัน A และขวดนํ้ามัน B ในตูเย็น 1 คืน พบวา นํ้ามัน A แข็งตัว แตนํ้ามัน B ยังเปนของเหลว
พิจารณาขอสรุปตอไปนี้
ขอใดถูก
1. ก เทานั้น ข. ข และ ค เทานั้น
3. ก และ ค เทานั้น ง. ทั้ง ก ข และ ค
34. ไขขาว เนื้อ ไก และหอยนางรม ในขอตอไปนี้ ขอใดที่โปรตีนไมถูกทําลายหรือแปลงสภาพ
1. ไขขาวดิบที่คนไขกลืนเขาไปเพื่อขจัดยาพิษ
2. เนื้อที่แชไวในตูเย็นเพื่อแกงใสบาตร
3. ไกที่ทอดจนเหลือกรอบจะปลอดภัยจากไขหวัดนก
4. หอยนางรมบีบมะนาวเปนอาหารโปรดของมนัส
35.
ถานักเรียนตองดูแลคนไขที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวา 110 mg ตอ 100 cm3
ของเลือด และมีความดันสูง นักเรียนไมควร
ใหอาหารชนิดใดกับคนไข
1. A เทานั้น 2. C เทานั้น 3. A และ D 2. B และ C
36. ขอใดเปนพอลิเมอรธรรมชาติทั้งหมด
1. แปง เซลลูโลส พอลิสไตรีน 2. โปรตีน พอลิไอโซพรีน กรดนิวคลิอิก
3. ยางพารา พอลิเอทิลีน เทฟลอน 4. ไกลโคเจน ไขมัน ซิลิโคน
นํ้ามัน A นํ้ามัน B
ก มีจุดหลอมเหลวตํ่า มีจุดหลอมเหลวสูง
ข มีกรดไขมันอิ่มตัวมาก มีกรดไขมันไมอิ่มตัวมาก
ค เหม็นหืนยาก เหม็นหืนงาย
ชนิดของ สารละลายไอโอดีน สารละลายเบเนดิกต สารละลาย NaOH
สารอาหาร ผสมกับ CuSO4
A สีนํ้าเงิน ตะกอนสีแดงอิฐ สีฟา
B สีนํ้าตาลอมเหลือง สีฟา สีมวง
C สีนํ้าเงิน สีฟา สีฟา
D สีนํ้าตาลอมเหลือง ตะกอนสีแดงอิฐ สีฟา
8
37. ชั้น “ฐานธรณีภาค” อยูตรงสวนใดของโครงสรางโลก
1. ชั้นเปลือกโลก 2. ชั้นเนื้อโลก
3. รอยตอชั้นเปลือกโลกกับชั้นเนื้อโลก 4. รอยตอชั้นเนื้อโลกกับชั้นแกนโลก
38. เทือกเขาหิมาลัย เกิดจากปรากฏการณทางธรณีภาคแบบใด
1. การเกิดแผนดินไหว 2. การชนกันของแผนเปลือกโลก
3. การแยกตัวของแผนเปลือกโลก 4. การระเบิดของภูเขาไฟ
39. ประเทศไทยจะไดรับผลจากการแผนดินไหว อันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผนธรณีภาคคูใดมากที่สุด
1. แผนยูเรเซียกับแผนแปซิฟก 3. แผนแปซิฟกกับแผนนาสกา
2. แผนยูเรเซียกับแผนอินเดีย 4. แผนแอนตารกติกากับแผนออสเตรเลีย-อินเดีย
40. ซากดึกดําบรรพสวนใหญจะพบอยูในหินชนิดใด
1. หินแปร 2. หินอัคนี
3. หินซิสต 4. หินตะกอน
41. ตามวิวัฒนาการของดวงอาทิตย ในชวงทายที่สุดจะเปนอะไร
1. ดาวแคระดํา 2. ดาวแคระขาว
3. หลุมดํา 4. ดาวนิวตรอน
42. ดาวฤกษในขอใด ที่มีอุณหภูมิของผิวดาวตกตํ่าที่สุด
1. มีแสงสีนํ้าเงิน 2. มีแสงสีเหลือง
3. มีแสงสีแดง 4. มีแสงสีสม
43. ดาวเคราะหใดตอไปนี้อยูใกลดวงอาทิตยมากกวาดวงอื่น
1. ดาวพฤหัสบดี 2. ดาวศุกร
3. ดาวเสาร 4. ดาวเนปจูน
44. ดาวศุกรเมื่อสวางนอยที่สุดมีความสวาง -3.5 ดาวซีรีอุสมีอันดับความสวาง -1.5 ดาวศุกรมีความสวางมากกวาดาวซีรีอุสกี่เทา
1. 2.5 2. 3.0
3. 6.25 4. 15.6
45. ดาวพฤหัสบดีมีองคประกอบหลักเปนอะไร
1. เหล็ก 2. ไฮโดรเจนและฮีเลียม
3. หิน 4. แอมโมเนีย
10
4. กรดนิวคลีอิก ( C H O N P ) มีหนวยยอย เรียกวา นิวคลีโอไทด
DNA ประกอบดวย นิวคลีโอไทด มาเชื่อมตอกันเกิดเปนสายยาว 2 สายพัน กันเปนเกลียว โดยเกาะกันดวยคูไนโตรเจนเบสที่
เฉพาะเจาะจง คือ อะดีนีน (A) กับ ไทมีน (T) กวานีน (G) กับ ไซโตซีน (C)
บทที่ 2 ปโตรเลียม
เกิดจาก ซากพืชซากสัตวที่ตายทับถม แลวถูกยอยสลาย เกิดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน
2.1 นํ้ามันปโตรเลียม ประเทศไทยพบครั้งแรกที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม และตอมาพบที่ อ.ลานกระบือ จ.กําแพงเพชร
การกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม เรียกวา การกลั่นลําดับสวน โดยใชความรอน 350-400 o
C จะไดผลิตภัณฑ เรียงตามลําดับจาก
จุดเดือดตํ่าไปสูง ดังนี้
มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เบนซิน กาด ดีเซล หลอลื่น เตา ไข ยางมะตอย
2.2 กาซธรรมชาติ ประเทศไทยพบบริเวณอาวไทยและมีมากในเชิงพาณิชย และพบที่ อ.นํ้าพอง จ.ขอนแกน
สวนใหญเปนกาซมีเทน รอยละ 80-95
ปฏิกิริยาการเผาไหม คือ ปฏิกิริยาระหวางสารไฮโดรคารบอนกับกาซออกซิเจน แบงเปน
- การเผาไหมที่สมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2
มากเพียงพอ จะได CO2
และ H2
O ซึ่งจะไมมีเถาถาน และเขมา
- การเผาไหมไมสมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2
นอย จะได CO ซึ่งจะไปจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ทําใหรางกายเกิด
การขาดออกซิเจน อาจเกิดอาการหนามืด เปนลมหรือเสียชีวิตได
2.3 เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน
- กาซมีเทน(CH4
) ใชในการผลิตกระแสไฟฟา ใชในรถปรับอากาศเครื่องยนตยูโร-2
- กาซหุงตม ประกอบดวย กาซโพรเพน (C3
H8
) และกาซบิวเทน (C4
H10
) ที่ถูกอัดดวยความดันสูง จนมีสถานะเปนของเหลว
เรียกวา LPG (Liquid Petroleum Gas)
เลขออกเทน เปนตัวเลขบอกคุณภาพของนํ้ามันเบนซิน โดยกําหนดให
ไอโซออกเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมดี ทําใหเครื่องยนตเดินเรียบ มีเลขออกเทน100
นอรมอลเฮปเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมไมดี ทําใหเครื่องยนตกระตุก มีเลขออกเทน 0
- นํ้ามันดีเซล บอกคุณภาพโดยใชเลขซีเทน
บทที่ 3 พอลิเมอร
คือ สารที่มีขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของสารขนาดเล็ก (มอนอเมอร) จํานวนมาก
3.1 พลาสติก แบงเปน
• เทอรมอพลาสติก มีโครงสรางแบบโซตรงหรือโซกิ่ง ยืดหยุน และโคงงอได เมื่อไดรับความรอนจะออนตัว สามารถ
เปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได เพราะ สมบัติไมมีการเปลี่ยนแปลง
• เทอรมอเซต มีโครงสรางแบบตาขาย มีความแข็งแรงมาก เมื่อไดรับความรอนจะไมออนตัว แตจะเกิดการแตกหัก ไม
สามารถเปลี่ยนรูปรางได เพราะ สมบัติมีการเปลี่ยนแปลง
3.2 ยาง แบงเปน
• ยางธรรมชาติ เกิดจากมอนอเมอร คือ ไอโซพรีน รวมตัวกันเปนพอลิไอโซพรีน ดังนี้
มีความยืดหยุน ทนตอแรงดึงทนตอการขัดถู ทนนํ้า นํ้ามันพืชและสัตว แตไมทนนํ้ามันเบนซินและตัวทําละลายอินทรีย เมื่อไดรับความ
เย็นจะแข็งและเปราะ แตเมื่อไดรับความรอนจะออนตัวและเหนียว
• ยางสังเคราะห (ยางเทียม) เชน
: ยาง IR (Isoprene Rubber) มีโครงสรางเหมือนยางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนนอย คุณภาพสมํ่าเสมอ
: ยาง SBR (Styrene - Butadiene Rubber) ทนตอการขัดถูแตไมทนตอแรงดึง ใชทําพื้นรองเทา สายยาง
บทที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี
เกิดจาก สารเริ่มตน เขาทําปฏิกิริยากัน แลวทําใหเกิดสารใหม เรียกวา ผลิตภัณฑ
4.1 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน
- ปฏิกิริยาการเผาไหมของถานหิน จะมีกํามะถัน(S) เมื่อเผาไหมกํามะถันจะทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนทําใหเกิดกาซ
ซัลเฟอรไดออกไซดและเมื่อทําปฏิกิริยากับนํ้าฝน ทําใหเกิดกรดกํามะถัน/กรดซัลฟวริก (ฝนกรด)
- การเผาไหมเชื้อเพลิงในเครื่องยนต จะเกิดกาซ NO2
กลายเปนฝนกรดไนตริกได
- ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (Fe2
O3
) เกิดจาก ปฏิกิริยาระหวางเหล็กกับกาซออกซิเจน
- ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (ผงฟู)ดวยความรอนจะไดกาซ CO2
และ H2
O
- สารไฮโดรเจนเปอรออกไซด เมื่อไดรับแสงและความรอน จะสลายตัว ดังนั้น จึงตองเก็บไวในที่มืด
- ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3
) ดวยความรอน ไดปูนขาว (CaO) ใชในการผลิตปูนซีเมนต
- ปฏิกิริยาระหวางหินปูนกับกรดไนตริก / กรดซัลฟวริก ทําใหสิ่งกอสรางสึกและเกิดหินงอกหินยอย
11
บทที่ 5 ธาตุและสารประกอบ
พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมของธาตุ โดยแบงเปน
- พันธะไอออนิก : เกิดจากโลหะกับอโลหะ เชน NaCl CaO
- พันธะโควาเลนซ : เกิดจากอโลหะกับอโลหะ เชน H2
Cl2
CO2
CH4
ธาตุหมู 1A และ 2A เปนโลหะ เปนของแข็ง จุดเดือด / จุดหลอมเหลวสูง นําไฟฟาได
ธาตุหมู 1A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 1 จึงหลุดออกงาย ทําใหมีประจุ +1 เชน Na+
มีความวองไวตอปฏิกิริยาสูงมาก ลุกไหมไดอยางรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยากับนํ้ารุนแรง
ธาตุหมู 2A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 2 จึงสูญเสียไดงาย ทําใหมีประจุ +2 เชน Mg2+
ธาตุหมู 7A (Halogen) เปนอโลหะ อยูเปนโมเลกุลมี 2 อะตอม เชน F2
Cl2
Br2
I2
At2
• มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 7 จึงสามารถรับอิเล็กตรอนไดอีก 1 กลายเปนไอออนประจุ -1
• มีความวองไวตอปฏิกิริยาเคมีมาก
ธาตุหมู 8A เปนอโลหะ มีสถานะเปนกาซ อยูเปนอะตอมอิสระ : He Ne Ar Kr Xe Rn
• มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 8 จึงมีความเสถียรมาก ไมวองไวตอปฏิกิริยาเคมี จึงเรียกวา กาซเฉื่อย
โลหะแทรนซิชัน เปนโลหะ มีสมบัติกายภาพเหมือนโลหะหมู 1A / 2A แตสมบัติเคมีแตกตางกัน
ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคลายโลหะและบางประการคลายอโลหะ เชน
อะลูมิเนียม (Al) มีความหนาแนนตํ่า จึงแข็งแรงแตนํ้าหนักเบา นําไฟฟา/ความรอนดี เชน
บอกไซด :ใชทําโลหะอะลูมิเนียม อุปกรณไฟฟา เครื่องครัว หออาหาร
คอรันดัม หรือ อะลูมิเนียมออกไซด : ทําอัญมณีที่มีสีตามชนิดของโลหะแทรนซิชัน
สารสม (Al(SO4
)2
. 12H2
O) : ใชในการทํานํ้าประปาหรือกวนนํ้าใหตกตะกอน
ซิลิกอน (Si) - อะตอมยึดตอกันดวยพันธะโคเวเลนซ ในรูปโครงผลึกรางตาขาย เปนสารกึ่งตัวนํา ใชทําแผงวงจรไฟฟาและ
อุปกรณไฟฟา
ธาตุกัมมันตรังสี คือ ไอโซโทปของธาตุที่มีนิวตรอนตางจากโปรตอนมากๆ ทําใหไมเสถียร จึงสลายตัว โดยปลดปลอยรังสีออก
มา ซึ่งตรวจหาและวัดรังสี โดยใชไกเกอรมูลเลอรเคานเตอร
การเคลื่อนที่และพลังงาน
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ แบงเปน 4 ประเภท ดังนี้
1.1 การเคลื่อนที่แนวตรง : เปนการเคลื่อนที่ ที่ไมมีการเปลี่ยนทิศทาง
การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวระดับ
• อัตราเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางระยะทางกับเวลา
• ความเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางกระจัดกับชวงเวลา ( กระจัด คือ ระยะทางที่สั้นที่สุด)
• ความเรง หาไดจาก ความเร็วที่เปลี่ยนไปกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง (เมตรตอวินาที 2 )
การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง ภายใตแรงโนมถวงของโลก (แนวดิ่ง)
ใชสูตร V = U + g t
1.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล : เปนการเคลื่อนที่เปนเสนโคงพาราโบลา
เชน การโยนของจากเครื่องบิน การโยนลูกบาสเกตบอลเขาหวง การขวางกอนหิน การยิงธนู การตีลูกกอลฟ
1.3 การเคลื่อนที่แบบวงกลม : เกิดจากเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลม
เชน การเหวี่ยงหมุนของบนศีรษะ การเลี้ยวของรถ การขี่มอเตอรไซดไตถัง การโคจรของดวงดาว
1.4 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย : เปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ซํ้าทางเดิมในแนวดิ่ง โดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งจะ
มีคาคงที่เสมอ เชน การแกวงของชิงชา การแกวงของลูกตุมนาฬกา
บทที่ 2 สนามของแรง คือ บริเวณที่มีแรงกระทําตอวัตถุ แบงเปน 3 ประเภท
2.1 สนามแมเหล็ก คือ บริเวณที่มีแรงแมเหล็กกระทํา จะมีทิศจากขั้วเหนือไปยังขั้วใตของแทงแมเหล็ก
เมื่อใหกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดตัวนํา ที่วางตัด(ตั้งฉาก)กับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะมีแรงแมเหล็กกระทํา ทําใหขด
ลวดตัวนําเคลื่อนที่ได นําไปใชสรางมอเตอรไฟฟา
กรณีตรงขาม ถาหมุนขดลวดตัวนําใหตั้งฉากกับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้น เรียกวา กระแส
ไฟฟาเหนี่ยวนํา ซึ่งคนพบโดย ไมเคิล ฟาราเดย และนําไปสรางเครื่องกําเนิดไฟฟา สนามแมเหล็กโลก โลกเสมือนมีแมเหล็กฝงอยู
ใตโลก โดยขั้วโลกเหนือ ทําหนาที่เปน ขั้วใตของแมเหล็ก ขั้วโลกใต ทําหนาที่เปน ขั้วเหนือของแมเหล็ก ทําหนาที่ เปนโลปองกันลม
สุริยะ
2.2 สนามไฟฟา คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟา กระทํา จะมีทิศจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของขั้วไฟฟา
- อนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบ
12
- อนุภาคที่มีประจุลบ (อิเล็กตรอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปยังขั้วบวก
หลักการนี้นําไปใชในการทําเครื่องกําจัดฝุน โดยเมื่อฝุนละอองผานเขาไปในเครื่อง ฝุนเล็กๆ จะรับประจุไฟฟาลบจาก
ขั้วลบของเครื่อง และจะถูกดูดติดแนนโดยแผนขั้วบวกของเครื่อง
2.3 สนามโนมถวง คือ บริเวณที่มีแรงโนมถวงกระทํา ทําใหเกิดแรงดึงดูดวัตถุ พุงเขาสูศูนยกลางโลก
ณ ผิวโลก แรงโนมถวงมีคา 9.8 นิวตันตอ กิโลกรัม แตจะมีคาลดลงไปเรื่อยๆ เมื่ออยูในระดับสูงขึ้นไปจากผิวโลกเรื่อยๆ
แรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ ก็คือ นํ้าหนักของวัตถุบนโลก (weight)
บทที่ 3 คลื่น แบงเปน 2 ประเภท
3.1 คลื่นกล คือ คลื่นที่เดินทางไดตองอาศัยตัวกลาง แบงเปน
สมบัติของคลื่น มี 4 ประเภท
• การสะทอน : เกิดจากการที่คลื่นไป แลวกลับสูตัวกลางเดิม เชน คางคาวและปลาโลมา โดยการสงคลื่นเสียง (Ultra-
sound) ออกไป แลวรับคลื่นที่สะทอนกลับมา
• การหักเห : เกิดจากการที่คลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางที่มีสมบัติตางกัน ทําใหทิศทางเบี่ยงเบน เนื่องจาก
อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป เชน บางครั้งเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง
• การเลี้ยวเบน : เกิดจากการที่คลื่นปะทะสิ่งกีดขวาง แลวแผกระจายไปตามขอบ เชน การที่เราเดินผานมุมอาคารเรียน
หรือมุมตึก จะไดยินเสียงตางๆจากอีกดานหนึ่งของอาคาร
• การแทรกสอด : เกิดจากการที่คลื่นสองขบวนเคลื่อนที่เขาหากัน ทําใหเกิดบริเวณสงบนิ่งและบริเวณที่สั่นสะเทือนมาก
ธรรมชาติของเสียง มี 3 ประเภท
• ระดับเสียง ขึ้นอยูกับ ความถี่ของเสียง
- หูของคนสามารถรับรูคลื่นเสียงในชวงความถี่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ
เสียงที่มีความถี่ตํ่ากวา 20 เฮิรตซ เรียกวา อินฟราซาวนด (infrasound)
เสียงที่มีความถี่สูงกวา 20,000 เฮิรตซ เรียกวา อัลตราซาวนด (ultrasound)
• ความดัง ขึ้นอยูกับ แอมพลิจูด จะวัดเปนระดับความเขมเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล ดังนี้
- เสียงคอยที่สุดที่เริ่มไดยิน มีระดับความเขมเสียงเปน 0 เดซิเบล
- เสียงดังที่สุดที่ไมเปนอันตรายตอหู มีระดับความเขมเสียงเปน 120 เดซิเบล
องคการอนามัยโลก กําหนดวา ระดับความเขมเสียงที่ปลอดภัยตองไม เกิน 85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกินวันละ 8
ชั่วโมง ถาเกินกวานี้ จะถือวาเปนมลภาวะของเสียง
คุณภาพเสียง คือ คุณลักษณะเฉพาะตัวของเสียง (ไมไดแปลวาเสียงดี หรือไมดี ) ขึ้นอยูกับ รูปรางของคลื่น ชวยระบุแหลง
กําเนิดเสียงที่แตกตางกัน ทําใหเสียงที่ไดยินวาเปนเสียงอะไร
3.2 คลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ คลื่นที่สามารถเคลื่อนที่ได โดยไมอาศัยตัวกลาง มี 7 ชนิด ดังนี้
แกมมา เอกซ อัลตราไวโอเลต แสง อินฟราเรด ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ
พลังงานมาก -------------------------------------------------------------------------> พลังงานนอย
ความยาวคลื่นนอย ------------------------------------------------------------------> ความยาวคลื่นมาก
คลื่นแมเหล็กไฟฟา จะเคลื่อนที่ในสุญญากาศดวยความเร็วเทากัน คือ 3 x 108
เมตร/วินาที
คลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่ใชประโยชนมากในชีวิตประจําวัน คือ คลื่นวิทยุ มี 2 ระบบ คือ
- ระบบเอเอ็ม (AM : Amplitude Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหแอมพลิจูดเปลี่ยนแปลง แตความถี่คงที่ สง
กระจายเสียงดวยความถี่ 530-1,600 กิโลเฮิรตซ
- ระบบเอฟเอ็ม (FM : Frequency Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหความถี่เปลี่ยนแปลง แตแอมพลิจูดคงที่ สง
กระจายเสียงดวยความถี่ 88-108 เมกะเฮิรตซ
บทที่ 4 กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร
4.1 กัมมันตภาพรังสี แบงเปน 3 ชนิด
รังสีแกมมา (γ) เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่มีความยาวคลื่นสั้น มีอํานาจทะลุผานมาก กั้นไดใชตะกั่ว
รังสีบีตา (β) เปนอิเล็กตรอน สามารถกั้นไดโดยใชแผนอะลูมิเนียม
รังสีแอลฟา (α) เปนนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ( 2
He) สามารถทําใหสารเกิดการแตกตัวเปนไอออนไดดี มีอํานาจทะลุผาน
นอยมาก สามารถกั้นไดโดยใชกระดาษ
4.2 พลังงานนิวเคลียร แบงเปน 2 ประเภท
ฟชชัน ฟวชัน
- ใหญ ----> เล็ก - เล็ก ----> ใหญ
- ควบคุมได - ควบคุมไมได
- เกิดลูกโซ - ไมเกิดลูกโซ
- พลังงานนอย - พลังงานมาก
4
13
โลก ดาราศาสตร และอวกาศ
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.1 โครงสรางโลก แบงตามลักษณะมวลสาร ได 3 ชั้น คือ
1. ชั้นเปลือกโลก แบงเปน 2 บริเวณ คือ
• ภาคพื้นทวีป ประกอบดวย ซิลิกาและอะลูมินา
• ใตมหาสมุทร ประกอบดวย ซิลิกาและแมกนีเซีย
2. ชั้นเนื้อโลก มีความลึก 2,900 กิโลเมตร แบงเปน 3 สวน คือ
• สวนบน เปนหินที่เย็นตัว ชั้นเนื้อโลกสวนบนรวมกับชั้นเปลือกโลก เรียกวา ชั้นธรณีภาค
• ชั้นฐานธรณีภาค เปนชั้นของหินหลอมละลายหรือหินหนืด ที่เรียกวา แมกมา
• ชั้นลางสุด เปนชั้นของแข็งรอนที่แนนและหนืด
3. ชั้นแกนโลก แบงเปน 2 สวน คือ
• แกนโลกชั้นนอก เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของเหลวรอน
• แกนโลกชั้นใน เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของแข็ง
1.2 ปรากฏการณทางธรณีวิทยา
แนวรอยตอที่ทําใหเกิดแผนดินไหว มี 3 แนว คือ
1. แนวรอยตอรอบมหาสมุทรแปซิฟก เกิดแผนดินไหวรุนแรงและมากที่สุด ( 80% ) เรียกวา วงแหวนแหงไฟ ไดแก ญี่ปุน
ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก
2. แนวรอยตอภูเขาแอลปในยุโรปและภูเขาหิมาลัยในเอเซีย เกิดแผนดินไหว (15%) โดยจะเกิดระดับตื้นและปานกลาง
ไดแก พมา อัฟกานิสถาน อิหราน ตุรกี และทะเลเมดิเตอรเรเนียน
3. แนวรอยตอบริเวณสันกลางมหาสมุทรตางๆ ของโลก (5%) ไดแก บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรอินเดียและอารกติก โดยจะเกิดแผนดินไหวในระดับตื้น
ภูเขาไฟ แบงเปน 2 รูปแบบ ดังนี้
• เกิดจาก การปะทุของแมกมา จะมีสัญญาณบอกเหตุลวงหนา เชน แผนดินไหว และมีเสียงคลายฟารอง ซี่งเมื่อพนออก
มา เรียกวา ลาวา คุพุงเหมือนนํ้าพุรอน เมื่อเย็นตัวกลายเปน หินบะซอลต ซึ่งมีรูพรุน
• เกิดจาก การระเบิดของแมกมาที่มีกาซ ซึ่งจะแยกเปนฟองเหมือนนํ้าเดือดและขยายตัวจนระเบิดอยางรุนแรง พนเศษ
หิน ผลึกแร เถาภูเขาไฟ และเมื่อเย็นตันเปนหิน เรียกวา หินตะกอนภูเขาไฟ ซึ่งเรียกชื่อตามขนาดและชิ้นสวนที่พนออกมา เชน หิน
ทัฟฟ หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ หินกรวดมนภูเขาไฟ
บทที่ 2 ธรณีภาค
2.1 แผนธรณีภาคและการเคลื่อนที่
ป พ.ศ.2458 ดร.อัลเฟรด เวกาเนอร นักอุตุนิยมวิทยา ชาวเยอรมัน ไดตั้งสมมติฐานวา
“ผืนแผนดินทั้งหมดบนโลกแตเดิมเปนแผนดินผืนเดียวกัน เรียกวา พันเจีย เมื่อ 200 - 135 ลานปที่แลว แยกออกเปน 2
ทวีปใหญ คือ ลอเรเซียทางตอนเหนือและกอนดวานาทางตอนใต และเมื่อ 135-65 ลานปที่แลว ลอเรเซียเริ่มแยกเปนอเมริกาเหนือ
และแผนยูเรเซีย (ยุโรป+เอเชีย) กอนดวานาจะแยกเปน อเมริกาใต แอฟริกา ออสเตรเลีย แอนตารกติกา และอินเดีย
แผนธรณีภาคมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ดังนี้
1. ขอบแผนธรณีภาคแยกออกจากกัน
เกิดจาก การดันตัวของแมกมา ทําใหเกิดรอยแตก จนแมกมาถายโอนความรอนได ทําใหอุณหภูมิและความดันลดลง
ทําเปลือกโลกทรุดตัวกลายเปนหุบเขาทรุด ตอมามีนํ้าไหลมาสะสมเปนทะเล และเกิดเปนรองลึก แมกมาจึงแทรกดันขึ้นมา สงผลให
แผนธรณีเคลื่อนตัวแยกออกไปทั้งสองขาง เกิดการขยายตัวของพื้นทะเล
2. ขอบแผนธรณีภาคเคลื่อนเขาหากัน มี 3 แบบ คือ
- แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคใตมหาสมุทร ทําใหแผนหนึ่งมุดลงใตอีกแผนหนึ่ง ปลายของแผนที่
มุดลงจะหลอมกลายเปนแมกมา และปะทุขึ้นมา ทําใหเกิดเปนแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร
- แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ทําใหแผนธรณีภาคใตมหาสมุทรซึ่งหนักกวามุดลงขาง
ลาง เกิดเปนแนวภูเขาไฟชายฝง เชน อเมริกาใต (แอนดีส)
- แผนธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ซึ่งทั้งสองแผนมีความหนามาก ทําใหแผนหนึ่งมุดลงแต
อีกแผนหนึ่งเกยขึ้นเกิดเปนเทือกเขาเปนแนวยาวอยูกลางทวีป เชน เทือกเขาหิมาลัย แอลป
14
บทที่ 3 ธรณีประวัติ
3.1 อายุทางธรณีวิทยา แบงเปน 2 แบบ
- อายุสัมบูรณ เปนอายุของหินหรือซากดึกดําบรรพที่สามารถบอกจํานวนปที่แนนอน ซึ่งคํานวณไดจากครึ่งชีวิตของธาตุ
กัมมันตรังสี ไดแก ธาตุ C-14 K-40
- อายุเปรียบเทียบ ใชบอกอายุของหิน วาหินชุดใดมีอายุมากหรือนอยกวากัน โดยอาศัยขอมูลจากซากดึกดําบรรพที่ทราบ
อายุแนนอน ลักษณะลําดับชั้นหินและโครงสรางของชั้นหิน
3.2 ซากดึกดําบรรพ คือ ซากและรองรอยของสิ่งมีชีวิต ที่ตายทับถมอยูในชั้นหินตะกอน
พืชและสัตวที่จะเปลี่ยนสภาพเปนซากดึกดําบรรพไดตองมีโครงรางที่แข็ง เพื่อวาแรธาตุตางๆ จะสามารถแทรกซึมเขาไป
ในชองวางนั้นได ทําใหทนทานตอการผุพังและตองถูกฝงกลบอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตชะลอการสลายตัว โดยซากของ
สัตวทะเลจะพบมากที่สุด เพราะวาเมื่อจมลงจะถูกโคลนและตะกอนเม็ดละเอียดทับถม ซึ่งตะกอนละเอียดจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตเสีย
หายนอยที่สุด
ประเทศไทยพบซากดึกดําบรรพ เชน ซากไดโนเสาร พบครั้งแรกที่ อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน เปนไดโนเสารเดิน 4 เทา มี
คอ-หาง ยาว กินพืชเปนอาหาร ตั้งชื่อวา “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน”
- รองรอยของสิ่งมีชีวิตที่พิมพรอยอยูในตะกอนที่แข็งตัวเปนหิน เชน รอยเทาไดโนเสารที่ภูหลวง จ.เลย และที่ภูแฝก
จ.กาฬสินธุ หรือรอยเปลือกหอยตาง ๆ
นอกจากนี้ ยังมีซากดึกดําบรรพที่ไมกลายเปนหิน เชน ซากชางแมมมอธ ซากแมลงในยางไมหรืออําพัน
บทที่ 4 เอกภพ
4.1 กําเนิดเอกภพ ทฤษฏีกําเนิดเอกภพ “บิกแบง” (Big Bang) กลาววา
เมื่อเกิดการระเบิดใหญ ทําใหพลังงานเปลี่ยนเปนสสาร เนื้อสารที่เกิดขึ้นจะในรูปของอนุภาคพื้นฐานชื่อ ควารก อิเล็กตรอน
นิวทริโน และโฟตอน
เมื่อเกิดอนุภาคจะเกิดปฏิอนุภาคที่มีประจุตรงขาม เมื่ออนุภาคพบปฏิอนุภาคชนิดเดียวกัน จะหลอมสลายเปนพลังงานจน
หมด แตในธรรมชาติมีอนุภาคมากกวาปฏิอนุภาค จึงทําใหยังมีอนุภาคเหลือ
หลังบิกแบง 10-6
วินาที อุณหภูมิจะลดลงเปนสิบลานลานเคลวิน ทําใหควารกรวมตัวกลายเปนโปรตอน (นิวเคลียสของ
ไฮโดรเจน) และนิวตรอน
หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิจะลดลงเปนรอยลานเคลวิน เกิดการรวมตัวเปนนิวเคลียสของฮีเลียม
หลังบิกแบง 300,000 ป อุณหภูมิจะลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียม จะดึงอิเล็กตรอนเขา
มา ทําใหเกิดเปนอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม
หลังบิกแบง 1,000 ลานป จะเกิดกาแล็กซีตางๆ โดยภายในกาแล็กซีจะมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเปนสารเบื้องตน ในการ
กําเนิดเปนดาวฤกษรุนแรก ๆ
ขอสังเกตและประจักษพยาน ที่สนับสนุนทฤษฏีบิกแบง
1. การขยายตัวของเอกภพ คนพบโดยฮับเบิล นักดาราศาสตรชาวอเมริกา
2.อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ ปจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน
นักดาราศาสตร แบงกาแล็กซี ออกเปน 4 ประเภท
1. กาแล็กซีกังหันหรือสไปรัล เชน กาแล็กซีทางชางเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซี M -81 (M ยอมาจาก
เมสสิแอร (Messier) เปนนักลาดาวหางชาวฝรั่งเศส)
2. กาแล็กซีกังหันมีแกนหรือบารสไปรัล
เชน กาแล็กซี NGC – 7479 (NGC ยอมาจาก The New General Catalogue)
3. กาแล็กซีรูปไข เชน กาแล็กซี M–87
4. กาแล็กซีไรรูปทรง เชน กาแล็กซีแมกเจลเเลนใหญ
บทที่ 5 ดาวฤกษ
เปนกอนกาซรอนขนาดใหญ มีองคประกอบสวนใหญ เปนธาตุไฮโดรเจน
5.1 วิวัฒนาการของดาวฤกษ
• ดาวฤกษที่มีมวลนอย เชน ดวงอาทิตย ใหแสงสวางนอย จึงมีการใชเชื้อเพลิงนอย ทําใหมีชวงชีวิตยาว และจบชีวิตลง
โดยไมมีการระเบิด แตจะกลายเปนดาวแคระ
• ดาวฤกษที่มีมวลมาก จะมีขนาดใหญ ใหแสงสวางมาก จึงมีการใชเชื้อเพลิงมาก ทําใหมีชวงชีวิตสั้น และจบชีวิตลงดวย
การระเบิดอยางรุนแรง เรียกวา ซูเปอรโนวา (supernova)
หลังจากนั้น ดาวที่มีมวลมาก จะกลายเปนดาวนิวตรอน ดาวที่มีมวลสูงมาก ๆ จะกลายเปนหลุมดํา
กําเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย
1. เมื่อเนบิวลายุบตัว ที่แกนกลางจะมีอุณหภูมิสูงเปนแสนองศาเซลเซียส เรียกวา “ดาวฤกษกอนเกิด”
15
2. ปจจุบันที่แกนกลางมีอุณหภูมิสูงเปน 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิด ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร
คือ ปฏิกิริยาหลอมไฮโดรเจน 4 นิวเคลียส กลายเปนฮีเลียม 1 นิวเคลียสและเกิดพลังงานออกมามหาศาล จนทําใหเกิด
สมดุลระหวางแรงโนมถวงกับแรงดันของกาซ เกิดเปนดวงอาทิตย มีสีเหลือง
3. ในอนาคต เมื่อไฮโดรเจนลดลง ทําใหดาวยุบตัวลง ทําใหแกนกลางมีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 100 ลานเคลวิน จนเกิดปฏิกิริยา
เทอรโมนิวเคลียร ที่มีการหลอมฮีเลียม ใหกลายเปนคารบอน
ในขณะเดียวกันรอบนอกของดาว ก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียส ที่มีหลอม
ไฮโดรเจนใหกลายเปนฮีเลียมครั้งใหม
จึงเกิดพลังงานออกมาอยางมหาศาลและทําใหดวงอาทิตยมีขนาดใหญขึ้นเปน 100 เทา และเปลี่ยนจากสีเหลืองเปนสีแดง
เรียกวา ดาวยักษแดง ซึ่งจะปลดปลอยพลังงานออกมามาก ทําใหชวงชีวิตคอนขางสั้น
4. ในชวงทาย แกนกลางจะยุบตัวลงกลายเปนดาวแคระขาว ซึ่งมีขนาดเล็กลงเปน 1 ใน 100
5. ความสวางจะลดลงตามลําดับ และในที่สุดก็จะหยุดสองแสงสวาง กลายเปนดาวแคระดํา (black dwarf)
5.2 ความสวางและอันดับความสวางของดาวฤกษ
• ดาวฤกษที่ริบหรี่ที่สุดที่มองเห็นดวยตาเปลา มีอันดับความสวาง 6
• ดาวฤกษที่สวางที่สุด มีอันดับความสวาง 1
• ดวงอาทิตย มีอันดับความสวาง - 26.7
ถาอันดับความสวางตางกัน x อันดับ จะมีความสวางตางกันประมาณ (2.5)x
เทา
5.3 สีและอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ แบงออกเปน 7 ชนิดหลัก ๆ ดังนี้
• ดาวที่มีอายุนอย จะมีอุณหภูมิผิวสูง มีสีขาว นํ้าเงิน
• ดาวที่มีอายุมาก ใกลถึงจุดสุดทายของชีวิต จะมีอุณหภูมิผิวตํ่า มีสีแดง
O B A F G K M
มวง คราม นํ้าเงิน ขาว เหลือง แสด แดง
บทที่ 6 กําเนิดระบบสุริยะ
นักดาราศาสตร แบงเขตพื้นที่รอบดวงอาทิตย เปน 4 เขต คือ
1. ดาวเคราะหชั้นใน ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก และ ดาวอังคาร
มีขนาดเล็กและมีพื้นผิวแข็งหรือเปนหินแบบเดียวกับโลก
2. แถบดาวเคราะหนอย คือ บริเวณระหวางวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี
เปนเศษที่เหลือจากการพอกพูนเปนดาวเคราะหหิน แลวถูกดึงดูดจากแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีขนาดใหญและเกิดมา
กอน ทําใหไมสามารถจับตัวกันมีขนาดใหญได
3. ดาวเคราะหชั้นนอก หรือ ดาวเคราะหยักษ เปนดาวที่มีขนาดใหญ ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
มีองคประกอบหลัก คือ กาซไฮโดรเจนและฮีเลียมทั้งดวง
ดาวพลูโต เปนดาวเคราะหชั้นนอกที่อยูไกลและเล็กที่สุด มีสมบัติคลายดาวเคราะหนอย
4. เขตของดาวหาง เปนเศษที่เหลือจากดาวเคราะหยักษ มีจํานวนมากอยูรอบนอกระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย : เปนดาวฤกษสีเหลือง ชนิดสเปกตรัม G มีอุณหภูมิผิวประมาณ 6,000 เคลวิน
- แสงสวางที่เปลงออกมา ทําใหเรามองเห็นดาวเคราะหได โดยใชเวลาเดินทาง 8.3 นาที
- ลมสุริยะ ประกอบดวยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน มาจากการแผรังสีของดวงอาทิตย ซึ่งจะมาถึงโลกภายในเวลา
20-40 ชั่งโมง
ซึ่งจะสงผลทําใหเกิดปรากฏการณแสงเหนือ-แสงใต ไฟฟาแรงสูงดับที่ขั้วโลก เกิดการรบกวนวงจรอิเล็กทรอนิกสของ
ดาวเทียม และทําใหเกิดการติดขัดในการสื่อสารของคลื่นวิทยุ
บทที่ 7 เทคโนโลยีอวกาศ
7.1 ดาวเทียมและยานอวกาศ
การสงดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นสูอวกาศ จะตองเอาชนะแรงดึงดูดของโลก ความเร็วมากกวา 7.91 กิโลเมตรตอวินาที
ถาหากจะใหยานอวกาศออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย จะตองใชความเร็วที่ 11.2 กิโลเมตรตอวินาที เรียกวา ความเร็วหลุดพน
พ.ศ. 2446 ไชออลคอฟสกี ชาวรัสเซีย ไดคนควาเกี่ยวกับเชื้อเพลิงในจรวด เสนอวา ใชเชื้อเพลิงเหลว แยกเชื้อเพลิงและ
สารที่ชวยในการเผาไหมออกจากกัน นําจรวดมาตอเปนชั้นๆ จะชวยลดมวลของจรวดลง โดยเมื่อจรวดชั้นแรกใชเชื้อเพลิงหมดก็
ปลดทิ้งไป และใหจรวดชั้นตอไปทําหนาที่ตอ แลวปลดทิ้งไปเรื่อยๆ โดย จรวดชั้นสุดทายที่ติดกับดาวเทียมหรือยานอวกาศ จะตองมี
ความเร็วสูงพอที่จะเอาชนะแรงดึงดูดของโลกได
พ.ศ. 2469 โรเบิรต กอดดารด ชาวอเมริกัน สามารถสรางจรวดเชื้อเพลิงเหลว โดยใชไฮโดรเจนเหลวเปนเชื้อเพลิงและ
ออกซิเจนเหลวเปนสารที่ชวยในการเผาไหม และแยกอยูตางถังกัน
สหภาพโซเวียต สามารถใชจรวดสามทอนสงดาวเทียม ไดเปนประเทศแรก
16
ชีวิตกับสิ่งแวดลŒอม สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต
บทที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลŒอม
โลก มีระบบนิเวศหลากหลายรวมกัน เปนระบบขนาดใหญ เรียกวา ชีวภาค(Biophere) เชน
- บริเวณเสนศูนยสูตร มีอุณหภูมิสูงและแสงแดดมาก ทําใหมีฝนตกชุก เกิดปาฝนเขตรอน
- บริเวณที่สูงหรือตํ่าจากเสนศูนยสูตร เรียกวา เขตอบอุน มีอุณหภูมิและแสงแดดจํากัด จึงไมหลากหลาย
- ขั้วโลกเหนือ เรียกวา เขตทุนดรา มีอุณหภูมิและแสงแดดนอย พื้นนํ้าเปนนํ้าแข็ง มีพืชคลุมดิน
ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดพลังงานจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตาง ๆ โดยจะถายทอดไปเพียง 10% สวนพลังงานอีก 90%
จะถูกใชในการดํารงชีวิต นอกจากนี้ ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดโลหะหนัก จากยาฆาแมลงและสารพิษดวย โดยจะมีปริมาณ
สะสมเพิ่มขึ้นตามลําดับการกินของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่เหมือนกัน คือ
- เยื่อหุมเซลล ทําหนาที่ หอหุมเซลลและควบคุมการผานสารเขา – ออก
- นิวเคลียส เปนศูนยควบคุมการทํางานของเซลลและเปนแหลงเก็บสารพันธุกรรม
- ไมโทคอนเดรีย เปนแหลงผลิตสารพลังงานสูง
- ไรโบโซม ทําหนาที่ สังเคราะหโปรตีน
- รางแหเอนโดพลาซึม ทําหนาที่สังเคราะหและลําเลียงโปรตีน บางสวนสังเคราะหไขมัน
- กอลจิคอมเพล็กซ ทําหนาที่ ปรับเปลี่ยนโปรตีนและไขมัน แลวสงไปยังปลายประสาท
เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่ตางกัน คือ
ในเซลลพืช จะมี
: ผนังเซลล ทําใหเซลลคงรูปรางและมีการเจริญในแนวตั้ง มีโครงสรางหลัก คือ เซลลูโลส
: คลอโรพลาสต ทําหนาที่ สังเคราะหนํ้าตาลโดยใชพลังงานแสง
: แวคิวโอล ทําหนาที่ บรรจุนํ้าและสารชนิดตาง ๆ
ในเซลลสัตว จะมี : ไลโซโซม ทําหนาที่ บรรจุเอนไซมที่มีสมบัติในการยอยสลาย
2.1 การลําเลียงสารผานเซลล มี 4 ประเภท
2.2.1 การแพร คือ การที่สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนสูง ไปสูที่มีความเขมขนตํ่า
ออสโมซิส คือ การแพรของนํ้าผานเยื่อหุมเซลล จากบริเวณที่มีนํ้ามากไปสูนํ้านอย แบงเปน
- ไฮโพโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนตํ่าหรือนํ้ามาก นํ้าจะไหลเขา ทําใหเซลลใหญโดยถาเปนเซลลพืช จะเตง แตเซลล
สัตว จะแตก
- ไฮเพอรโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนสูงหรือนํ้านอย นํ้าจะไหลออก ทําใหเซลลเหี่ยว
- ไอโซโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนเทากับภายในเซลล นํ้าจะไหลเขา = ไหลออก ทําใหเซลลคงเดิม
2.2.2 การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต ( Facilitated Transport)
คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนตํ่า โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล
ซึ่งไมตองอาศัยพลังงาน โดยมีอัตราเร็วมากกวาการแพร
2.2.3 การลําเลียงแบบใชพลังงาน (Active Transport)
คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนตํ่าไปสูบริเวณที่มีความเขมขนสูง โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล
และตองอาศัยพลังงาน
2.2.4 การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล
คือ การลําเลียงสารที่มีขนาดใหญ เชน โปรตีน คารโบไฮเดรต ซึ่งจะไมสามารถผานโปรตีนตัวพาได แตจะใชเยื่อหุมเซลล
โอบลอม ดังนี้
- กระบวนการเอนโดไซโทซิส (Endocytosis) เปนการลําเลียงสารเขาเซลล
- กระบวนการเอกโซไซโทซิส (Exocytosis) เปนการลําเลียงสารออกเซลล
2.2 กลไกการรักษาดุลยภาพ
2.3.1 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืชโดยการคายนํ้าออกที่ปากใบ และการดูดนํ้าเขาทางราก
2.3.2 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในรางกายคน
• เมื่อรางกายเกิดภาวะขาดนํ้า ทําใหเลือดขน มีความดันเลือดตํ่า สมองไฮโพทาลามัสจะกระตุนตอมใตสมองสวนทาย ให
หลั่งฮอรโมนแอนติไดยูเรติก ออกมา เพื่อไปกระตุนใหทอหนวยไตดูดนํ้ากลับคืน
2.3.3 การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรางกายคน
ถารางกายมีระดับเมแทบอลิซึมสูง (ปฏิกิริยาเคมีตางๆในรางกาย) ทําใหเกิดกาซ CO2
มาก เกิดเปนกรดคารบอนิก ซึ่งแตก
ตัวให H+
ออกมา สงผลให pH ในเลือดตํ่าลง หนวยไตจึงทําหนาที่ขับ H+
ออกมาทางปสสาวะ
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx

More Related Content

What's hot

เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1darkfoce
 
15 organic chemistry
15 organic chemistry15 organic chemistry
15 organic chemistryNeung Satang
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkaneTongta Nakaa
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]kaoijai
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 

What's hot (13)

เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
 
15 organic chemistry
15 organic chemistry15 organic chemistry
15 organic chemistry
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
 
Organicpds
OrganicpdsOrganicpds
Organicpds
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 

Similar to Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx

Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51Yam Moo
 
วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51Prapasson Tiptem
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์momaysnail
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์waratchaya603
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์chaikasem
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์Prang Pikawat
 
Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51chonnipha
 
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์603_Suttiruk
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์Siriyakorn Chaimuangchuen
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552Chayagon Mongkonsawat
 

Similar to Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx (20)

Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51
 
O net51-science
O net51-scienceO net51-science
O net51-science
 
2
22
2
 
วิท
วิทวิท
วิท
 
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ 2552
 

Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx

  • 1. 9 สารและสมบัติของสาร บทที่ 1 สารชีวโมเลกุล คือ สารที่มี C และธาตุ H เปนองคประกอบ มีขนาดใหญและพบในสิ่งมีชีวิตเทานั้น มี 4 ประเภท ไดแก 1. ไขมัน และนํ้ามัน ประกอบดวยธาตุ C H O มีหนาที่ดังนี้ ปองกันการสูญเสียนํ้า ชวยทําใหผิวชุมชื้น ปองกันการสูญเสียความรอน ชวยทําใหรางกายอบอุน ชวยใหผมและเล็บมี สุขภาพดี ชวยละลายวิตามิน A D E K (ไขมัน 1 กรัม ใหพลังงาน 9 กิโลแคลอรี ) ไขมัน เปนสารไตรกลีเซอไรด ซึ่งเกิดจากกรดไขมัน 3 โมเลกุล กับ กลีเซอรอล 1 โมเลกุล กรดไขมันไมอิ่มตัว + กาซออกซิเจน ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นหืน แสดงวา นํ้ามันพืช จะเกิดกลิ่นเหม็นหืนไดงาย แตในธรรมชาติจะมีวิตามินE ซึ่งเปนสารตานหืน การผลิตสบู จากปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน ไดจาก การตมไขมันกับเบส (โซเดียมไฮดรอกไซด / NaOH) 2. โปรตีน ( C H O N ) มีหนาที่ ชวยเสริมสรางการเจริญเติบโตและซอมแซมเนื้อเยื่อ ชวยรักษาสมดุลนํ้าและกรด-เบส เปน สวนประกอบของเอนไซม ฮอรโมน เลือด และภูมิคุมกัน (1 กรัม ใหพลังงาน 4 KCal) หนวยยอย คือ กรดอะมิโน มีทั้งหมด 20 ชนิด แบงเปน • กรดอะมิโนที่จําเปน มี 8 ชนิด ซึ่งรางกายสรางไมได ตองกินจากอาหารเขาไป • กรดอะมิโนที่ไมจําเปน มี 12 ชนิด ซึ่งรางกายสามารถสังเคราะหไดเอง การแปลงสภาพโปรตีน คือ การที่ทําใหโครงสรางของโปรตีนถูกทําลาย เชน แข็งตัว เมื่อไดรับความรอน เมื่อไดรับสารละลายกรด-เบส เมื่อไดรับไอออนของโลหะหนัก คุณคาทางชีววิทยา หมายถึง คุณภาพของโปรตีนที่นํามาสรางเปนเนื้อเยื่อได(ไข 100%) 3. คารโบไฮเดรต ( C H O ) มีหนาที่ดังนี้ - เปนแหลงพลังงานหลักของคน (1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี) แบง 3 ประเภท ดังนี้ 3.1 มอโนแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ) แบงเปน • นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C5 H10 O5 เรียกวา ไรโบส • นํ้าตาลที่มีสูตรเปน C6 H12 O6 เชน กลูโคส ฟรุกโตส ( ฟรักโตส ) กาแลกโทส 3.2 ไดแซ็กคาไรด ( นํ้าตาลโมเลกุลคู ) • กลูโคส + กลูโคส = มอลโทส พบในขาว เมล็ดพืช ใชในการทําเบียร อาหารทารก • กลูโคส + ฟรุกโตส = ซูโครส หรือ นํ้าตาลทราย พบมากในออย • กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในนํ้านม 3.3 พอลิแซ็กคาไรด (นํ้าตาลโมเลกุลใหญ ) • แปง เกิดจาก กลูโคสหลายพันโมเลกุลมาตอกัน แบบสายยาวและแบบกิ่ง พบมากในพืช - รางกายคนยอยสลายไดดวยเอนไซมที่มีในนํ้าลาย (อะไมเลส) • เซลลูโลส เกิดจาก กลูโคสประมาณ 50,000 โมเลกุล ตอกันแบบสายยาว เปนเสนใยพืช - รางกายคนยอยสลายไมได ชวยกระตุนใหลําไสใหญเคลื่อนไหว ทําใหอุจจาระออนนุม • ไกลโคเจน เกิดจาก กลูโคสเปนแสนถึงลานโมเลกุลมาตอกันแบบกิ่ง พบในคนและสัตว ที่ตับและกลามเนื้อ เปนแหลง พลังงานสํารอง โดยจะสลายกลับคืนเปนกลูโคส เมื่อรางกายขาดแคลนพลังงาน เตรียมสอบวิทยาศาสตร (O-NET) อ.กรกฤช ศรีวิชัย กรดไขมัน อิ่มตัว ไมอิ่มตัว จํานวนอะตอมไฮโดรเจน มาก นอย จุดหลอมเหลว สูงกวา 25 ๐ C ตํ่ากวา 25 ๐ C สถานะ ของแข็ง ของเหลว แหลงที่พบมาก ไขมันสัตว นํ้ามันพืช พันธะระหวางคารบอน เดี่ยว คู ความวองไวตอปฏิกิริยา นอย มาก
  • 2. 4 1. แผนภาพแสดงความสัมพันธระหวาง ก และ ข อาจเปนสารใดตามลําดับ 1. CO2 , H2 O 2. CO2 , O2 3. O2 , CO2 4. H2 O , O2 2. จากสายใยอาหารขางลางนี้ ข และ ง เปนสิ่งมีชีวิตในกลุมใด ตามลําดับ แสง 1. ผูผลิตและผูบริโภคสัตว 2. ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว และผูยอยสลายสารอินทรีย 3. ผูบริโภคพืชและผูบริโภคสัตว 4. ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว และผูบริโภคสัตว 3. ถาตองการลดการทําลายโอโซนในบรรยากาศ เราควรปฏิบัติอยางไร 1. ลดการตัดไมทําลายปา 2. ลดการใชสาร CFC 3. ลดการใชนํ้ามัน 4. ลดการใชเชื้อเพลิงฟอสซิล 4. ปรากฏการณใดตอไปนี้จะเกิดกับเซลลพืชที่แชในสารละลายไฮโพโทนิก 1. เซลลแตง 2. เซลลแตก 3. เซลลเหี่ยว 4. เซลลเหมือนเดิม 5. การหลั่งเพปซิโนเจนออกจากเซลลผนังกระเพาะอาหารอาศัยกระบวนการใด 1. กระบวนการออสโมซิส 2. กระบวนการเอกโซไซโทซิส 3. การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต 4. การลําเลียงแบบใชพลังงาน 6. สารพันธุกรรมเปนสารประเภทใด 1. คารโบไฮเดรต 2. โปรตีน 3. ลิพิด 4. กรดนิวคลีอิก 7. สิ่งมีชีวิตในขอใดจัดเปนจีเอ็มโอ (GMO) 1. เซลลแบคทีเรียมียีนอินซูลินของคน 2. ตนเปลานอยที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3. พุทธรักษาพันธุกลายที่เกิดจากการฉายรังสีแกมมา 4. แตงโมที่เมล็ดลีบ 8. ลักษณะตาบอดสีพบในเพศชายมากกวาเพศหญิง เพราะเหตุใด 1. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนดอยบนโครโมโซม X และเพศชายมีโครโมโซม X เพียง 1 โครโมโซม 2. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนเดนบนโครโมโซม X และเพศชายมีโครโมโซม X เพียง 1 โครโมโซม 3. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนดอยบนโครโมโซม Y และแสดงออกเมื่อมีฮอรโมนเพศชาย 4. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนเดนบนโครโมโซม Y และแสดงออกเมื่อมีฮอรโมนเพศชาย 9. การสรางเซลลสืบพันธุของคน เกิดจากการแบงเซลลแบบใด 1. ไมโตซิสที่มีการลดจํานวนโครโมโซม 2. ไมโตซิสที่ไมมีการลดจํานวนโครโมโซม 3. ไมโอซิสที่มีการลดจํานวนโครโมโซม 4. ไมโอซิสที่ไมมีการลดจํานวนโครโมโซม แบบทดสอบวิทยาศาสตร (O-NET) จํานวน 45 ขŒอ เวลา 30 นาที ก ค ง ข อ.กรกฤช ศรีวิชััย กระบวนการสังเคราะหดวยแสง กระบวนการหายใจ ก ข
  • 3. 5 10. ชายคนหนึ่งมีลักษณะนิ้วเกินแตงงานกับหญิงที่มีนิ้วปกติ มีบุตรชาย 1 คน ที่มีจํานวนนิ้วปกติ และบุตรสาว 1 คนที่มีลักษณะนิ้ว เกิน บุตรชายแตงงานกับหญิงที่มีจํานวนนิ้วปกติและมีบุตรชาย 2 คนที่มีจํานวนนิ้วปกติ ขอใดคือเพดดิกรีของครอบครัวนี้ 1. 2. 3. 4. 11. สามีภรรยาคูหนึ่งเปนพาหะของธาลัสซีเมียที่เหมือนกัน โอกาสที่ลูกคนแรกจะเปนธาลัสซีเมียมีเทาใด 1. 1 2. 1 3. 1 4. 3 2 3 4 4 12. พอมีเลือดหมู O แมมีเลือดหมู AB ลูกของพอแมคูนี้หมูเลือดใดไดบาง 1. หมู A หรือหมู AB 2. หมู B หรือหมู AB 3. หมู A หรือหมู B 4. หมู O หรือหมู AB 13. หลังจากออกกําลังกายกลางแดดนานๆ รางกายมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิอยางไร 1. ลดอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดขยายตัว 2. ลดอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดหดตัว 3. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดขยายตัว 4. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดหดตัว 14. สารใดที่ไมพบในปสสาวะของคนปกติ 1. โปรตีน 2. ยูเรีย 3. ยูริก 4. เกลือโซเดียม 15. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับปลาทะเล 1. ปสสาวะมากแตเจือจาง 2. ปสสาวะมากแตเขมขน 3. ปสสาวะนอยแตเจือจาง 4. ปสสาวะนอยแตเขมขน 16. วัคซีนที่ใชหยอดปองกันโรคโปลิโอในเด็ก เปนสารใด 1. แอนติบอดี 2. แอนติเจน 3. เอนไซม 4. แอนติไบโอติก 17. ขอความใดตอไปนี้ ถูกตองมากที่สุด 1. มิวเทชันเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติไมได 2. มิวเทชันทําใหไดลักษณะที่ไมพึ่งประสงคเทานั้น 3. สารอะฟลาทอกซินจากเชื้อราทําใหอัตราการเกิดมิวเทชันสูงขึ้น 4. การแปรผันทางพันธุกรรมเกิดจากมิวเทชันเทานั้น 18. รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรตอวินาที นานเทาใดจึงจะเคลื่อนที่ไดระยะทาง 500 เมตร 1. 10 s 2. 15 s 3. 20 s 4. 25 s 19. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็วตน 4.9 เมตรตอวินาที นานเทาใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด 1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 1.5 s 4. 2.0 s 20. มะมวงลูกหนึ่งตกจากตนในแนวดิ่ง เมื่อเวลาผานไป 5 วินาที ลูกมะมวงจะมีความเร็วเปนกี่เมตรตอวินาที 1. 4.9 2. 9.8 3. 49 4. 98
  • 4. 6 21. รถไตถังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสมํ่าเสมอและวิ่งครบรอบได 5 รอบในเวลา 2 วินาที หากคิดในแงความถี่ของการเคลื่อนที่ ความถี่ จะเปนเทาใด 1. 2.5 Hz 2. 0.5 Hz 3. 1.5 Hz 4. 0.4 Hz 22. เด็กคนหนึ่งออกกําลังกายดวยอัตราเร็ว 6 เมตรตอวินาที เปนเวลา 1 นาที วิ่งดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาทีอีก 1 นาที แลว เดินดวยอัตราเร็ว 1 เมตรตอวินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในชวง 3 นาทีนี้ 1. 3.0 m/s 2. 3.5 m/s 3. 4.0 m/s 4. 4.5 m/s 23. รังสีในขอใดที่มีอํานาจในการทะลุลวงผานเนื้อสารไดนอยที่สุด 1. รังสีแอลฟา 2. รังสีบีตา 3. รังสีแกมมา 4. รังสีเอกซ 24. A, B และ C เปนแผนวัตถุ 3 ชนิดที่ทําใหเกิดประจุไฟฟาโดยการถู ซึ่งไดผลดังนี้ A และ B ผลักกัน สวน A และ C ดูดกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. A และ C มีประจุบวก แต B มีประจุลบ 2. A และ C มีประจุลบ แต A มีประจุบวก 3. A และ B มีประจุบวก แต C มีประจุลบ 4. A และ C มีประจุลบ แต B มีประจุบวก 25. ขอใดเปนการเรียงลําดับคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากความยาวคลื่นนอยไปมากที่ถูกตอง 1. รังสีเอกซ อินฟราเรด ไมโครเวฟ 2. อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีเอกซ 3. รีงสีเอกซ ไมโครเวฟ อินฟราเรด 4. ไมโครเวฟ อินฟราเรด รังสีเอกซ 26. คลื่นใดตอไปนี้ เปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ก. คลื่นแสง ข. คลื่นเสียง ค. คลื่นผิวนํ้า คําตอบที่ถูกตองคือ 1. ทั้ง ก ข และ ค 2. ขอ ข และ ขอ ค 3. ขอ ก เทานั้น 4. ผิดทุกขอ 27. ชาวประมงสงคลื่นโซนารไปยังฝูงปลา พบวาชวงเวลาที่คลื่นออกไปจากเครื่องสงจนกลับมาถึงเครื่องเปน 1.0 วินาทีพอดี จงหา วาปลาอยูหางจากเรือเทาใด (กําหนดใหความเร็วของคลื่นในนํ้าเปน 1,540 เมตรตอวินาที) 1. 260 m 2. 520 m 3. 770 m 4. 1,540 m 28. คารบอนเปนธาตุที่เปนสวนสําคัญของสิ่งมีชีวิต สัญลักษณนิวเคลียส 12 C แสดงวานิวเคลียสของคารบอนนี้มีอนุภาคตามขอใด 1. โปรตอน 12 ตัว นิวตรอน 6 ตัว 2. โปรตอน 6 ตัว อิเล็กตรอน 6 ตัว 3. โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 12 ตัว 4. โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 6 ตัว 29. ธาตุที่มีเลขอะตอมตอไปนี้ มีสิ่งใดเหมือนกัน 1 3 11 19 37 1. เปนอโลหะเหมือนกัน 2. มีจํานวนอนุภาคมูลฐานเทากัน 3. อยูในระดับพลังงานเดียวกัน 4. มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน 30. เมื่อนําชิ้นสังกะสีใสในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีทําใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น โดยไมเพิ่มปริมาณสังกะสีและกรดตอไปนี้ ก. ใชแทงแกวคนใหทั่ว ข. ใชผงสังกะสีนํ้าหนักเทากันแทนชิ้นสังกะสี ค. ใหความรอน ง. เติมนํ้ากลั่นลงไปเทาตัว ขอใดถูก 1. ก ข และ ค เทานั้น 2. ข ก และ ง เทานั้น 3. ก ค และ ง เทานั้น 4. ก ข ค และ ง 6
  • 5. 7 31. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. แกสโซฮอลเปนสารผสมระหวางเมทานอลและนํ้ามันเบนซิน ข. กาซหุงตม หรือ LPG เปนกาซผสมระหวางโพรเพนและบิวเทน ค. กาซธรรมชาติจัดเปนพลังงานสะอาดเพราะสามารถเกิดการเผาไหมไดสมบูรณ ขอใดถูก 1. ก และ ข เทานั้น 2. ก และ ค เทานั้น 3. ข และ ค เทานั้น 4. ทั้ง ก ข และ ค 32. ขอใดเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. การผลิตสบู ข. การเหม็นหื่นของนํ้ามันเมื่อทิ้งไวนาน ๆ ค. การผลิตนํ้าอัดลมและนํ้าโซดา ง. บมมะมวงดิบจนเปนมะมวงสุก 1. ก ข และ ค 2. ข ค และ ง 3. ก ข และ ง 4. ก ค และ ง 33. เมื่อทดลองแชขวดนํ้ามัน A และขวดนํ้ามัน B ในตูเย็น 1 คืน พบวา นํ้ามัน A แข็งตัว แตนํ้ามัน B ยังเปนของเหลว พิจารณาขอสรุปตอไปนี้ ขอใดถูก 1. ก เทานั้น ข. ข และ ค เทานั้น 3. ก และ ค เทานั้น ง. ทั้ง ก ข และ ค 34. ไขขาว เนื้อ ไก และหอยนางรม ในขอตอไปนี้ ขอใดที่โปรตีนไมถูกทําลายหรือแปลงสภาพ 1. ไขขาวดิบที่คนไขกลืนเขาไปเพื่อขจัดยาพิษ 2. เนื้อที่แชไวในตูเย็นเพื่อแกงใสบาตร 3. ไกที่ทอดจนเหลือกรอบจะปลอดภัยจากไขหวัดนก 4. หอยนางรมบีบมะนาวเปนอาหารโปรดของมนัส 35. ถานักเรียนตองดูแลคนไขที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวา 110 mg ตอ 100 cm3 ของเลือด และมีความดันสูง นักเรียนไมควร ใหอาหารชนิดใดกับคนไข 1. A เทานั้น 2. C เทานั้น 3. A และ D 2. B และ C 36. ขอใดเปนพอลิเมอรธรรมชาติทั้งหมด 1. แปง เซลลูโลส พอลิสไตรีน 2. โปรตีน พอลิไอโซพรีน กรดนิวคลิอิก 3. ยางพารา พอลิเอทิลีน เทฟลอน 4. ไกลโคเจน ไขมัน ซิลิโคน นํ้ามัน A นํ้ามัน B ก มีจุดหลอมเหลวตํ่า มีจุดหลอมเหลวสูง ข มีกรดไขมันอิ่มตัวมาก มีกรดไขมันไมอิ่มตัวมาก ค เหม็นหืนยาก เหม็นหืนงาย ชนิดของ สารละลายไอโอดีน สารละลายเบเนดิกต สารละลาย NaOH สารอาหาร ผสมกับ CuSO4 A สีนํ้าเงิน ตะกอนสีแดงอิฐ สีฟา B สีนํ้าตาลอมเหลือง สีฟา สีมวง C สีนํ้าเงิน สีฟา สีฟา D สีนํ้าตาลอมเหลือง ตะกอนสีแดงอิฐ สีฟา
  • 6. 8 37. ชั้น “ฐานธรณีภาค” อยูตรงสวนใดของโครงสรางโลก 1. ชั้นเปลือกโลก 2. ชั้นเนื้อโลก 3. รอยตอชั้นเปลือกโลกกับชั้นเนื้อโลก 4. รอยตอชั้นเนื้อโลกกับชั้นแกนโลก 38. เทือกเขาหิมาลัย เกิดจากปรากฏการณทางธรณีภาคแบบใด 1. การเกิดแผนดินไหว 2. การชนกันของแผนเปลือกโลก 3. การแยกตัวของแผนเปลือกโลก 4. การระเบิดของภูเขาไฟ 39. ประเทศไทยจะไดรับผลจากการแผนดินไหว อันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผนธรณีภาคคูใดมากที่สุด 1. แผนยูเรเซียกับแผนแปซิฟก 3. แผนแปซิฟกกับแผนนาสกา 2. แผนยูเรเซียกับแผนอินเดีย 4. แผนแอนตารกติกากับแผนออสเตรเลีย-อินเดีย 40. ซากดึกดําบรรพสวนใหญจะพบอยูในหินชนิดใด 1. หินแปร 2. หินอัคนี 3. หินซิสต 4. หินตะกอน 41. ตามวิวัฒนาการของดวงอาทิตย ในชวงทายที่สุดจะเปนอะไร 1. ดาวแคระดํา 2. ดาวแคระขาว 3. หลุมดํา 4. ดาวนิวตรอน 42. ดาวฤกษในขอใด ที่มีอุณหภูมิของผิวดาวตกตํ่าที่สุด 1. มีแสงสีนํ้าเงิน 2. มีแสงสีเหลือง 3. มีแสงสีแดง 4. มีแสงสีสม 43. ดาวเคราะหใดตอไปนี้อยูใกลดวงอาทิตยมากกวาดวงอื่น 1. ดาวพฤหัสบดี 2. ดาวศุกร 3. ดาวเสาร 4. ดาวเนปจูน 44. ดาวศุกรเมื่อสวางนอยที่สุดมีความสวาง -3.5 ดาวซีรีอุสมีอันดับความสวาง -1.5 ดาวศุกรมีความสวางมากกวาดาวซีรีอุสกี่เทา 1. 2.5 2. 3.0 3. 6.25 4. 15.6 45. ดาวพฤหัสบดีมีองคประกอบหลักเปนอะไร 1. เหล็ก 2. ไฮโดรเจนและฮีเลียม 3. หิน 4. แอมโมเนีย
  • 7. 10 4. กรดนิวคลีอิก ( C H O N P ) มีหนวยยอย เรียกวา นิวคลีโอไทด DNA ประกอบดวย นิวคลีโอไทด มาเชื่อมตอกันเกิดเปนสายยาว 2 สายพัน กันเปนเกลียว โดยเกาะกันดวยคูไนโตรเจนเบสที่ เฉพาะเจาะจง คือ อะดีนีน (A) กับ ไทมีน (T) กวานีน (G) กับ ไซโตซีน (C) บทที่ 2 ปโตรเลียม เกิดจาก ซากพืชซากสัตวที่ตายทับถม แลวถูกยอยสลาย เกิดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน 2.1 นํ้ามันปโตรเลียม ประเทศไทยพบครั้งแรกที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม และตอมาพบที่ อ.ลานกระบือ จ.กําแพงเพชร การกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม เรียกวา การกลั่นลําดับสวน โดยใชความรอน 350-400 o C จะไดผลิตภัณฑ เรียงตามลําดับจาก จุดเดือดตํ่าไปสูง ดังนี้ มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เบนซิน กาด ดีเซล หลอลื่น เตา ไข ยางมะตอย 2.2 กาซธรรมชาติ ประเทศไทยพบบริเวณอาวไทยและมีมากในเชิงพาณิชย และพบที่ อ.นํ้าพอง จ.ขอนแกน สวนใหญเปนกาซมีเทน รอยละ 80-95 ปฏิกิริยาการเผาไหม คือ ปฏิกิริยาระหวางสารไฮโดรคารบอนกับกาซออกซิเจน แบงเปน - การเผาไหมที่สมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2 มากเพียงพอ จะได CO2 และ H2 O ซึ่งจะไมมีเถาถาน และเขมา - การเผาไหมไมสมบูรณ เกิดเมื่อมีกาซ O2 นอย จะได CO ซึ่งจะไปจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ทําใหรางกายเกิด การขาดออกซิเจน อาจเกิดอาการหนามืด เปนลมหรือเสียชีวิตได 2.3 เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน - กาซมีเทน(CH4 ) ใชในการผลิตกระแสไฟฟา ใชในรถปรับอากาศเครื่องยนตยูโร-2 - กาซหุงตม ประกอบดวย กาซโพรเพน (C3 H8 ) และกาซบิวเทน (C4 H10 ) ที่ถูกอัดดวยความดันสูง จนมีสถานะเปนของเหลว เรียกวา LPG (Liquid Petroleum Gas) เลขออกเทน เปนตัวเลขบอกคุณภาพของนํ้ามันเบนซิน โดยกําหนดให ไอโซออกเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมดี ทําใหเครื่องยนตเดินเรียบ มีเลขออกเทน100 นอรมอลเฮปเทน มีประสิทธิภาพการเผาไหมไมดี ทําใหเครื่องยนตกระตุก มีเลขออกเทน 0 - นํ้ามันดีเซล บอกคุณภาพโดยใชเลขซีเทน บทที่ 3 พอลิเมอร คือ สารที่มีขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของสารขนาดเล็ก (มอนอเมอร) จํานวนมาก 3.1 พลาสติก แบงเปน • เทอรมอพลาสติก มีโครงสรางแบบโซตรงหรือโซกิ่ง ยืดหยุน และโคงงอได เมื่อไดรับความรอนจะออนตัว สามารถ เปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได เพราะ สมบัติไมมีการเปลี่ยนแปลง • เทอรมอเซต มีโครงสรางแบบตาขาย มีความแข็งแรงมาก เมื่อไดรับความรอนจะไมออนตัว แตจะเกิดการแตกหัก ไม สามารถเปลี่ยนรูปรางได เพราะ สมบัติมีการเปลี่ยนแปลง 3.2 ยาง แบงเปน • ยางธรรมชาติ เกิดจากมอนอเมอร คือ ไอโซพรีน รวมตัวกันเปนพอลิไอโซพรีน ดังนี้ มีความยืดหยุน ทนตอแรงดึงทนตอการขัดถู ทนนํ้า นํ้ามันพืชและสัตว แตไมทนนํ้ามันเบนซินและตัวทําละลายอินทรีย เมื่อไดรับความ เย็นจะแข็งและเปราะ แตเมื่อไดรับความรอนจะออนตัวและเหนียว • ยางสังเคราะห (ยางเทียม) เชน : ยาง IR (Isoprene Rubber) มีโครงสรางเหมือนยางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนนอย คุณภาพสมํ่าเสมอ : ยาง SBR (Styrene - Butadiene Rubber) ทนตอการขัดถูแตไมทนตอแรงดึง ใชทําพื้นรองเทา สายยาง บทที่ 4 ปฏิกิริยาเคมี เกิดจาก สารเริ่มตน เขาทําปฏิกิริยากัน แลวทําใหเกิดสารใหม เรียกวา ผลิตภัณฑ 4.1 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน - ปฏิกิริยาการเผาไหมของถานหิน จะมีกํามะถัน(S) เมื่อเผาไหมกํามะถันจะทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนทําใหเกิดกาซ ซัลเฟอรไดออกไซดและเมื่อทําปฏิกิริยากับนํ้าฝน ทําใหเกิดกรดกํามะถัน/กรดซัลฟวริก (ฝนกรด) - การเผาไหมเชื้อเพลิงในเครื่องยนต จะเกิดกาซ NO2 กลายเปนฝนกรดไนตริกได - ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (Fe2 O3 ) เกิดจาก ปฏิกิริยาระหวางเหล็กกับกาซออกซิเจน - ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (ผงฟู)ดวยความรอนจะไดกาซ CO2 และ H2 O - สารไฮโดรเจนเปอรออกไซด เมื่อไดรับแสงและความรอน จะสลายตัว ดังนั้น จึงตองเก็บไวในที่มืด - ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3 ) ดวยความรอน ไดปูนขาว (CaO) ใชในการผลิตปูนซีเมนต - ปฏิกิริยาระหวางหินปูนกับกรดไนตริก / กรดซัลฟวริก ทําใหสิ่งกอสรางสึกและเกิดหินงอกหินยอย
  • 8. 11 บทที่ 5 ธาตุและสารประกอบ พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมของธาตุ โดยแบงเปน - พันธะไอออนิก : เกิดจากโลหะกับอโลหะ เชน NaCl CaO - พันธะโควาเลนซ : เกิดจากอโลหะกับอโลหะ เชน H2 Cl2 CO2 CH4 ธาตุหมู 1A และ 2A เปนโลหะ เปนของแข็ง จุดเดือด / จุดหลอมเหลวสูง นําไฟฟาได ธาตุหมู 1A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 1 จึงหลุดออกงาย ทําใหมีประจุ +1 เชน Na+ มีความวองไวตอปฏิกิริยาสูงมาก ลุกไหมไดอยางรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยากับนํ้ารุนแรง ธาตุหมู 2A มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 2 จึงสูญเสียไดงาย ทําใหมีประจุ +2 เชน Mg2+ ธาตุหมู 7A (Halogen) เปนอโลหะ อยูเปนโมเลกุลมี 2 อะตอม เชน F2 Cl2 Br2 I2 At2 • มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 7 จึงสามารถรับอิเล็กตรอนไดอีก 1 กลายเปนไอออนประจุ -1 • มีความวองไวตอปฏิกิริยาเคมีมาก ธาตุหมู 8A เปนอโลหะ มีสถานะเปนกาซ อยูเปนอะตอมอิสระ : He Ne Ar Kr Xe Rn • มีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 8 จึงมีความเสถียรมาก ไมวองไวตอปฏิกิริยาเคมี จึงเรียกวา กาซเฉื่อย โลหะแทรนซิชัน เปนโลหะ มีสมบัติกายภาพเหมือนโลหะหมู 1A / 2A แตสมบัติเคมีแตกตางกัน ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคลายโลหะและบางประการคลายอโลหะ เชน อะลูมิเนียม (Al) มีความหนาแนนตํ่า จึงแข็งแรงแตนํ้าหนักเบา นําไฟฟา/ความรอนดี เชน บอกไซด :ใชทําโลหะอะลูมิเนียม อุปกรณไฟฟา เครื่องครัว หออาหาร คอรันดัม หรือ อะลูมิเนียมออกไซด : ทําอัญมณีที่มีสีตามชนิดของโลหะแทรนซิชัน สารสม (Al(SO4 )2 . 12H2 O) : ใชในการทํานํ้าประปาหรือกวนนํ้าใหตกตะกอน ซิลิกอน (Si) - อะตอมยึดตอกันดวยพันธะโคเวเลนซ ในรูปโครงผลึกรางตาขาย เปนสารกึ่งตัวนํา ใชทําแผงวงจรไฟฟาและ อุปกรณไฟฟา ธาตุกัมมันตรังสี คือ ไอโซโทปของธาตุที่มีนิวตรอนตางจากโปรตอนมากๆ ทําใหไมเสถียร จึงสลายตัว โดยปลดปลอยรังสีออก มา ซึ่งตรวจหาและวัดรังสี โดยใชไกเกอรมูลเลอรเคานเตอร การเคลื่อนที่และพลังงาน บทที่ 1 การเคลื่อนที่ แบงเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1.1 การเคลื่อนที่แนวตรง : เปนการเคลื่อนที่ ที่ไมมีการเปลี่ยนทิศทาง การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวระดับ • อัตราเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางระยะทางกับเวลา • ความเร็วเฉลี่ย หาไดจาก อัตราสวนระหวางกระจัดกับชวงเวลา ( กระจัด คือ ระยะทางที่สั้นที่สุด) • ความเรง หาไดจาก ความเร็วที่เปลี่ยนไปกับเวลาที่เปลี่ยนแปลง (เมตรตอวินาที 2 ) การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง ภายใตแรงโนมถวงของโลก (แนวดิ่ง) ใชสูตร V = U + g t 1.2 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล : เปนการเคลื่อนที่เปนเสนโคงพาราโบลา เชน การโยนของจากเครื่องบิน การโยนลูกบาสเกตบอลเขาหวง การขวางกอนหิน การยิงธนู การตีลูกกอลฟ 1.3 การเคลื่อนที่แบบวงกลม : เกิดจากเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลม เชน การเหวี่ยงหมุนของบนศีรษะ การเลี้ยวของรถ การขี่มอเตอรไซดไตถัง การโคจรของดวงดาว 1.4 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย : เปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ซํ้าทางเดิมในแนวดิ่ง โดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งจะ มีคาคงที่เสมอ เชน การแกวงของชิงชา การแกวงของลูกตุมนาฬกา บทที่ 2 สนามของแรง คือ บริเวณที่มีแรงกระทําตอวัตถุ แบงเปน 3 ประเภท 2.1 สนามแมเหล็ก คือ บริเวณที่มีแรงแมเหล็กกระทํา จะมีทิศจากขั้วเหนือไปยังขั้วใตของแทงแมเหล็ก เมื่อใหกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดตัวนํา ที่วางตัด(ตั้งฉาก)กับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะมีแรงแมเหล็กกระทํา ทําใหขด ลวดตัวนําเคลื่อนที่ได นําไปใชสรางมอเตอรไฟฟา กรณีตรงขาม ถาหมุนขดลวดตัวนําใหตั้งฉากกับสนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ จะทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้น เรียกวา กระแส ไฟฟาเหนี่ยวนํา ซึ่งคนพบโดย ไมเคิล ฟาราเดย และนําไปสรางเครื่องกําเนิดไฟฟา สนามแมเหล็กโลก โลกเสมือนมีแมเหล็กฝงอยู ใตโลก โดยขั้วโลกเหนือ ทําหนาที่เปน ขั้วใตของแมเหล็ก ขั้วโลกใต ทําหนาที่เปน ขั้วเหนือของแมเหล็ก ทําหนาที่ เปนโลปองกันลม สุริยะ 2.2 สนามไฟฟา คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟา กระทํา จะมีทิศจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของขั้วไฟฟา - อนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบ
  • 9. 12 - อนุภาคที่มีประจุลบ (อิเล็กตรอน) จะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปยังขั้วบวก หลักการนี้นําไปใชในการทําเครื่องกําจัดฝุน โดยเมื่อฝุนละอองผานเขาไปในเครื่อง ฝุนเล็กๆ จะรับประจุไฟฟาลบจาก ขั้วลบของเครื่อง และจะถูกดูดติดแนนโดยแผนขั้วบวกของเครื่อง 2.3 สนามโนมถวง คือ บริเวณที่มีแรงโนมถวงกระทํา ทําใหเกิดแรงดึงดูดวัตถุ พุงเขาสูศูนยกลางโลก ณ ผิวโลก แรงโนมถวงมีคา 9.8 นิวตันตอ กิโลกรัม แตจะมีคาลดลงไปเรื่อยๆ เมื่ออยูในระดับสูงขึ้นไปจากผิวโลกเรื่อยๆ แรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ ก็คือ นํ้าหนักของวัตถุบนโลก (weight) บทที่ 3 คลื่น แบงเปน 2 ประเภท 3.1 คลื่นกล คือ คลื่นที่เดินทางไดตองอาศัยตัวกลาง แบงเปน สมบัติของคลื่น มี 4 ประเภท • การสะทอน : เกิดจากการที่คลื่นไป แลวกลับสูตัวกลางเดิม เชน คางคาวและปลาโลมา โดยการสงคลื่นเสียง (Ultra- sound) ออกไป แลวรับคลื่นที่สะทอนกลับมา • การหักเห : เกิดจากการที่คลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางที่มีสมบัติตางกัน ทําใหทิศทางเบี่ยงเบน เนื่องจาก อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป เชน บางครั้งเห็นฟาแลบ แตไมไดยินเสียงฟารอง • การเลี้ยวเบน : เกิดจากการที่คลื่นปะทะสิ่งกีดขวาง แลวแผกระจายไปตามขอบ เชน การที่เราเดินผานมุมอาคารเรียน หรือมุมตึก จะไดยินเสียงตางๆจากอีกดานหนึ่งของอาคาร • การแทรกสอด : เกิดจากการที่คลื่นสองขบวนเคลื่อนที่เขาหากัน ทําใหเกิดบริเวณสงบนิ่งและบริเวณที่สั่นสะเทือนมาก ธรรมชาติของเสียง มี 3 ประเภท • ระดับเสียง ขึ้นอยูกับ ความถี่ของเสียง - หูของคนสามารถรับรูคลื่นเสียงในชวงความถี่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ เสียงที่มีความถี่ตํ่ากวา 20 เฮิรตซ เรียกวา อินฟราซาวนด (infrasound) เสียงที่มีความถี่สูงกวา 20,000 เฮิรตซ เรียกวา อัลตราซาวนด (ultrasound) • ความดัง ขึ้นอยูกับ แอมพลิจูด จะวัดเปนระดับความเขมเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล ดังนี้ - เสียงคอยที่สุดที่เริ่มไดยิน มีระดับความเขมเสียงเปน 0 เดซิเบล - เสียงดังที่สุดที่ไมเปนอันตรายตอหู มีระดับความเขมเสียงเปน 120 เดซิเบล องคการอนามัยโลก กําหนดวา ระดับความเขมเสียงที่ปลอดภัยตองไม เกิน 85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกินวันละ 8 ชั่วโมง ถาเกินกวานี้ จะถือวาเปนมลภาวะของเสียง คุณภาพเสียง คือ คุณลักษณะเฉพาะตัวของเสียง (ไมไดแปลวาเสียงดี หรือไมดี ) ขึ้นอยูกับ รูปรางของคลื่น ชวยระบุแหลง กําเนิดเสียงที่แตกตางกัน ทําใหเสียงที่ไดยินวาเปนเสียงอะไร 3.2 คลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ คลื่นที่สามารถเคลื่อนที่ได โดยไมอาศัยตัวกลาง มี 7 ชนิด ดังนี้ แกมมา เอกซ อัลตราไวโอเลต แสง อินฟราเรด ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ พลังงานมาก -------------------------------------------------------------------------> พลังงานนอย ความยาวคลื่นนอย ------------------------------------------------------------------> ความยาวคลื่นมาก คลื่นแมเหล็กไฟฟา จะเคลื่อนที่ในสุญญากาศดวยความเร็วเทากัน คือ 3 x 108 เมตร/วินาที คลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่ใชประโยชนมากในชีวิตประจําวัน คือ คลื่นวิทยุ มี 2 ระบบ คือ - ระบบเอเอ็ม (AM : Amplitude Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหแอมพลิจูดเปลี่ยนแปลง แตความถี่คงที่ สง กระจายเสียงดวยความถี่ 530-1,600 กิโลเฮิรตซ - ระบบเอฟเอ็ม (FM : Frequency Modulation) : เปนการผสมคลื่นที่ทําใหความถี่เปลี่ยนแปลง แตแอมพลิจูดคงที่ สง กระจายเสียงดวยความถี่ 88-108 เมกะเฮิรตซ บทที่ 4 กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร 4.1 กัมมันตภาพรังสี แบงเปน 3 ชนิด รังสีแกมมา (γ) เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่มีความยาวคลื่นสั้น มีอํานาจทะลุผานมาก กั้นไดใชตะกั่ว รังสีบีตา (β) เปนอิเล็กตรอน สามารถกั้นไดโดยใชแผนอะลูมิเนียม รังสีแอลฟา (α) เปนนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ( 2 He) สามารถทําใหสารเกิดการแตกตัวเปนไอออนไดดี มีอํานาจทะลุผาน นอยมาก สามารถกั้นไดโดยใชกระดาษ 4.2 พลังงานนิวเคลียร แบงเปน 2 ประเภท ฟชชัน ฟวชัน - ใหญ ----> เล็ก - เล็ก ----> ใหญ - ควบคุมได - ควบคุมไมได - เกิดลูกโซ - ไมเกิดลูกโซ - พลังงานนอย - พลังงานมาก 4
  • 10. 13 โลก ดาราศาสตร และอวกาศ บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง 1.1 โครงสรางโลก แบงตามลักษณะมวลสาร ได 3 ชั้น คือ 1. ชั้นเปลือกโลก แบงเปน 2 บริเวณ คือ • ภาคพื้นทวีป ประกอบดวย ซิลิกาและอะลูมินา • ใตมหาสมุทร ประกอบดวย ซิลิกาและแมกนีเซีย 2. ชั้นเนื้อโลก มีความลึก 2,900 กิโลเมตร แบงเปน 3 สวน คือ • สวนบน เปนหินที่เย็นตัว ชั้นเนื้อโลกสวนบนรวมกับชั้นเปลือกโลก เรียกวา ชั้นธรณีภาค • ชั้นฐานธรณีภาค เปนชั้นของหินหลอมละลายหรือหินหนืด ที่เรียกวา แมกมา • ชั้นลางสุด เปนชั้นของแข็งรอนที่แนนและหนืด 3. ชั้นแกนโลก แบงเปน 2 สวน คือ • แกนโลกชั้นนอก เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของเหลวรอน • แกนโลกชั้นใน เปนเหล็กและนิกเกิลที่เปนของแข็ง 1.2 ปรากฏการณทางธรณีวิทยา แนวรอยตอที่ทําใหเกิดแผนดินไหว มี 3 แนว คือ 1. แนวรอยตอรอบมหาสมุทรแปซิฟก เกิดแผนดินไหวรุนแรงและมากที่สุด ( 80% ) เรียกวา วงแหวนแหงไฟ ไดแก ญี่ปุน ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก 2. แนวรอยตอภูเขาแอลปในยุโรปและภูเขาหิมาลัยในเอเซีย เกิดแผนดินไหว (15%) โดยจะเกิดระดับตื้นและปานกลาง ไดแก พมา อัฟกานิสถาน อิหราน ตุรกี และทะเลเมดิเตอรเรเนียน 3. แนวรอยตอบริเวณสันกลางมหาสมุทรตางๆ ของโลก (5%) ไดแก บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดียและอารกติก โดยจะเกิดแผนดินไหวในระดับตื้น ภูเขาไฟ แบงเปน 2 รูปแบบ ดังนี้ • เกิดจาก การปะทุของแมกมา จะมีสัญญาณบอกเหตุลวงหนา เชน แผนดินไหว และมีเสียงคลายฟารอง ซี่งเมื่อพนออก มา เรียกวา ลาวา คุพุงเหมือนนํ้าพุรอน เมื่อเย็นตัวกลายเปน หินบะซอลต ซึ่งมีรูพรุน • เกิดจาก การระเบิดของแมกมาที่มีกาซ ซึ่งจะแยกเปนฟองเหมือนนํ้าเดือดและขยายตัวจนระเบิดอยางรุนแรง พนเศษ หิน ผลึกแร เถาภูเขาไฟ และเมื่อเย็นตันเปนหิน เรียกวา หินตะกอนภูเขาไฟ ซึ่งเรียกชื่อตามขนาดและชิ้นสวนที่พนออกมา เชน หิน ทัฟฟ หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ หินกรวดมนภูเขาไฟ บทที่ 2 ธรณีภาค 2.1 แผนธรณีภาคและการเคลื่อนที่ ป พ.ศ.2458 ดร.อัลเฟรด เวกาเนอร นักอุตุนิยมวิทยา ชาวเยอรมัน ไดตั้งสมมติฐานวา “ผืนแผนดินทั้งหมดบนโลกแตเดิมเปนแผนดินผืนเดียวกัน เรียกวา พันเจีย เมื่อ 200 - 135 ลานปที่แลว แยกออกเปน 2 ทวีปใหญ คือ ลอเรเซียทางตอนเหนือและกอนดวานาทางตอนใต และเมื่อ 135-65 ลานปที่แลว ลอเรเซียเริ่มแยกเปนอเมริกาเหนือ และแผนยูเรเซีย (ยุโรป+เอเชีย) กอนดวานาจะแยกเปน อเมริกาใต แอฟริกา ออสเตรเลีย แอนตารกติกา และอินเดีย แผนธรณีภาคมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ดังนี้ 1. ขอบแผนธรณีภาคแยกออกจากกัน เกิดจาก การดันตัวของแมกมา ทําใหเกิดรอยแตก จนแมกมาถายโอนความรอนได ทําใหอุณหภูมิและความดันลดลง ทําเปลือกโลกทรุดตัวกลายเปนหุบเขาทรุด ตอมามีนํ้าไหลมาสะสมเปนทะเล และเกิดเปนรองลึก แมกมาจึงแทรกดันขึ้นมา สงผลให แผนธรณีเคลื่อนตัวแยกออกไปทั้งสองขาง เกิดการขยายตัวของพื้นทะเล 2. ขอบแผนธรณีภาคเคลื่อนเขาหากัน มี 3 แบบ คือ - แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคใตมหาสมุทร ทําใหแผนหนึ่งมุดลงใตอีกแผนหนึ่ง ปลายของแผนที่ มุดลงจะหลอมกลายเปนแมกมา และปะทุขึ้นมา ทําใหเกิดเปนแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร - แผนธรณีภาคใตมหาสมุทรชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ทําใหแผนธรณีภาคใตมหาสมุทรซึ่งหนักกวามุดลงขาง ลาง เกิดเปนแนวภูเขาไฟชายฝง เชน อเมริกาใต (แอนดีส) - แผนธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผนธรณีภาคภาคพื้นทวีป ซึ่งทั้งสองแผนมีความหนามาก ทําใหแผนหนึ่งมุดลงแต อีกแผนหนึ่งเกยขึ้นเกิดเปนเทือกเขาเปนแนวยาวอยูกลางทวีป เชน เทือกเขาหิมาลัย แอลป
  • 11. 14 บทที่ 3 ธรณีประวัติ 3.1 อายุทางธรณีวิทยา แบงเปน 2 แบบ - อายุสัมบูรณ เปนอายุของหินหรือซากดึกดําบรรพที่สามารถบอกจํานวนปที่แนนอน ซึ่งคํานวณไดจากครึ่งชีวิตของธาตุ กัมมันตรังสี ไดแก ธาตุ C-14 K-40 - อายุเปรียบเทียบ ใชบอกอายุของหิน วาหินชุดใดมีอายุมากหรือนอยกวากัน โดยอาศัยขอมูลจากซากดึกดําบรรพที่ทราบ อายุแนนอน ลักษณะลําดับชั้นหินและโครงสรางของชั้นหิน 3.2 ซากดึกดําบรรพ คือ ซากและรองรอยของสิ่งมีชีวิต ที่ตายทับถมอยูในชั้นหินตะกอน พืชและสัตวที่จะเปลี่ยนสภาพเปนซากดึกดําบรรพไดตองมีโครงรางที่แข็ง เพื่อวาแรธาตุตางๆ จะสามารถแทรกซึมเขาไป ในชองวางนั้นได ทําใหทนทานตอการผุพังและตองถูกฝงกลบอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตชะลอการสลายตัว โดยซากของ สัตวทะเลจะพบมากที่สุด เพราะวาเมื่อจมลงจะถูกโคลนและตะกอนเม็ดละเอียดทับถม ซึ่งตะกอนละเอียดจะทําใหซากสิ่งมีชีวิตเสีย หายนอยที่สุด ประเทศไทยพบซากดึกดําบรรพ เชน ซากไดโนเสาร พบครั้งแรกที่ อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน เปนไดโนเสารเดิน 4 เทา มี คอ-หาง ยาว กินพืชเปนอาหาร ตั้งชื่อวา “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน” - รองรอยของสิ่งมีชีวิตที่พิมพรอยอยูในตะกอนที่แข็งตัวเปนหิน เชน รอยเทาไดโนเสารที่ภูหลวง จ.เลย และที่ภูแฝก จ.กาฬสินธุ หรือรอยเปลือกหอยตาง ๆ นอกจากนี้ ยังมีซากดึกดําบรรพที่ไมกลายเปนหิน เชน ซากชางแมมมอธ ซากแมลงในยางไมหรืออําพัน บทที่ 4 เอกภพ 4.1 กําเนิดเอกภพ ทฤษฏีกําเนิดเอกภพ “บิกแบง” (Big Bang) กลาววา เมื่อเกิดการระเบิดใหญ ทําใหพลังงานเปลี่ยนเปนสสาร เนื้อสารที่เกิดขึ้นจะในรูปของอนุภาคพื้นฐานชื่อ ควารก อิเล็กตรอน นิวทริโน และโฟตอน เมื่อเกิดอนุภาคจะเกิดปฏิอนุภาคที่มีประจุตรงขาม เมื่ออนุภาคพบปฏิอนุภาคชนิดเดียวกัน จะหลอมสลายเปนพลังงานจน หมด แตในธรรมชาติมีอนุภาคมากกวาปฏิอนุภาค จึงทําใหยังมีอนุภาคเหลือ หลังบิกแบง 10-6 วินาที อุณหภูมิจะลดลงเปนสิบลานลานเคลวิน ทําใหควารกรวมตัวกลายเปนโปรตอน (นิวเคลียสของ ไฮโดรเจน) และนิวตรอน หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิจะลดลงเปนรอยลานเคลวิน เกิดการรวมตัวเปนนิวเคลียสของฮีเลียม หลังบิกแบง 300,000 ป อุณหภูมิจะลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียม จะดึงอิเล็กตรอนเขา มา ทําใหเกิดเปนอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม หลังบิกแบง 1,000 ลานป จะเกิดกาแล็กซีตางๆ โดยภายในกาแล็กซีจะมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเปนสารเบื้องตน ในการ กําเนิดเปนดาวฤกษรุนแรก ๆ ขอสังเกตและประจักษพยาน ที่สนับสนุนทฤษฏีบิกแบง 1. การขยายตัวของเอกภพ คนพบโดยฮับเบิล นักดาราศาสตรชาวอเมริกา 2.อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ ปจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน นักดาราศาสตร แบงกาแล็กซี ออกเปน 4 ประเภท 1. กาแล็กซีกังหันหรือสไปรัล เชน กาแล็กซีทางชางเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซี M -81 (M ยอมาจาก เมสสิแอร (Messier) เปนนักลาดาวหางชาวฝรั่งเศส) 2. กาแล็กซีกังหันมีแกนหรือบารสไปรัล เชน กาแล็กซี NGC – 7479 (NGC ยอมาจาก The New General Catalogue) 3. กาแล็กซีรูปไข เชน กาแล็กซี M–87 4. กาแล็กซีไรรูปทรง เชน กาแล็กซีแมกเจลเเลนใหญ บทที่ 5 ดาวฤกษ เปนกอนกาซรอนขนาดใหญ มีองคประกอบสวนใหญ เปนธาตุไฮโดรเจน 5.1 วิวัฒนาการของดาวฤกษ • ดาวฤกษที่มีมวลนอย เชน ดวงอาทิตย ใหแสงสวางนอย จึงมีการใชเชื้อเพลิงนอย ทําใหมีชวงชีวิตยาว และจบชีวิตลง โดยไมมีการระเบิด แตจะกลายเปนดาวแคระ • ดาวฤกษที่มีมวลมาก จะมีขนาดใหญ ใหแสงสวางมาก จึงมีการใชเชื้อเพลิงมาก ทําใหมีชวงชีวิตสั้น และจบชีวิตลงดวย การระเบิดอยางรุนแรง เรียกวา ซูเปอรโนวา (supernova) หลังจากนั้น ดาวที่มีมวลมาก จะกลายเปนดาวนิวตรอน ดาวที่มีมวลสูงมาก ๆ จะกลายเปนหลุมดํา กําเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย 1. เมื่อเนบิวลายุบตัว ที่แกนกลางจะมีอุณหภูมิสูงเปนแสนองศาเซลเซียส เรียกวา “ดาวฤกษกอนเกิด”
  • 12. 15 2. ปจจุบันที่แกนกลางมีอุณหภูมิสูงเปน 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิด ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร คือ ปฏิกิริยาหลอมไฮโดรเจน 4 นิวเคลียส กลายเปนฮีเลียม 1 นิวเคลียสและเกิดพลังงานออกมามหาศาล จนทําใหเกิด สมดุลระหวางแรงโนมถวงกับแรงดันของกาซ เกิดเปนดวงอาทิตย มีสีเหลือง 3. ในอนาคต เมื่อไฮโดรเจนลดลง ทําใหดาวยุบตัวลง ทําใหแกนกลางมีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 100 ลานเคลวิน จนเกิดปฏิกิริยา เทอรโมนิวเคลียร ที่มีการหลอมฮีเลียม ใหกลายเปนคารบอน ในขณะเดียวกันรอบนอกของดาว ก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 15 ลานเคลวิน ทําใหเกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียส ที่มีหลอม ไฮโดรเจนใหกลายเปนฮีเลียมครั้งใหม จึงเกิดพลังงานออกมาอยางมหาศาลและทําใหดวงอาทิตยมีขนาดใหญขึ้นเปน 100 เทา และเปลี่ยนจากสีเหลืองเปนสีแดง เรียกวา ดาวยักษแดง ซึ่งจะปลดปลอยพลังงานออกมามาก ทําใหชวงชีวิตคอนขางสั้น 4. ในชวงทาย แกนกลางจะยุบตัวลงกลายเปนดาวแคระขาว ซึ่งมีขนาดเล็กลงเปน 1 ใน 100 5. ความสวางจะลดลงตามลําดับ และในที่สุดก็จะหยุดสองแสงสวาง กลายเปนดาวแคระดํา (black dwarf) 5.2 ความสวางและอันดับความสวางของดาวฤกษ • ดาวฤกษที่ริบหรี่ที่สุดที่มองเห็นดวยตาเปลา มีอันดับความสวาง 6 • ดาวฤกษที่สวางที่สุด มีอันดับความสวาง 1 • ดวงอาทิตย มีอันดับความสวาง - 26.7 ถาอันดับความสวางตางกัน x อันดับ จะมีความสวางตางกันประมาณ (2.5)x เทา 5.3 สีและอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ แบงออกเปน 7 ชนิดหลัก ๆ ดังนี้ • ดาวที่มีอายุนอย จะมีอุณหภูมิผิวสูง มีสีขาว นํ้าเงิน • ดาวที่มีอายุมาก ใกลถึงจุดสุดทายของชีวิต จะมีอุณหภูมิผิวตํ่า มีสีแดง O B A F G K M มวง คราม นํ้าเงิน ขาว เหลือง แสด แดง บทที่ 6 กําเนิดระบบสุริยะ นักดาราศาสตร แบงเขตพื้นที่รอบดวงอาทิตย เปน 4 เขต คือ 1. ดาวเคราะหชั้นใน ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลก และ ดาวอังคาร มีขนาดเล็กและมีพื้นผิวแข็งหรือเปนหินแบบเดียวกับโลก 2. แถบดาวเคราะหนอย คือ บริเวณระหวางวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี เปนเศษที่เหลือจากการพอกพูนเปนดาวเคราะหหิน แลวถูกดึงดูดจากแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีขนาดใหญและเกิดมา กอน ทําใหไมสามารถจับตัวกันมีขนาดใหญได 3. ดาวเคราะหชั้นนอก หรือ ดาวเคราะหยักษ เปนดาวที่มีขนาดใหญ ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน มีองคประกอบหลัก คือ กาซไฮโดรเจนและฮีเลียมทั้งดวง ดาวพลูโต เปนดาวเคราะหชั้นนอกที่อยูไกลและเล็กที่สุด มีสมบัติคลายดาวเคราะหนอย 4. เขตของดาวหาง เปนเศษที่เหลือจากดาวเคราะหยักษ มีจํานวนมากอยูรอบนอกระบบสุริยะ ดวงอาทิตย : เปนดาวฤกษสีเหลือง ชนิดสเปกตรัม G มีอุณหภูมิผิวประมาณ 6,000 เคลวิน - แสงสวางที่เปลงออกมา ทําใหเรามองเห็นดาวเคราะหได โดยใชเวลาเดินทาง 8.3 นาที - ลมสุริยะ ประกอบดวยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน มาจากการแผรังสีของดวงอาทิตย ซึ่งจะมาถึงโลกภายในเวลา 20-40 ชั่งโมง ซึ่งจะสงผลทําใหเกิดปรากฏการณแสงเหนือ-แสงใต ไฟฟาแรงสูงดับที่ขั้วโลก เกิดการรบกวนวงจรอิเล็กทรอนิกสของ ดาวเทียม และทําใหเกิดการติดขัดในการสื่อสารของคลื่นวิทยุ บทที่ 7 เทคโนโลยีอวกาศ 7.1 ดาวเทียมและยานอวกาศ การสงดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นสูอวกาศ จะตองเอาชนะแรงดึงดูดของโลก ความเร็วมากกวา 7.91 กิโลเมตรตอวินาที ถาหากจะใหยานอวกาศออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย จะตองใชความเร็วที่ 11.2 กิโลเมตรตอวินาที เรียกวา ความเร็วหลุดพน พ.ศ. 2446 ไชออลคอฟสกี ชาวรัสเซีย ไดคนควาเกี่ยวกับเชื้อเพลิงในจรวด เสนอวา ใชเชื้อเพลิงเหลว แยกเชื้อเพลิงและ สารที่ชวยในการเผาไหมออกจากกัน นําจรวดมาตอเปนชั้นๆ จะชวยลดมวลของจรวดลง โดยเมื่อจรวดชั้นแรกใชเชื้อเพลิงหมดก็ ปลดทิ้งไป และใหจรวดชั้นตอไปทําหนาที่ตอ แลวปลดทิ้งไปเรื่อยๆ โดย จรวดชั้นสุดทายที่ติดกับดาวเทียมหรือยานอวกาศ จะตองมี ความเร็วสูงพอที่จะเอาชนะแรงดึงดูดของโลกได พ.ศ. 2469 โรเบิรต กอดดารด ชาวอเมริกัน สามารถสรางจรวดเชื้อเพลิงเหลว โดยใชไฮโดรเจนเหลวเปนเชื้อเพลิงและ ออกซิเจนเหลวเปนสารที่ชวยในการเผาไหม และแยกอยูตางถังกัน สหภาพโซเวียต สามารถใชจรวดสามทอนสงดาวเทียม ไดเปนประเทศแรก
  • 13. 16 ชีวิตกับสิ่งแวดลŒอม สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต บทที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลŒอม โลก มีระบบนิเวศหลากหลายรวมกัน เปนระบบขนาดใหญ เรียกวา ชีวภาค(Biophere) เชน - บริเวณเสนศูนยสูตร มีอุณหภูมิสูงและแสงแดดมาก ทําใหมีฝนตกชุก เกิดปาฝนเขตรอน - บริเวณที่สูงหรือตํ่าจากเสนศูนยสูตร เรียกวา เขตอบอุน มีอุณหภูมิและแสงแดดจํากัด จึงไมหลากหลาย - ขั้วโลกเหนือ เรียกวา เขตทุนดรา มีอุณหภูมิและแสงแดดนอย พื้นนํ้าเปนนํ้าแข็ง มีพืชคลุมดิน ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดพลังงานจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตาง ๆ โดยจะถายทอดไปเพียง 10% สวนพลังงานอีก 90% จะถูกใชในการดํารงชีวิต นอกจากนี้ ในหวงโซอาหาร จะมีการถายทอดโลหะหนัก จากยาฆาแมลงและสารพิษดวย โดยจะมีปริมาณ สะสมเพิ่มขึ้นตามลําดับการกินของสิ่งมีชีวิต บทที่ 2 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่เหมือนกัน คือ - เยื่อหุมเซลล ทําหนาที่ หอหุมเซลลและควบคุมการผานสารเขา – ออก - นิวเคลียส เปนศูนยควบคุมการทํางานของเซลลและเปนแหลงเก็บสารพันธุกรรม - ไมโทคอนเดรีย เปนแหลงผลิตสารพลังงานสูง - ไรโบโซม ทําหนาที่ สังเคราะหโปรตีน - รางแหเอนโดพลาซึม ทําหนาที่สังเคราะหและลําเลียงโปรตีน บางสวนสังเคราะหไขมัน - กอลจิคอมเพล็กซ ทําหนาที่ ปรับเปลี่ยนโปรตีนและไขมัน แลวสงไปยังปลายประสาท เซลลสิ่งมีชีวิต มีสวนประกอบที่ตางกัน คือ ในเซลลพืช จะมี : ผนังเซลล ทําใหเซลลคงรูปรางและมีการเจริญในแนวตั้ง มีโครงสรางหลัก คือ เซลลูโลส : คลอโรพลาสต ทําหนาที่ สังเคราะหนํ้าตาลโดยใชพลังงานแสง : แวคิวโอล ทําหนาที่ บรรจุนํ้าและสารชนิดตาง ๆ ในเซลลสัตว จะมี : ไลโซโซม ทําหนาที่ บรรจุเอนไซมที่มีสมบัติในการยอยสลาย 2.1 การลําเลียงสารผานเซลล มี 4 ประเภท 2.2.1 การแพร คือ การที่สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนสูง ไปสูที่มีความเขมขนตํ่า ออสโมซิส คือ การแพรของนํ้าผานเยื่อหุมเซลล จากบริเวณที่มีนํ้ามากไปสูนํ้านอย แบงเปน - ไฮโพโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนตํ่าหรือนํ้ามาก นํ้าจะไหลเขา ทําใหเซลลใหญโดยถาเปนเซลลพืช จะเตง แตเซลล สัตว จะแตก - ไฮเพอรโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนสูงหรือนํ้านอย นํ้าจะไหลออก ทําใหเซลลเหี่ยว - ไอโซโทนิค คือ สารที่มีความเขมขนเทากับภายในเซลล นํ้าจะไหลเขา = ไหลออก ทําใหเซลลคงเดิม 2.2.2 การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต ( Facilitated Transport) คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนตํ่า โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล ซึ่งไมตองอาศัยพลังงาน โดยมีอัตราเร็วมากกวาการแพร 2.2.3 การลําเลียงแบบใชพลังงาน (Active Transport) คือ การลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความเขมขนตํ่าไปสูบริเวณที่มีความเขมขนสูง โดยมีโปรตีนตัวพาอยูบนเยื่อหุมเซลล และตองอาศัยพลังงาน 2.2.4 การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล คือ การลําเลียงสารที่มีขนาดใหญ เชน โปรตีน คารโบไฮเดรต ซึ่งจะไมสามารถผานโปรตีนตัวพาได แตจะใชเยื่อหุมเซลล โอบลอม ดังนี้ - กระบวนการเอนโดไซโทซิส (Endocytosis) เปนการลําเลียงสารเขาเซลล - กระบวนการเอกโซไซโทซิส (Exocytosis) เปนการลําเลียงสารออกเซลล 2.2 กลไกการรักษาดุลยภาพ 2.3.1 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืชโดยการคายนํ้าออกที่ปากใบ และการดูดนํ้าเขาทางราก 2.3.2 การรักษาดุลยภาพของนํ้าในรางกายคน • เมื่อรางกายเกิดภาวะขาดนํ้า ทําใหเลือดขน มีความดันเลือดตํ่า สมองไฮโพทาลามัสจะกระตุนตอมใตสมองสวนทาย ให หลั่งฮอรโมนแอนติไดยูเรติก ออกมา เพื่อไปกระตุนใหทอหนวยไตดูดนํ้ากลับคืน 2.3.3 การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรางกายคน ถารางกายมีระดับเมแทบอลิซึมสูง (ปฏิกิริยาเคมีตางๆในรางกาย) ทําใหเกิดกาซ CO2 มาก เกิดเปนกรดคารบอนิก ซึ่งแตก ตัวให H+ ออกมา สงผลให pH ในเลือดตํ่าลง หนวยไตจึงทําหนาที่ขับ H+ ออกมาทางปสสาวะ