SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
LOGO
การเรียนรู้

      เป็นกระบวนการที่มีความสาคัญและจาเป็นในการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่า
มนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สาหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่
ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก
อื่น ๆ ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ ที่ว่า "สิ่งที่
ทาให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา ที่จะนึกคิดและ
ปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ . " การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีดาเนิน
ชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้
ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสาเร็จและความพึงพอใจ
ในชีวิตของมนุษย์ด้วย
ความหมายของการเรียนรู้

        ประดินันท์ อุปรมัย (๒๕๔๐, ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา(มนุษย์กับการ
 เรียนรู้) : นนทบุรี, พิมพ์ครั้งที่ ๑๕, หน้า ๑๒๑)
       “ การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับ
 ประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเหตุทาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิม
 แตกต่างไปจากเดิม “ ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
 หมายถึงทั้งประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม
ประสบการณ์ตรงบางอย่างอาจทาให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม แต่ไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ ได้แก่
         ๑. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤทธิ์ยา หรือสิ่งเสพติดบางอย่าง
         ๒. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเจ็บป่วยทางกายหรือทางใจ
         ๓. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเหนื่อยล้าของร่างกาย
         ๔. พฤติกรรมที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนต่างๆ
         ประสบการณ์ทางอ้อม คือ ประสบการณ์ที่ผู้เรียนมิได้พบหรือสัมผัสด้วย
ตนเองโดยตรง แต่อาจได้รับประสบการณ์ทางอ้อมจาก การอบรมสั่งสอนหรือการ
บอกเล่า การอ่านหนังสือต่างๆ และการรับรู้จากสื่อมวลชนต่างๆ




                                                                  www.themegallery.com
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้

        พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกาหนดโดย กลุ่ม
และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนี้
        ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น
ความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การ
นาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล
        ๒. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง
ด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การ
ประเมินค่าและค่านิยม
        ๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น
ความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การ
กระทา การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชานาญ
                                                                   www.themegallery.com
องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้

          ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบ
สาคัญ ๔ ประการ คือ
          ๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความ
พร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและ
ความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป
          ๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็น
ตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการ
สอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนามาใช้



                                                                       www.themegallery.com
๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่
แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้
และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การ
คิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น
         ๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อ
บุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการ
ตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้
ของบุคคลเป็นอันมาก



                                                                www.themegallery.com
ธรรมชาติของการเรียนรู้

         การเรียนรู้มีลักษณะสาคัญดังต่อไปนี้
       ๑. การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการเรียนรู้ของบุคคลจะมี
กระบวนการของการเรียนรู้จากการไม่รู้ไปสู่การเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน คือ
          ๑.๑ มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล
          ๑.๒ บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททั้ง ๕
          ๑.๓ บุคคลแปลความหมายหรือรับรู้สิ่งเร้า
          ๑.๔ บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้
          ๑.๕ บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า



                                                                      www.themegallery.com
๒. การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้อาศัยวุฒิภาวะ
           วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตสูงสุดของพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของบุคคลแต่ละวัยที่เป็นไปตามธรรมชาติ แม้ว่าการ
เรียนรู้จะไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้ต้องอาศัยวุฒิภาวะด้วย เพราะการที่บุคคลจะมี
ความสามารถในการรับรู้หรือตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับว่า
บุคคลนั้นมีวุฒิภาวะเพียงพอหรือไม่
๓. การเรียนรู้เกิดได้ง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน
           การเรียนสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน คือ การเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนต้องการ
จะเรียนหรือสนใจจะเรียน เหมาะกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียนและเกิดประโยชน์
แก่ผู้เรียน การเรียนในสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียนย่อมทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ได้ดีกว่าการเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนไม่ต้องการหรือไม่สนใจ
                                                                          www.themegallery.com
๔. การเรียนรู้แตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธีการในการเรียน
            ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน บุคคลต่างกันอาจเรียนรู้ได้ไม่เท่ากันเพราะบุคคล
อาจมีความพร้อมต่างกัน มีความสามารถในการเรียนต่างกัน มีอารมณ์และความ
สนใจที่จะเรียนต่างกันและมีความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่จะ
เรียนต่างกัน ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน ถ้าใช้วิธีเรียนต่างกัน ผลของการเรียนรู้อาจ
มากน้อยต่างกันได้ และวิธีที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ได้มากสาหรับบุคคลหนึ่งอาจไม่ใช่
วิธีเรียนที่ทาให้อีกบุคคลหนึ่งเกิดการเรียนรู้ได้มากเท่ากับบุคคลนั้นก็ได้




                                                                           www.themegallery.com
การถ่ายโยงการเรียนรู้

            การถ่ายโยงการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ ๒ ลักษณะ คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้
ทางบวก (Positive Transfer) และการถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer)
            การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการ
เรียนรู้ชนิดที่ผลของการเรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็ว
ขึ้น ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก มักเกิดจาก
            ๑. เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
งานแรกอย่างแจ่มแจ้งแล้ว
            ๒. เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง
            ๓. เมื่อผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะนาผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์กับการเรียนรู้อีกงาน

                                                                            www.themegallery.com
๔. เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยชอบที่จะนาความรู้ต่างๆ ที่เคย
เรียนรู้มาก่อนมาลองคิดทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ
            การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer) คือการถ่ายโยงการเรียนรู้
ชนิดที่ผลการเรียนรู้งานหนึ่งไปขัดขวางทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้ช้าลง
หรือยากขึ้นและไม่ได้ดีเท่าที่ควร การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ อาจเกิดขึ้นได้ ๒ แบบ
คือ
            ๑. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผลของการเรียนรู้งานแรกไป
ขัดขวางการเรียนรู้งานที่ ๒
            ๒. แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการเรียนรู้งานที่ ๒ ทาให้
การเรียนรู้งานแรกน้อยลงการเกิดการเรียนรู้ทางลบมักเกิดจาก

                                                                         www.themegallery.com
การนาความรู้ไปใช้

            ๑. ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใหม่ ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน
ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ใหม่มาแล้ว
            ๒. พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่
ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
            ๓. ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่งหวังว่าผู้เรียนทุก
คนจะต้องเกิดการเรียนรู้ที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน
            ๔. ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดี
แล้วจึงจะสอนบทเรียนต่อไป
            ๕. พยายามชี้แนะให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบทเรียนที่มี
ความสัมพันธ์กัน

                                                                             www.themegallery.com
ลักษณะสาคัญ

    แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น จะต้องประกอบด้วยปัจจัย ๓
   ประการ คือ
            ๑. มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทน ถาวร
            ๒. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้นจะต้องเป็นผลมาจาก
   ประสบการณ์ หรือการฝึก การปฏิบัติซ้าๆ เท่านั้น
            ๓. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการเพิ่มพูนในด้าน
   ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทางทักษะทั้งปริมาณและ
   คุณภาพ



                                                             www.themegallery.com
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning)

            ทฤษฎีการเรียนรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะ
  เป็นแนวทางในการกาหนดปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจาก
  ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะทาให้
  เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลงได้
  อย่างไร
  ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญ แบ่งออกได้ ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือ
            ๑. ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories)
            ๒. ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories)



                                                                   www.themegallery.com
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค


        อธิบายถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และ
 สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับการ ตอบสนอง พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวข้อง
 มักจะเป็นพฤติกรรมที่เป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) หรือ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
 อารมณ์ ความรู้สึก บุคคลสาคัญของทฤษฎีนี้ ได้แก่ Pavlov, Watson, Wolpe
 etc.




                                                                      www.themegallery.com
John B. Watson

    นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1878 - 1958) ได้ทาการทดลองการวางเงื่อนไข
 ทางอารมณ์กับเด็กชายอายุประมาณ ๑๑ เดือน โดยใช้หลักการเดียวกับ Pavlov
 หลังการทดลองเขาสรุปหลักเกณฑ์การเรียนรู้ได้ ดังนี้

     ๑. การแผ่ขยายพฤติกรรม (Generalization) มีการแผ่ขยายการตอบสนองที่
 วางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้า ที่คล้ายคลึงกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข

    ๒. การลดภาวะ หรือการดับสูญการตอบสนอง (Extinction) ทาได้ยากต้อง
 ให้สิ่งเร้าใหม่ (UCS ) ที่มีผลตรงข้ามกับสิ่งเร้าเดิม จึงจะได้ผลซึ่งเรียกว่า
 Counter - Conditioning

                                                                   www.themegallery.com
Joseph Wolpe


    นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1958) ได้นาหลักการ Counter - Conditioning
 ของ Watson ไปทดลองใช้บาบัดความกลัว (Phobia) ร่วมกับการใช้เทคนิคผ่อน
 คลายกล้ามเนื้อ (Muscle Relaxation) เรียกวิธีการนี้ว่า Desensitization




                                                             www.themegallery.com
การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน

๑. ครูสามารถนาหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีนี้มาทาความเข้าใจพฤติกรรมของ
ผู้เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกทั้งด้านดีและไม่ดี รวมทั้งเจตคติต่อ
สิ่งแวดล้อมต่างๆ
๒. ครูควรใช้หลักการเรียนรู้จากทฤษฎีปลูกฝังความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อ
เนื้อหาวิชา กิจกรรมนักเรียน ครูผู้สอนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดใน
ตัวผู้เรียน
๓. ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของผู้เรียนได้
โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศจาก
ผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวาง
เงื่อนไขขึ้น กรณีที่ผู้เรียนเกิดความเครียด และวิตกกังวลมาก ครูควรเปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้ผ่อนคลายความรู้สึกได้บ้างตามขอบเขตที่เหมาะสม
                                                                      www.themegallery.com
ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์
(Skinner's Operant Conditioning Theory)
            B.F. Skinner (1904 - 1990) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้ทาการทดลอง
  ด้านจิตวิทยาการศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์การเรียนรู้ที่มีการตอบสนอง
  แบบแสดงการกระทา (Operant Behavior) สกินเนอร์ได้แบ่ง พฤติกรรมของ
  สิ่งมีชีวิตไว้ ๒ แบบ คือ
      ๑. Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดย
  อัตโนมัติ
      ๒. Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กาหนด




                                                                     www.themegallery.com
การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์

      เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้
ความสาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎีการวาง
เงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการเสริมแรง
(Reinforcement) ว่ามีผลทาให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้
สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทา คือ
การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและทางลบ




                                                                     www.themegallery.com
การนาหลักการมาประยุกต์ใช้

    ๑. การเสริมแรง และ การลงโทษ
    ๒. การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม
    ๓. การสร้างบทเรียนสาเร็จรูป




                                             www.themegallery.com
การเสริมแรงและการลงโทษ

       การเสริมแรง (Reinforcement) คือการทาให้อัตราการตอบสนองหรือ
ความถี่ของการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเป็นผลจากการได้รับสิ่งเสริมแรง
(Reinforce) ที่เหมาะสม การเสริมแรงมี ๒ ทาง ได้แก่

      ๑. การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement ) เป็นการให้สิ่งเสริมแรง
ที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น
      ๒. การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) เป็นการนาเอาสิ่งที่
บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น



                                                                     www.themegallery.com
การลงโทษ(Punishment)

 คือ การทาให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมลดลง
 การลงโทษมี ๒ ทาง ได้แก่

    ๑. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เป็นการให้สิ่งเร้าที่บุคคลที่
 ไม่พึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง
    ๒. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เป็นการนาสิ่งเร้าที่บุคคลพึง
 พอใจ หรือสิ่งเสริมแรงออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง




                                                                  www.themegallery.com
ตารางการเสริมแรง
(The Schedule of Reinforcement)
  ๑. การเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Reinforcement) เป็นการให้สิ่งเสริมแรง
  ทุกครั้งที่บุคคลแสดงพฤติกรรมตามต้องการ
  ๒. การเสริมแรงเป็นครั้งคราว (Intermittent Reinforcement) ซึ่งมีการกาหนดตารางได้
  หลายแบบ ดังนี้
     ๒.๑ กาหนดการเสริมแรงตามเวลา (Iinterval schedule)
   ๒.๑.๑ กาหนดเวลาแน่นอน (Fixed Interval Schedules = FI)
   ๒.๑.๒ กาหนดเวลาไม่แน่นอน (Variable Interval Schedules = VI )
     ๒.๒ กาหนดการเสริมแรงโดยใช้อัตรา (Ratio schedule) ๒.๒.๑ กาหนดอัตรา
  แน่นอน (Fixed Ratio Schedules = FR)
   ๒.๒.๒ กาหนดอัตราไม่แน่นอน (Variable Ratio Schedules = VR)
                                                                   www.themegallery.com
การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม


       การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) เป็นการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ มาเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยใช้หลักการ
เสริมแรงและการลงโทษ
       การแต่งพฤติกรรม (Shaping Behavior ) เป็นการเสริมสร้างให้เกิด
พฤติกรรมใหม่ โดยใช้วิธีการเสริมแรงกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละ
น้อย จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมตามต้องการ




                                                                www.themegallery.com
บทเรียนสาเร็จรูป
(Programmed Instruction)
        เป็นบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือครูผู้สอนสร้างขึ้น ประกอบด้วย
  เนื้อหา กิจกรรม คาถามและ คาเฉลย การสร้างบทเรียนโปรแกรมใช้หลักของ
  Skinner คือเมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรม จบ ๑ บท จะมีคาถามยั่วยุให้
  ทดสอบความรู้ความสามารถ แล้วมีคาเฉลยเป็นแรงเสริมให้อยากเรียนบทต่อๆ
  ไปอีก




                                                                   www.themegallery.com
เอกสารอ้างอิง

 ประดินันท์ อุปรมัย . ๒๕๔๐ . เอกสารการสอนชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา หน่วยที่ ๔
     มนุษย์กับการเรียนรู้(น. ๑๑๗ - ๑๕๕) . พิมพ์ครั้งที่ ๑๕ : นนทบุรี, สานักพิมพ์
     มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
 พรรณี ชูทัย เจนจิต . ๒๕๓๘ . จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ ๔ ;
      กรุงเทพ , บริษัทคอมแพคท์พริ้นท์จากัด.
 อัจฉรา ธรรมาภรณ์ .๒๕๓๑. จิตวิทยาการเรียนรู้. ปัตตานี : คณะศึกษาศาสตร์
      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, ๒๕๓๑.




                                                                     www.themegallery.com
The End


          LOGO

More Related Content

What's hot

โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
zeenwine
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
Wes Yod
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
Mam Chongruk
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
suchinmam
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
Katekyo Sama
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลากคำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
Muhammadrusdee Almaarify
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
sutinkripet
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
Jeerapob Seangboonme
 
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
สายฝน ต๊ะวันนา
 

What's hot (20)

โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
Training plan new 4
Training plan new 4Training plan new 4
Training plan new 4
 
ดิน มัทนา ป.4
ดิน มัทนา ป.4ดิน มัทนา ป.4
ดิน มัทนา ป.4
 
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลากคำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
 
Scriven
ScrivenScriven
Scriven
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
 

Viewers also liked

จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
Anny Hotelier
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
Sarawut Tikummul
 
NSN Performance Meals
NSN Performance MealsNSN Performance Meals
NSN Performance Meals
Mike Webb
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sarawut Tikummul
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
Jiraprapa Suwannajak
 

Viewers also liked (14)

จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
Dia do estudante tarde
Dia do estudante   tardeDia do estudante   tarde
Dia do estudante tarde
 
NSN Performance Meals
NSN Performance MealsNSN Performance Meals
NSN Performance Meals
 
Password
PasswordPassword
Password
 
Gygyggyygyu
GygyggyygyuGygyggyygyu
Gygyggyygyu
 
Victorian Wine presentation
Victorian Wine presentationVictorian Wine presentation
Victorian Wine presentation
 
"The Emperor Has No News" - Sioux Falls Content Strategy Group, October 2011
"The Emperor Has No News" - Sioux Falls Content Strategy Group, October 2011"The Emperor Has No News" - Sioux Falls Content Strategy Group, October 2011
"The Emperor Has No News" - Sioux Falls Content Strategy Group, October 2011
 
Operating system
Operating systemOperating system
Operating system
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
"The Self-Directed Strategist: Building a Practice and Managing Organizationa...
"The Self-Directed Strategist: Building a Practice and Managing Organizationa..."The Self-Directed Strategist: Building a Practice and Managing Organizationa...
"The Self-Directed Strategist: Building a Practice and Managing Organizationa...
 
Zee news
Zee newsZee news
Zee news
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 

Similar to จิตวิทยาการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
Mai Amino
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
ซิกส์ zaza
 
งานนำเสนอปลาย
งานนำเสนอปลายงานนำเสนอปลาย
งานนำเสนอปลาย
maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
honeylamon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
Anny Hotelier
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
panggoo
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
yuapawan
 

Similar to จิตวิทยาการเรียนรู้ (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานนำเสนอปลาย
งานนำเสนอปลายงานนำเสนอปลาย
งานนำเสนอปลาย
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 

จิตวิทยาการเรียนรู้

  • 2. การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสาคัญและจาเป็นในการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่า มนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สาหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก อื่น ๆ ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ ที่ว่า "สิ่งที่ ทาให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา ที่จะนึกคิดและ ปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ . " การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีดาเนิน ชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้ ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสาเร็จและความพึงพอใจ ในชีวิตของมนุษย์ด้วย
  • 3. ความหมายของการเรียนรู้ ประดินันท์ อุปรมัย (๒๕๔๐, ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา(มนุษย์กับการ เรียนรู้) : นนทบุรี, พิมพ์ครั้งที่ ๑๕, หน้า ๑๒๑) “ การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับ ประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเหตุทาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิม แตกต่างไปจากเดิม “ ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม หมายถึงทั้งประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม
  • 4. ประสบการณ์ตรงบางอย่างอาจทาให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม แต่ไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ ได้แก่ ๑. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤทธิ์ยา หรือสิ่งเสพติดบางอย่าง ๒. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเจ็บป่วยทางกายหรือทางใจ ๓. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเหนื่อยล้าของร่างกาย ๔. พฤติกรรมที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนต่างๆ ประสบการณ์ทางอ้อม คือ ประสบการณ์ที่ผู้เรียนมิได้พบหรือสัมผัสด้วย ตนเองโดยตรง แต่อาจได้รับประสบการณ์ทางอ้อมจาก การอบรมสั่งสอนหรือการ บอกเล่า การอ่านหนังสือต่างๆ และการรับรู้จากสื่อมวลชนต่างๆ www.themegallery.com
  • 5. จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกาหนดโดย กลุ่ม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนี้ ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น ความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การ นาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล ๒. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง ด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การ ประเมินค่าและค่านิยม ๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็น ความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การ กระทา การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชานาญ www.themegallery.com
  • 6. องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้ ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบ สาคัญ ๔ ประการ คือ ๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความ พร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและ ความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป ๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็น ตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการ สอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนามาใช้ www.themegallery.com
  • 7. ๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่ แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้ และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การ คิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น ๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อ บุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการ ตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ ของบุคคลเป็นอันมาก www.themegallery.com
  • 8. ธรรมชาติของการเรียนรู้ การเรียนรู้มีลักษณะสาคัญดังต่อไปนี้ ๑. การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการเรียนรู้ของบุคคลจะมี กระบวนการของการเรียนรู้จากการไม่รู้ไปสู่การเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน คือ ๑.๑ มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล ๑.๒ บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททั้ง ๕ ๑.๓ บุคคลแปลความหมายหรือรับรู้สิ่งเร้า ๑.๔ บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้ ๑.๕ บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า www.themegallery.com
  • 9. ๒. การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้อาศัยวุฒิภาวะ วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตสูงสุดของพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของบุคคลแต่ละวัยที่เป็นไปตามธรรมชาติ แม้ว่าการ เรียนรู้จะไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้ต้องอาศัยวุฒิภาวะด้วย เพราะการที่บุคคลจะมี ความสามารถในการรับรู้หรือตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับว่า บุคคลนั้นมีวุฒิภาวะเพียงพอหรือไม่ ๓. การเรียนรู้เกิดได้ง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน การเรียนสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน คือ การเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนต้องการ จะเรียนหรือสนใจจะเรียน เหมาะกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียนและเกิดประโยชน์ แก่ผู้เรียน การเรียนในสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียนย่อมทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ได้ดีกว่าการเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนไม่ต้องการหรือไม่สนใจ www.themegallery.com
  • 10. ๔. การเรียนรู้แตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธีการในการเรียน ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน บุคคลต่างกันอาจเรียนรู้ได้ไม่เท่ากันเพราะบุคคล อาจมีความพร้อมต่างกัน มีความสามารถในการเรียนต่างกัน มีอารมณ์และความ สนใจที่จะเรียนต่างกันและมีความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่จะ เรียนต่างกัน ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน ถ้าใช้วิธีเรียนต่างกัน ผลของการเรียนรู้อาจ มากน้อยต่างกันได้ และวิธีที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ได้มากสาหรับบุคคลหนึ่งอาจไม่ใช่ วิธีเรียนที่ทาให้อีกบุคคลหนึ่งเกิดการเรียนรู้ได้มากเท่ากับบุคคลนั้นก็ได้ www.themegallery.com
  • 11. การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ ๒ ลักษณะ คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ ทางบวก (Positive Transfer) และการถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer) การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการ เรียนรู้ชนิดที่ผลของการเรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็ว ขึ้น ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก มักเกิดจาก ๑. เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ งานแรกอย่างแจ่มแจ้งแล้ว ๒. เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง ๓. เมื่อผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะนาผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็น ประโยชน์กับการเรียนรู้อีกงาน www.themegallery.com
  • 12. ๔. เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยชอบที่จะนาความรู้ต่างๆ ที่เคย เรียนรู้มาก่อนมาลองคิดทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer) คือการถ่ายโยงการเรียนรู้ ชนิดที่ผลการเรียนรู้งานหนึ่งไปขัดขวางทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้ช้าลง หรือยากขึ้นและไม่ได้ดีเท่าที่ควร การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ อาจเกิดขึ้นได้ ๒ แบบ คือ ๑. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผลของการเรียนรู้งานแรกไป ขัดขวางการเรียนรู้งานที่ ๒ ๒. แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการเรียนรู้งานที่ ๒ ทาให้ การเรียนรู้งานแรกน้อยลงการเกิดการเรียนรู้ทางลบมักเกิดจาก www.themegallery.com
  • 13. การนาความรู้ไปใช้ ๑. ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใหม่ ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ใหม่มาแล้ว ๒. พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ๓. ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่งหวังว่าผู้เรียนทุก คนจะต้องเกิดการเรียนรู้ที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน ๔. ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดี แล้วจึงจะสอนบทเรียนต่อไป ๕. พยายามชี้แนะให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบทเรียนที่มี ความสัมพันธ์กัน www.themegallery.com
  • 14. ลักษณะสาคัญ แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น จะต้องประกอบด้วยปัจจัย ๓ ประการ คือ ๑. มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทน ถาวร ๒. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้นจะต้องเป็นผลมาจาก ประสบการณ์ หรือการฝึก การปฏิบัติซ้าๆ เท่านั้น ๓. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการเพิ่มพูนในด้าน ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทางทักษะทั้งปริมาณและ คุณภาพ www.themegallery.com
  • 15. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning) ทฤษฎีการเรียนรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะ เป็นแนวทางในการกาหนดปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจาก ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะทาให้ เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลงได้ อย่างไร ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญ แบ่งออกได้ ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือ ๑. ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories) ๒. ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories) www.themegallery.com
  • 16. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค อธิบายถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และ สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับการ ตอบสนอง พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวข้อง มักจะเป็นพฤติกรรมที่เป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) หรือ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง อารมณ์ ความรู้สึก บุคคลสาคัญของทฤษฎีนี้ ได้แก่ Pavlov, Watson, Wolpe etc. www.themegallery.com
  • 17. John B. Watson นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1878 - 1958) ได้ทาการทดลองการวางเงื่อนไข ทางอารมณ์กับเด็กชายอายุประมาณ ๑๑ เดือน โดยใช้หลักการเดียวกับ Pavlov หลังการทดลองเขาสรุปหลักเกณฑ์การเรียนรู้ได้ ดังนี้ ๑. การแผ่ขยายพฤติกรรม (Generalization) มีการแผ่ขยายการตอบสนองที่ วางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้า ที่คล้ายคลึงกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข ๒. การลดภาวะ หรือการดับสูญการตอบสนอง (Extinction) ทาได้ยากต้อง ให้สิ่งเร้าใหม่ (UCS ) ที่มีผลตรงข้ามกับสิ่งเร้าเดิม จึงจะได้ผลซึ่งเรียกว่า Counter - Conditioning www.themegallery.com
  • 18. Joseph Wolpe นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1958) ได้นาหลักการ Counter - Conditioning ของ Watson ไปทดลองใช้บาบัดความกลัว (Phobia) ร่วมกับการใช้เทคนิคผ่อน คลายกล้ามเนื้อ (Muscle Relaxation) เรียกวิธีการนี้ว่า Desensitization www.themegallery.com
  • 19. การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน ๑. ครูสามารถนาหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีนี้มาทาความเข้าใจพฤติกรรมของ ผู้เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกทั้งด้านดีและไม่ดี รวมทั้งเจตคติต่อ สิ่งแวดล้อมต่างๆ ๒. ครูควรใช้หลักการเรียนรู้จากทฤษฎีปลูกฝังความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อ เนื้อหาวิชา กิจกรรมนักเรียน ครูผู้สอนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดใน ตัวผู้เรียน ๓. ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของผู้เรียนได้ โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศจาก ผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวาง เงื่อนไขขึ้น กรณีที่ผู้เรียนเกิดความเครียด และวิตกกังวลมาก ครูควรเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ผ่อนคลายความรู้สึกได้บ้างตามขอบเขตที่เหมาะสม www.themegallery.com
  • 20. ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์ (Skinner's Operant Conditioning Theory) B.F. Skinner (1904 - 1990) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้ทาการทดลอง ด้านจิตวิทยาการศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์การเรียนรู้ที่มีการตอบสนอง แบบแสดงการกระทา (Operant Behavior) สกินเนอร์ได้แบ่ง พฤติกรรมของ สิ่งมีชีวิตไว้ ๒ แบบ คือ ๑. Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดย อัตโนมัติ ๒. Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กาหนด www.themegallery.com
  • 21. การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ ความสาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎีการวาง เงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement) ว่ามีผลทาให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้ สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและทางลบ www.themegallery.com
  • 22. การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ ๑. การเสริมแรง และ การลงโทษ ๒. การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม ๓. การสร้างบทเรียนสาเร็จรูป www.themegallery.com
  • 23. การเสริมแรงและการลงโทษ การเสริมแรง (Reinforcement) คือการทาให้อัตราการตอบสนองหรือ ความถี่ของการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเป็นผลจากการได้รับสิ่งเสริมแรง (Reinforce) ที่เหมาะสม การเสริมแรงมี ๒ ทาง ได้แก่ ๑. การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement ) เป็นการให้สิ่งเสริมแรง ที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น ๒. การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) เป็นการนาเอาสิ่งที่ บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น www.themegallery.com
  • 24. การลงโทษ(Punishment) คือ การทาให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมลดลง การลงโทษมี ๒ ทาง ได้แก่ ๑. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เป็นการให้สิ่งเร้าที่บุคคลที่ ไม่พึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง ๒. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เป็นการนาสิ่งเร้าที่บุคคลพึง พอใจ หรือสิ่งเสริมแรงออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง www.themegallery.com
  • 25. ตารางการเสริมแรง (The Schedule of Reinforcement) ๑. การเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Reinforcement) เป็นการให้สิ่งเสริมแรง ทุกครั้งที่บุคคลแสดงพฤติกรรมตามต้องการ ๒. การเสริมแรงเป็นครั้งคราว (Intermittent Reinforcement) ซึ่งมีการกาหนดตารางได้ หลายแบบ ดังนี้ ๒.๑ กาหนดการเสริมแรงตามเวลา (Iinterval schedule) ๒.๑.๑ กาหนดเวลาแน่นอน (Fixed Interval Schedules = FI) ๒.๑.๒ กาหนดเวลาไม่แน่นอน (Variable Interval Schedules = VI ) ๒.๒ กาหนดการเสริมแรงโดยใช้อัตรา (Ratio schedule) ๒.๒.๑ กาหนดอัตรา แน่นอน (Fixed Ratio Schedules = FR) ๒.๒.๒ กาหนดอัตราไม่แน่นอน (Variable Ratio Schedules = VR) www.themegallery.com
  • 26. การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) เป็นการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ มาเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยใช้หลักการ เสริมแรงและการลงโทษ การแต่งพฤติกรรม (Shaping Behavior ) เป็นการเสริมสร้างให้เกิด พฤติกรรมใหม่ โดยใช้วิธีการเสริมแรงกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละ น้อย จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมตามต้องการ www.themegallery.com
  • 27. บทเรียนสาเร็จรูป (Programmed Instruction) เป็นบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือครูผู้สอนสร้างขึ้น ประกอบด้วย เนื้อหา กิจกรรม คาถามและ คาเฉลย การสร้างบทเรียนโปรแกรมใช้หลักของ Skinner คือเมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรม จบ ๑ บท จะมีคาถามยั่วยุให้ ทดสอบความรู้ความสามารถ แล้วมีคาเฉลยเป็นแรงเสริมให้อยากเรียนบทต่อๆ ไปอีก www.themegallery.com
  • 28. เอกสารอ้างอิง ประดินันท์ อุปรมัย . ๒๕๔๐ . เอกสารการสอนชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา หน่วยที่ ๔ มนุษย์กับการเรียนรู้(น. ๑๑๗ - ๑๕๕) . พิมพ์ครั้งที่ ๑๕ : นนทบุรี, สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พรรณี ชูทัย เจนจิต . ๒๕๓๘ . จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ ๔ ; กรุงเทพ , บริษัทคอมแพคท์พริ้นท์จากัด. อัจฉรา ธรรมาภรณ์ .๒๕๓๑. จิตวิทยาการเรียนรู้. ปัตตานี : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, ๒๕๓๑. www.themegallery.com
  • 29. The End LOGO