SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อซัลโมเนลลาระดับฝูงในการผลิตสุกรทางตอนเหนือของประเทศไทย
Risk factor for the herd level of Salmonella in swine production, Northern Thailand
ประภาส พัชนี1
ดนัย สินธุยะ2
พชรพร บุญโคตร2
ภาคภูมิ ตาดี2
และ กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์2
Prapas Patchanee1
Danai Sinthuya2
Phacharaporn Boonkhot2
Pakpoom Tadee2
and Kittipong Kumpapong2
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงในระดับฟาร์มที่สัมพันธ์กับความชุกในสุกรขุนในพื้นที่
ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย โดยทาการเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรขุน 80 ฟาร์ม มาตรวจเพาะเชื้อด้วยวิธี
ทางจุลชีววิทยาตามมาตรฐาน ISO 6579: 2002 ทาการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเพื่อนามาวิเคราะห์ด้วย
สถิติชนิด Multivariate logistic regression โดยผลการศึกษาพบความชุกในสุกรขุนร้อยละ 56.25 (45/80, 95%
CI: 45.37-67.12) ปัจจัยเสี่ยงในระดับฟาร์มที่มีผลต่อความชุกและการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรขุน
คือ การไม่แบ่งชนิดสุกรเลี้ยงภายในโรงเรือน (OR=3.69, 95% CI: 1.45-9.39)
ABSTRACT
The aim of this study was to investigate the prevalence and to identify factors associated
Salmonella contamination in swine farms in northern, Thailand. Fecal samples were collected from 80
farms, and all samples were cultured by conventional microbiological methods following ISO
6579:2002 for Salmonella detection. Farm information was also obtained by questionnaire for further
statistical analysis with multivariable logistic regression. Salmonella burden in fattening pigs was
56.25 (45/80, 95% CI: 45.37-67.12). Risk factors of Salmonella contamination in fattening pigs
including’s without swine’s classification (OR=3.69, 95% CI: 1.45-9.39)
Key Words: Risk factor, Salmonella, Swine production
E-mail address: kumpapong.k@gmail.com
1
คลินิกสุกร ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100
1
Swine clinic, Department of Food Animal Clinic, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, Chiang Mai 50100
2
นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สัตวแพทย์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100
2
Student in Veterinary Science, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, Chiang Mai 50100
คานา
ซัลโมเนลลาเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ (Food poisoning) ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญของ
ปัญหาทางด้านสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลก (Thorns, 2000) การติดต่อและแพร่ระบาดของเชื้อ
ซัลโมเนลลาสู่คน เกิดจากการได้รับเชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการบริโภคอาหาร
ซึ่งจะเกิดการปนเปื้อนเชื้อในระหว่างกระบวนการผลิตหรือจากกระบวนการจัดเก็บอาหารที่ไม่ถูกสุขอนามัย
(Mead et al., 1999) โดยความรุนแรงของเชื้อทาให้เกิดอาการอุจจาระร่วง ปวดช่องท้อง คลื่นไส้ อาเจียน และ
อาจพบมีไข้ในบางราย ในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่า เช่น เด็ก คนชรา หญิงตั้งครรภ์ และผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ถือเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อสูง (Susceptible population)
เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ถือเป็นแหล่งที่มาที่สาคัญของการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในอาหาร
เนื่องจากซัลโมเนลลาเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในทางเดินอาหารของสัตว์ ที่ใช้บริโภคเกือบทุก
ชนิดโดยเฉพาะในสุกร ซึ่งพบว่าเนื้อสุกรถือเป็นแหล่งที่ง่ายต่อการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลา โดยรายงานการ
ปนเปื้อนสามารถพบได้ตั้งแต่กระบวนการก่อนการเก็บเกี่ยว (Pre-harvest) เริ่มตั้งแต่การปนเปื้อนมาในวัตถุดิบ
อาหารสัตว์ การได้รับการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สุกรสู่ลูกสุกร (Horizontal transmission) การติดต่อและ
แพร่กระจายของเชื้อในระหว่างการเลี้ยงสุกรในระดับฟาร์ม ระดับโรงฆ่าและในกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว
(Post-harvest) เริ่มตั้งแต่ในระดับโรงงานแปรรูป ระดับการค้าปลีกจนถึงผู้บริโภค
ในประเทศไทย จากรายงานการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษจากสานักระบาดวิทยา พบมีผู้ป่วยด้วยโรค
อาหารเป็นพิษในปี พ.ศ. 2555 จานวน 119,392 ราย (Bureau of Epidemiology, 2012) ซึ่งจากรายงานพบว่า
เชื้อซัลโมเนลลาเป็นสาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดโรคดังกล่าว โดยจะเห็นได้ว่ามีรายงานการศึกษาจานวนมากได้บ่งชี้
ถึงการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลา ในกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกร (Botteldoorn et al., 2003) โดยจาก
การรายงานความชุกของประเทศไทยพบความชุกในสุกรแม่พันธุ์ร้อยละ 20 (Ngasaman, 2007) ในสุกรขุนร้อย
ละ 23.08 (Sanguankiat et al., 2010) ในโรงฆ่าและชาแหละสุกรร้อยละ 28 (Padungtod and Kaneene,
2006) ในขณะที่การพบเชื้อซัลโมเนลลาในเนื้อสุกรพบถึงร้อยละ 29 (Chantong, 2009) วัตถุประสงค์ของ
การศึกษานี้เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงในระดับฟาร์มสุกรขุน เพื่อบ่งชี้ถึงจุดเสี่ยงที่พบการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลาใน
ฟาร์มสุกร ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร โดยสามารถนาไปประยุกต์ใช้ สาหรับการป้ องกัน
และแก้ไขปัญหาการติดเชื้อในฟาร์มสุกรต่อไป
อุปกรณ์และวิธีการ
วิธีการศึกษา
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) โดยหาความชุกในระดับฝูงสุกรขุน
และปัจจัยในฟาร์มสุกรที่มีความสัมพันธ์ต่อการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรขุน พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
และจังหวัดลาพูน ทาการหาความชุก (Prevalence) โดยการเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรมาตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา
ด้วยวิธีการทางจุลชีววิทยาและการหาปัจจัยเสี่ยง (Risk factor) ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามด้วย
สถิติชนิด Multivariable logistic regression
การตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา
การตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา ใช้วิธี Modified method โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน ISO 6579:2002
(Microbiology of food and animal feeding stuff-Horizontal method for the detection of Salmonella spp.)
สาหรับการตรวจตัวอย่างจากอาหารสุกรและน้าดื่มของสุกร ส่วนตัวอย่างอุจจาระสุกรทาการตรวจโดยอ้างอิงตาม
มาตรฐาน ISO 6579:2002 Amendment 1:2007, Annex D (Detection of Salmonella spp. in animal faeces
and in environmental samples from the primary production stage)
ตัวอย่างอุจจาระและอาหารสุกร ทาการชั่งตัวอย่างละ 25 กรัม ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Buffered
Peptone Water (BPW, Merck, Germany) ปริมาณ 225 มิลลิลิตร หรือในอัตราส่วน 1:10 ตีผสมตัวอย่างให้เข้า
กันเป็นเวลา 2 นาที สาหรับตัวอย่างน้าทาการตวงน้าปริมาตร 100 มิลลิลิตร ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ BPW
(Merck, Germany) ที่มีความเข้มข้นสองเท่า ปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากัน แล้วนาไปบ่มที่อุณหภูมิ 37˚C
เป็นเวลา 24 ชั่วโมง สาหรับตัวอย่างน้า ดูดตัวอย่างปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Rappaport-
Vassiliadis broth หรือ (RV; Merck, Germany) ส่วนตัวอย่างอุจจาระสุกรดูดปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร หยดลงบน
ผิวของอาหารเลี้ยงเชื้อ Modified Semi-solid Rappaport Vassiliadis (MSRV, Oxoid, England) เป็นจานวน 3
จุด ห่างจากขอบจานเพาะเชื้อจุดละ 1.5 เซนติเมตร โดยตัวอย่างจาก RV broth และ MSRV บ่มที่อุณหภูมิ 42˚C
เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ตัวอย่างที่สงสัยว่ามีเชื้อซัลโมเนลลา ใน RV broth ให้เลือกหลอดที่มีสีขาวขุ่น ส่วนบนอาหาร
MSRV จะมีสีขาวขุ่นแผ่ไปรอบๆจุดที่หยดตัวอย่าง จากนั้นใช้ Loop แตะเชื้อที่แผ่ไปไกลสุดประมาณ 5 จุดบน
MSRV และจุ่มลงไปใน RV broth นาไปเพาะต่อบนอาหาร Xylose Lysine Deoxycholate Agar (XLD, Oxoid,
England) และ Brilliant-green Phenol-red Lactose Sucrose Agar (BPLS, Oxoid, England) บ่มที่อุณหภูมิ
37˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นเลือกโคโลนีที่มีลักษณะเฉพาะของเชื้อซัลโมเนลลา ดังนี้คือ โคโลนีบนอาหาร
เลี้ยงเชื้อ XLD จะมีรูปร่างกลม ขนาดปานกลาง สีแดง มีจุดสีดาตรงกลางโคโลนีเป็นการสร้างไฮโดรเจนซัลไฟด์
ผิวอาหารเลี้ยงเชื้อเป็นสีแดง ส่วนโคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อ BPLS จะมีรูปร่างกลม มีขนาดปานกลาง โคโลนีมีสี
ขาวใสบนอาหารเลี้ยงเชื้อสีแดง จากนั้นเลือกโคโลนีจากอาหารทั้ง 2 ชนิด มาทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีบน
อาหารเลี้ยงเชื้อ Triple Sugar Iron agar หรือ TSI (Oxoid, England), Urea agar (Merck, Germany) และ
Motile Indole Lysine (MIL, Difco, USA) นาเชื้อที่เพาะแยกได้ทดสอบด้วยวิธีการตกตะกอน (Slide
agglutination) ด้วยแอนติซีรัม (Antiserum) เพื่อจาแนกกลุ่มของเชื้อซัลโมเนลลาจากนั้นส่งตัวอย่างเชื้อไปตรวจ
ยืนยันอีกครั้งที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
คานวณความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรจากสัดส่วนจานวนฟาร์มที่ให้ผลบวกต่อการทดสอบ
หาเชื้อกับจานวนฟาร์มทั้งหมดในพื้นที่ (n=80) การตอบแบบสอบถามของเกษตรกรวิเคราะห์ผลด้วยสถิติเชิง
พรรณนา (Descriptive) ส่วนปัจจัยเสี่ยงของการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรวิเคราะห์โดยใช้สถิติชนิด
Multivariable Logistic Regression ด้วยโปรแกรม SPSS version 20®
(SPSS Inc., USA)
ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาในตัวอย่างจากฟาร์มสุกรขุน
จากการศึกษานี้พบความชุกในตัวอย่างอุจจาระสุกรขุนร้อยละ 56.25 (45/80, 95% CI: 45.37-67.12)
น้าสาหรับให้สุกรดื่มภายในฟาร์มร้อยละ 17.5 (14/80, 95% CI: 9.17-25.82) อาหารสุกรร้อยละ 3.75 (3/80,
95% CI: 0.41-7.91) ดังแสดงใน Table 1
Table 1 The prevalence of Salmonella contamination in swine herd
Samples No. Positive Prevalence (%) 95% Confidence Interval
Feces 45/80 56.25 45.37-67.12
Water 14/80 17.5 9.17-25.82
Feed 3/80 3.75 0.41-7.91
จากการสัมภาษณ์เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรขุนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูนจานวน 80 ฟาร์ม
พบว่า เกษตรกรเลี้ยงสุกรขุนในฟาร์มขนาดเล็กร้อยละ 67.50 (54/80) ฟาร์มขนาดใหญ่ร้อยละ 32.50 (26/80)
ระบบฟาร์มสุกรเป็นระบบเปิดร้อยละ 91.25 (73/80) ระบบปิดร้อยละ 8.75 (7/80) การแยกชนิดสุกรเลี้ยงใน
โรงเรือนมีการแยกชนิดร้อยละ 57.50 (46/80) ไม่มีการแยกชนิดร้อยละ 42.50 (34/80) บริเวณที่ตั้งฟาร์มอยู่ใน
แหล่งชุมชนร้อยละ 38.75 (31/80) อยู่นอกแหล่งชุมชนร้อยละ 61.25 (49/80) ลักษณะคอกสุกรขุนเป็นคอกเหล็ก
ร้อยละ 16.25 (13/80) คอกคอนกรีตร้อยละ 83.75 (67/80) ชนิดพื้นคอกเป็นพื้นปูด้วยแผ่นคอนกรีตสาเร็จรูปร้อย
ละ 7.50 (6/80) พื้นคอนกรีตร้อยละ 92.50 (74/80) ฟาร์มมีระบบป้ องกันเชื้อโรคก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 62.50
(50/80) ไม่มีระบบป้ องกันเชื้อโรคก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 37.50 (30/80) มีบันทึกการเข้าออกฟาร์มร้อยละ 8.75
(7/80) ไม่มีบันทึกการเข้าออกฟาร์มร้อยละ 91.25 (73/80) มีการอาบน้าก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 5 (4/80) ไม่มีการ
อาบน้าก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 95 (76/80) มีการเปลี่ยนชุดก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 22.50 (18/80) ไม่มีการเปลี่ยนชุด
ก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 77.50 (62/80) มีบ่อจุ่มฆ่าเชื้อก่อนเข้าโรงเรือนร้อยละ 76.25 (61/80) ไม่มีบ่อจุ่มฆ่าเชื้อ
ก่อนเข้าโรงเรือนร้อยละ 23.75 (19/80) การล้างพักคอกก่อนนาสุกรใหม่เข้ามาเลี้ยง มีการล้างพักคอกร้อยละ
86.25 (69/80) ไม่มีการล้างพักคอกร้อยละ 13.75 (11/80) ระยะเวลาในการล้างพักคอก 1-2 สัปดาห์ร้อยละ 80
(64/80) หนึ่งเดือนขึ้นไปร้อยละ 20 (16/80) การกาจัดซากสุกรที่ตาย กาจัดภายในฟาร์มร้อยละ 33.75 (27/80)
กาจัดภายนอกฟาร์มร้อยละ 66.25 (53/80) มีการกักสุกรก่อนนาเข้าเลี้ยงในฟาร์มร้อยละ 56.25 (45/80) ไม่มีการ
กักร้อยละ 43.75 (35/80)
รูปแบบอาหารที่ให้เป็นอาหารสาเร็จรูปร้อยละ 22.50 (18/80) อาหารผสมเองร้อยละ 77.50 (62/80)
ชนิดของอาหารเป็นชนิดเม็ดร้อยละ 72.50 (58/80) ชนิดผงร้อยละ 27.50 (22/80) มีการบาบัดน้าก่อนใช้ร้อยละ
40 (32/80) ไม่มีการบาบัดร้อยละ 60 (48/80) มีการพักน้าหน้าโรงเรือนร้อยละ 6.25 (5/80) ไม่มีการพักน้าร้อยละ
93.75 (75/80) มีการบาบัดน้าก่อนให้สุกรดื่มร้อยละ 42.50 (34/80) ไม่มีการบาบัดน้าร้อยละ 57.50 (46/80)
บาบัดน้าโดยใช้คลอรีนร้อยละ 91.25 (73/80) บาบัดด้วยวิธีอื่นร้อยละ 8.75 (7/80)
พบหนูภายในฟาร์มร้อยละ 5 (4/80) และร้อยละ 95 (76/80) ไม่พบหนูภายในฟาร์ม การพบแมลงวัน
ภายในฟาร์มพบร้อยละ 65 (28/80) และร้อยละ 35 (52/80) ไม่พบแมลงวันภายในฟาร์มสุกร จากการตรวจหา
เชื้อซัลโมเนลลา เพื่อแสดงสถานะของฟาร์มที่ให้ผลบวกต่อเชื้อซัลโมเนลลาพบฟาร์มที่ให้ผลบวกต่อเชื้อซัล
โมเนลลาร้อยละ 52.5 (42/80) ฟาร์มที่ให้ผลลบร้อยละ 47.5 (38/80)
การวิเคราะห์ข้อมูลได้ทาการคัดเลือกปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อการพบเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร
เพื่อใช้ในการทดสอบทางสถิติ Chi-square test ที่ระดับความเชื่อมั่น p<0.05 ได้แก่ ขนาดของฟาร์ม รูปแบบ
ฟาร์ม การแบ่งชนิดสุกรเลี้ยงภายในโรงเรือน การฆ่าเชื้อยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสุกรและอาหาร บ่อจุ่มฆ่า
เชื้อก่อนเข้าโรงเรือน แหล่งที่มาของอาหารที่ให้สุกร การบาบัดน้าก่อนให้สุกรดื่ม การทาความสะอาดและล้าง
พักคอก การพบสัตว์พาหะ (หนูและแมลงวัน) การกาจัดซากสุกรและการกักสุกรก่อนนาเข้าเลี้ยงภายในฟาร์ม
ดังแสดงใน Table 2 จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ Multivariate logistic regression ด้วยวิธีการเลือกตัวแปรทีละ
ตัวเข้าสู่ตัวแบบจนสุดท้ายได้ตัวแปรที่มีค่านัยสาคัญทางสถิติ p<0.05 ในตัวแบบสุดท้าย (Final model) ดัง
แสดงใน Table 3
จาก Table 2 พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการติดเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรขุนอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติ โดยพบ 2 ปัจจัยได้แก่ ขนาดของฟาร์ม (OR=2.94, 95% CI: 1.12-7.75) และการแบ่งชนิดสุกรเลี้ยงใน
โรงเรือน (OR=3.69, 95% CI: 1.45-9.39) ตามลาดับ และพบปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการป้ องกัน (Protective
factor) เชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มสุกรจานวน 2 ปัจจัยแต่ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติได้แก่ การบาบัดน้าก่อนใช้
ภายในฟาร์ม (OR=0.97, 95% CI: 0.36-2.62) และการกาจัดซากสุกรภายนอกฟาร์ม (OR=0.95, 95% CI:
0.34-2.71)
ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการพบเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มแต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติได้แก่
การเลี้ยงสุกรในฟาร์มรูปแบบสหกรณ์ (OR=1.6, 95% CI: 0.54-4.69) ไม่มีระบบการฆ่าเชื้อยาพาหนะขนส่ง
สุกรและอาหารก่อนเข้าฟาร์ม (OR=2.32, 95% CI: 0.92-5.86) ไม่มีบ่อจุ่มรองเท้าเพื่อฆ่าเชื้อก่อนเข้าโรงเรือน
(OR=1.69, 95% CI: 0.60-4.75) การใช้อาหารผสมเอง (OR=1.85, 95% CI: 0.89-1.47) การไม่ทาความ
สะอาดและล้างพักคอก (OR=1.65, 95% CI: 0.46-5.95) การพบหนูภายในฟาร์ม (OR=1.23, 95% CI: 0.50-
3.04) การพบแมลงวันภายในฟาร์ม (OR=1.70, 95% CI: 0.42-6.90) และการไม่กักสุกรก่อนนาเข้าเลี้ยงใน
ฟาร์ม (OR=1.41, 95% CI: 0.58-3.45) ตามลาดับ
Table 2 Univariable analysis of management factors associated with Salmonella isolation and
adjusted for within-herd clustering in fattening pigs, Northern Thailand
Factors No Positive OR (95% CI) p-value
1. Farm size Small 54 35 2.94 (1.12-7.75) 0.026*
Large 26 10
2. Farm pattern Co-operative 63 37 1.6 (0.54-4.69) 0.389
Integrated 17 8
3. Swine’s classification No 46 32 3.69 (1.45-9.39) 0.005*
Yes 34 13
4. Disinfection of vehicle transporting feed and pigs No 50 32 2.32 (0.92-5.86) 0.071
Yes 30 13
5. Draping disinfection before enter to pens No 61 37 1.69 (0.60-4.75) 0.312
Yes 19 8
6. Source of feed Self-mixing 62 37 1.85 (0.89-1.47) 0.251
Completed 18 8
7. Water treatment before drink Yes 34 19 0.97 (0.36-2.62) 0.954
No 46 26
8. Clean and rest the pens No 69 40 1.65 (0.46-5.95) 0.437
Yes 11 5
9. Rodents Found 48 28 1.23 (0.50-3.04) 0.645
Not found 32 17
10. Flies Found 71 41 1.70 (0.42-6.90) 0.448
Not found 9 4
11. Carcasses disposal management Out 27 15 0.95 (0.34-2.71) 0.928
In 53 30
12. Disease monitoring new pig No 45 27 1.41 (0.58-3.45) 0.443
Yes 35 18
*Significant level at p<0.05
Table 3 Multivariable logistic regression of factors effecting of fattening pigs contaminated of
Salmonella fattening pigs, Northern Thailand
Factors
Univariable analysis Multivariable analysis
Simple
2
-test
Simple
logistic regression
Multiple
logistic regression
P-value OR (95% CI) P-value OR (95% CI) P-value
Farm size 0.026 2.94 (1.12-7.75) 0.06 Not selected -
Swine’s classification 0.005 3.69 (1.45-9.39) 0.010 3.39 (1.30-8.82) 0.012*
*Significant level at p<0.05
เมื่อทาการวิเคราะห์ Multivariable logistic regression พบว่ามี 1 ปัจจัยที่สามารถนาเข้าสู่ตัวแบบ
สุดท้าย (Final model) ได้ลงตัว (Table 3) คือ การไม่แบ่งชนิดสุกรก่อนเลี้ยงในโรงเรือนมีความสัมพันธ์ต่อการ
ติดเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรขุนและฟาร์มสุกรอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (OR=3.39, 95% CI: 1.30-8.82)
การเปรียบเทียบความชุกของเชื ้อซัลโมเนลลาในฝูงสุกรขุนของการศึกษานี ้พบว่า แตกต่างจาก
การศึกษาความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาในลูกสุกรและสุกรขุนในจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งพบความชุกที่ร้อยละ 23.08
(Sangvatanakul, 2007) และพบต่ากว่าการศึกษาในสุกรขุนในสุกรก่อนกระบวนฆ่าและชาแหละในจังหวัด
เชียงใหม่ที่พบความชุกในสุกรขุนก่อนฆ่าร้อยละ 63 (Dorn-In et al., 2009) สาเหตุที่พบความชุกในระดับสูง
กว่าที่มีรายงานมาก่อนหน้าของการศึกษาในครั้งนี ้ เนื่องจากในพื ้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
โดยเฉพาะบริเวณพื ้นที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูน เป็นพื ้นที่ที่มีการเลี ้ยงสุกรอย่างหนาแน่นและ
เกษตรกรส่วนใหญ่จะมีการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มสุกรไม่ดีพอ ประกอบกับเกษตรกรยังขาดความเข้าใจด้าน
สุขอนามัยที่ดีภายในฟาร์มจึงทาให้ยังคงพบการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลาจากตัวสุกรปนเปื้อนไปยังบริเวณ
สิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มสุกรอยู่ในระดับที่สูง โดยผลการศึกษาดังกล่าวได้ สอดคล้องกับการศึกษาความชุก
และความไวต่อสารต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาในโรงฆ่าและชาแหละสุกรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัด
ลาพูนยังคงพบเชื้อซัลโมเนลลาปนเปื้อนอยู่ในกระบวนการผลิตเนื้อสุกรถึงร้อยละ 86.5 (Min Thit Lwin, 2013)
โดยสาเหตุเกิดจากการปนเปื้อนข้าม (Cross contamination) ในระหว่างกระบวนการขนส่งสุกร ตลอดจนการ
ปนเปื้อนระหว่างกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกรในโรงฆ่า ซึ่งจะต้องมีมาตรการในการควบคุมมาตรฐานโรง
ฆ่าและชาแหละสุกรต่อไป
ความชุกในตัวอย่างน้าสาหรับให้สุกรดื่มภายในฟาร์มมีความสัมพันธ์ต่อการบาบัดน้าก่อนให้สุกรดื่ม
ซึ่งสอดคล้องกับการรายงานการควบคุมการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรที่ระบุว่าการบาบัดน้าก่อน
นามาใช้ภายในฟาร์มและก่อนให้สุกรดื่มช่วยลดความเสี่ยงของการติดเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรและสิ่งแวดล้อม
ภายในฟาร์มได้ (Friendships et al., 2012) ส่วนตัวอย่างอาหารสุกรมีความสัมพันธ์ต่อการพบการปนเปื้อน
เชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มที่ใช้อาหารผสมเองสาหรับสุกร ซึ่งการปนเปื้อนเชื้ออาจเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการ
ผสมหรือเกิดการปนเปื้อนจากสัตว์พาหะจากการจัดเก็บวัตถุดิบอาหารที่ไม่มีการป้ องกันสัตว์อื่นในโรงเก็บ
อาหารและวัตถุดิบ
การไม่แบ่งชนิดสุกรก่อนเลี้ยงในโรงเรือนเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญต่อการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาใน
ฟาร์มและในฝูงสุกร ซึ่งการศึกษานี้ทาการศึกษาฟาร์มสุกรในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน ซึ่งการจัดการฟาร์มและการ
เลี้ยงสุกรเป็นการเลี้ยงในระบบครัวเรือน ซึ่งมักมีการเลี้ยงสุกรหลายช่วงอายุภายในโรงเรือนเดียวกัน อันเกิด
จากข้อจากัดด้านค่าใช้จ่ายและการจัดการที่ง่ายต่อการเข้าถึงตัวสุกรในแต่ละช่วงอายุ จึงทาให้เกิดการปนเปื้อน
ข้ามของเชื้อไปยังสุกรช่วงอายุที่ต่างกัน เช่น การปนเปื้อนข้ามจากสุกรพันธุ์ไปสู่ลูกสุกร จนถึงสุกรขุน ประกอบ
กับการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มที่ขาดสุขอนามัยที่ดีในการผลิตสุกรจึงทาให้ยังคงพบปัญหาของการปนเปื้อน
เชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มและการผลิตสุกร
สรุป
ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเพียงการศึกษาขั้นต้นของสายการผลิตสุกร (Pork production chain)
ซึ่งจาเป็นต้องมีการศึกษาต่อไปในส่วนของกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกร ไปจนถึงผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรที่มี
จาหน่ายตามท้องตลาดและการบริโภคของคนไทย เพื่อร่วมหาแนวทางในการป้ องกันแก้ไขการปนเปื้อนเชื้อซัล
โมเนลลาในกระบวนการผลิตสุกรต่อไป ซึ่งผลจากการการศึกษาครั้งนี้ได้ระบุปัจจัยที่เสี่ยงของการปนเปื้อน
เชื้อซัลโมเนลลาในการผลิตสุกรขุนระดับฟาร์ม ซึ่งเกษตรกรหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเลี้ยงสุกรสามารถ
นาไปปฏิบัติเพื่อป้ องกัน ควบคุมปริมาณการปนเปื้อนเชื้อภายในฟาร์มต่อไป
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณ ฝ่ายสนับสนุนการวิจัยพัฒนาและวิศวกรรม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการทาวิจัยครั้งนี้
(รหัสโครงการ P-10-10409)
เอกสารอ้างอิง
Botteldoorn, N., Heyndrickx, M., Rijpens, N., Grijspeerdt, K., & Herman, L. 2003. Salmonella on pig
carcasses: positive pigs and cross contamination in the slaughterhouse. Journal of applied
microbiology, 95(5), 891–903.
CDC. 2008. Preliminary FoodNet data on the incidence of infection with pathogens transmitted
commonly through food-10 states, 2007. MMWR. Morbidity and mortality weekly report,
57(14), 366–370.
Dorn-In, S., Fries, R., Padungtod, P., Kyule, M. N., Baumann, M. P. O., Srikitjakarn, L., Zessin, K.-H.
2009. A cross-sectional study of Salmonella in pre-slaughter pigs in a production
compartment of northern Thailand. Preventive veterinary medicine, 88(1), 15–23.
EFSA, Scientific Report of EFSA: EU summary report on zoonoses, zoonotic agents and food-borne
outbreaks 2011.(n.d.), Cited September 24th
2012, from http://www.efsa.europa.eu/en/efsa
journal/pub/3129.htm
Friendship, R. M. 2012. Critical review of on–farm intervention strategies against Salmonella. Cited
September 24th
2012, from http://www.bpex.org.uk/R-and-D/R-and-D/On-farm_intervention.
aspx
Mead, P. S., Slutsker, L., Dietz, V., McCaig, L. F., Bresee, J. S., Shapiro, C., and Tauxe, R. V. 1999.
Food-related illness and death in the United States. Emerging infectious diseases, 5(5), 607–
625.
Min Thit Lwin. 2013. Prevalence and Antimicrobial Resistance of Salmonella spp. in Slaughtered Pig
in Pork Production in Chiang Mai and Lamphun, Thailand., pp 144-147. In 10th
Year
Anniversary of Veterinary Public Health Centre for Asia Pacific. 2-6 July.
Padungtod, P., and Kaneene, J. B. 2006. Salmonella in food animals and humans in northern
Thailand. International journal of food microbiology, 108(3), 346–354.
Sangvatanakul, P. 2007. Prevalence of Salmonella in Piglets and in the Fattening period in Chiang
Mai, Thailand. M.Sc.Thesis, Chiang Mai University and Freie Universitat Berlin.
Ngasaman, R. 2007. Prevalence of Salmonella in Breeder Sows in Chiang Mai, Thailand
M.Sc.Thesis, Chiang Mai University and Freie Universitat Berlin.
Sanguankiat, A., Pinthong, R., Padungtod, P., Baumann, M. P. O., Zessin, K.-H., Srikitjakarn, L., and
Fries, R. 2010. A cross-sectional study of Salmonella in pork products in Chiang Mai,
Thailand. Foodborne pathogens and disease, 7(8), 873–878.
Thomas, M. K., Majowicz, S. E., Pollari, F., & Sockett, P. N. (2008). Burden of acute gastrointestinal
illness in Canada, 1999-2007: interim summary of NSAGI activities. Canada communicable
disease report = Relevé des maladies transmissible au Canada, 34(5), 8–15.
Thorns, C. J. 2000. Bacterial food-borne zoonoses. Revue scientifique et technique (International
Office of Epizootics), 19(1), 226–239.
Chantong, W. 2009. Salmonella Isolation from Slaughter Pigs and Carcasses in a Slaughterhouse in
Chiang Mai, Thailand. M.Sc.Thesis, Chiang Mai University and Freie Universitat Berlin.
Bureau of Epidemiology. 2012. Annual epidemiological surveillance report 2012. Department of
Disease Control, Ministry of Public Health. Cited September 24th
2012, from: http://www.boe.
moph.go.th/boedb/d506_1/index.php

More Related Content

What's hot

กนกวรรณ
กนกวรรณกนกวรรณ
กนกวรรณAui Bigy
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2Sopit Pairo
 

What's hot (8)

กนกวรรณ
กนกวรรณกนกวรรณ
กนกวรรณ
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
8
88
8
 
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่มอีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2คำให้การตอประชาชน Final r2
คำให้การตอประชาชน Final r2
 
Gap
GapGap
Gap
 

Viewers also liked

โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้Nyzott Notty
 
Plant proteins ppt
Plant proteins pptPlant proteins ppt
Plant proteins pptvasuki silva
 
Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...
Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...
Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...DSM Animal Nutrition & Health
 
ถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf pdfffff
ถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf    pdfffffถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf    pdfffff
ถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf pdfffffwipawanee
 
Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014
Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014
Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014DSM Animal Nutrition & Health
 
Soybean breeding persentation final 1
Soybean breeding persentation final 1Soybean breeding persentation final 1
Soybean breeding persentation final 1Shukla Prabha Shankar
 
ตารางดูแลประจำวัน
ตารางดูแลประจำวันตารางดูแลประจำวัน
ตารางดูแลประจำวันi_cavalry
 
Application Of NIRS In Feed Industry
Application Of NIRS In Feed IndustryApplication Of NIRS In Feed Industry
Application Of NIRS In Feed Industryguest06ad101
 
Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...
Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...
Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...SLOPE Project
 
Application FTIR and NIR in food
Application FTIR and NIR in foodApplication FTIR and NIR in food
Application FTIR and NIR in foodDebomitra Dey
 

Viewers also liked (16)

โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
 
Plant proteins ppt
Plant proteins pptPlant proteins ppt
Plant proteins ppt
 
Sustainable Intensification of Dairy Production Indonesia
Sustainable Intensification of Dairy Production Indonesia Sustainable Intensification of Dairy Production Indonesia
Sustainable Intensification of Dairy Production Indonesia
 
Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...
Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...
Nutritional value of soybean meal: Influence of origin and opportunities for ...
 
Soyabean
Soyabean   Soyabean
Soyabean
 
Soy bean
Soy beanSoy bean
Soy bean
 
ถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf pdfffff
ถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf    pdfffffถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf    pdfffff
ถั่วๆๆๆๆๆ.Pdf pdfffff
 
Organicmilk
OrganicmilkOrganicmilk
Organicmilk
 
Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014
Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014
Proteases a tool to improve soybean quality-glitsoe amsterdam2014
 
Soybean breeding persentation final 1
Soybean breeding persentation final 1Soybean breeding persentation final 1
Soybean breeding persentation final 1
 
ตารางดูแลประจำวัน
ตารางดูแลประจำวันตารางดูแลประจำวัน
ตารางดูแลประจำวัน
 
Deana Knuteson
Deana KnutesonDeana Knuteson
Deana Knuteson
 
Application Of NIRS In Feed Industry
Application Of NIRS In Feed IndustryApplication Of NIRS In Feed Industry
Application Of NIRS In Feed Industry
 
Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...
Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...
Evaluation of near infrared (NIR) spectroscopy as a tool for determination of...
 
Swati nir
Swati nirSwati nir
Swati nir
 
Application FTIR and NIR in food
Application FTIR and NIR in foodApplication FTIR and NIR in food
Application FTIR and NIR in food
 

Similar to บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒

พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
อย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่ง
อย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่งอย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่ง
อย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่งoryornoi
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisijack114
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดsombat nirund
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แผนงาน นสธ.
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566Postharvest Technology Innovation Center
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลสารภี
 

Similar to บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒ (20)

พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
 
อย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่ง
อย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่งอย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่ง
อย.เผยผลตรวจพิสูจน์อาหารพบเชื้อโรคในน้ําฝรั่ง
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosis
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Pa2
Pa2Pa2
Pa2
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
 
hepatotoxicity
hepatotoxicityhepatotoxicity
hepatotoxicity
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 

บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒

  • 1.
  • 2. ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อซัลโมเนลลาระดับฝูงในการผลิตสุกรทางตอนเหนือของประเทศไทย Risk factor for the herd level of Salmonella in swine production, Northern Thailand ประภาส พัชนี1 ดนัย สินธุยะ2 พชรพร บุญโคตร2 ภาคภูมิ ตาดี2 และ กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์2 Prapas Patchanee1 Danai Sinthuya2 Phacharaporn Boonkhot2 Pakpoom Tadee2 and Kittipong Kumpapong2 บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงในระดับฟาร์มที่สัมพันธ์กับความชุกในสุกรขุนในพื้นที่ ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย โดยทาการเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรขุน 80 ฟาร์ม มาตรวจเพาะเชื้อด้วยวิธี ทางจุลชีววิทยาตามมาตรฐาน ISO 6579: 2002 ทาการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเพื่อนามาวิเคราะห์ด้วย สถิติชนิด Multivariate logistic regression โดยผลการศึกษาพบความชุกในสุกรขุนร้อยละ 56.25 (45/80, 95% CI: 45.37-67.12) ปัจจัยเสี่ยงในระดับฟาร์มที่มีผลต่อความชุกและการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรขุน คือ การไม่แบ่งชนิดสุกรเลี้ยงภายในโรงเรือน (OR=3.69, 95% CI: 1.45-9.39) ABSTRACT The aim of this study was to investigate the prevalence and to identify factors associated Salmonella contamination in swine farms in northern, Thailand. Fecal samples were collected from 80 farms, and all samples were cultured by conventional microbiological methods following ISO 6579:2002 for Salmonella detection. Farm information was also obtained by questionnaire for further statistical analysis with multivariable logistic regression. Salmonella burden in fattening pigs was 56.25 (45/80, 95% CI: 45.37-67.12). Risk factors of Salmonella contamination in fattening pigs including’s without swine’s classification (OR=3.69, 95% CI: 1.45-9.39) Key Words: Risk factor, Salmonella, Swine production E-mail address: kumpapong.k@gmail.com 1 คลินิกสุกร ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100 1 Swine clinic, Department of Food Animal Clinic, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, Chiang Mai 50100 2 นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สัตวแพทย์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100 2 Student in Veterinary Science, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, Chiang Mai 50100
  • 3. คานา ซัลโมเนลลาเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ (Food poisoning) ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญของ ปัญหาทางด้านสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลก (Thorns, 2000) การติดต่อและแพร่ระบาดของเชื้อ ซัลโมเนลลาสู่คน เกิดจากการได้รับเชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการบริโภคอาหาร ซึ่งจะเกิดการปนเปื้อนเชื้อในระหว่างกระบวนการผลิตหรือจากกระบวนการจัดเก็บอาหารที่ไม่ถูกสุขอนามัย (Mead et al., 1999) โดยความรุนแรงของเชื้อทาให้เกิดอาการอุจจาระร่วง ปวดช่องท้อง คลื่นไส้ อาเจียน และ อาจพบมีไข้ในบางราย ในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่า เช่น เด็ก คนชรา หญิงตั้งครรภ์ และผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ถือเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อสูง (Susceptible population) เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ถือเป็นแหล่งที่มาที่สาคัญของการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในอาหาร เนื่องจากซัลโมเนลลาเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในทางเดินอาหารของสัตว์ ที่ใช้บริโภคเกือบทุก ชนิดโดยเฉพาะในสุกร ซึ่งพบว่าเนื้อสุกรถือเป็นแหล่งที่ง่ายต่อการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลา โดยรายงานการ ปนเปื้อนสามารถพบได้ตั้งแต่กระบวนการก่อนการเก็บเกี่ยว (Pre-harvest) เริ่มตั้งแต่การปนเปื้อนมาในวัตถุดิบ อาหารสัตว์ การได้รับการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สุกรสู่ลูกสุกร (Horizontal transmission) การติดต่อและ แพร่กระจายของเชื้อในระหว่างการเลี้ยงสุกรในระดับฟาร์ม ระดับโรงฆ่าและในกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว (Post-harvest) เริ่มตั้งแต่ในระดับโรงงานแปรรูป ระดับการค้าปลีกจนถึงผู้บริโภค ในประเทศไทย จากรายงานการสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษจากสานักระบาดวิทยา พบมีผู้ป่วยด้วยโรค อาหารเป็นพิษในปี พ.ศ. 2555 จานวน 119,392 ราย (Bureau of Epidemiology, 2012) ซึ่งจากรายงานพบว่า เชื้อซัลโมเนลลาเป็นสาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดโรคดังกล่าว โดยจะเห็นได้ว่ามีรายงานการศึกษาจานวนมากได้บ่งชี้ ถึงการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลา ในกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกร (Botteldoorn et al., 2003) โดยจาก การรายงานความชุกของประเทศไทยพบความชุกในสุกรแม่พันธุ์ร้อยละ 20 (Ngasaman, 2007) ในสุกรขุนร้อย ละ 23.08 (Sanguankiat et al., 2010) ในโรงฆ่าและชาแหละสุกรร้อยละ 28 (Padungtod and Kaneene, 2006) ในขณะที่การพบเชื้อซัลโมเนลลาในเนื้อสุกรพบถึงร้อยละ 29 (Chantong, 2009) วัตถุประสงค์ของ การศึกษานี้เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงในระดับฟาร์มสุกรขุน เพื่อบ่งชี้ถึงจุดเสี่ยงที่พบการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลาใน ฟาร์มสุกร ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร โดยสามารถนาไปประยุกต์ใช้ สาหรับการป้ องกัน และแก้ไขปัญหาการติดเชื้อในฟาร์มสุกรต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ วิธีการศึกษา งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) โดยหาความชุกในระดับฝูงสุกรขุน และปัจจัยในฟาร์มสุกรที่มีความสัมพันธ์ต่อการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรขุน พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลาพูน ทาการหาความชุก (Prevalence) โดยการเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรมาตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา ด้วยวิธีการทางจุลชีววิทยาและการหาปัจจัยเสี่ยง (Risk factor) ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามด้วย สถิติชนิด Multivariable logistic regression
  • 4. การตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา การตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา ใช้วิธี Modified method โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน ISO 6579:2002 (Microbiology of food and animal feeding stuff-Horizontal method for the detection of Salmonella spp.) สาหรับการตรวจตัวอย่างจากอาหารสุกรและน้าดื่มของสุกร ส่วนตัวอย่างอุจจาระสุกรทาการตรวจโดยอ้างอิงตาม มาตรฐาน ISO 6579:2002 Amendment 1:2007, Annex D (Detection of Salmonella spp. in animal faeces and in environmental samples from the primary production stage) ตัวอย่างอุจจาระและอาหารสุกร ทาการชั่งตัวอย่างละ 25 กรัม ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Buffered Peptone Water (BPW, Merck, Germany) ปริมาณ 225 มิลลิลิตร หรือในอัตราส่วน 1:10 ตีผสมตัวอย่างให้เข้า กันเป็นเวลา 2 นาที สาหรับตัวอย่างน้าทาการตวงน้าปริมาตร 100 มิลลิลิตร ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ BPW (Merck, Germany) ที่มีความเข้มข้นสองเท่า ปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากัน แล้วนาไปบ่มที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง สาหรับตัวอย่างน้า ดูดตัวอย่างปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Rappaport- Vassiliadis broth หรือ (RV; Merck, Germany) ส่วนตัวอย่างอุจจาระสุกรดูดปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร หยดลงบน ผิวของอาหารเลี้ยงเชื้อ Modified Semi-solid Rappaport Vassiliadis (MSRV, Oxoid, England) เป็นจานวน 3 จุด ห่างจากขอบจานเพาะเชื้อจุดละ 1.5 เซนติเมตร โดยตัวอย่างจาก RV broth และ MSRV บ่มที่อุณหภูมิ 42˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ตัวอย่างที่สงสัยว่ามีเชื้อซัลโมเนลลา ใน RV broth ให้เลือกหลอดที่มีสีขาวขุ่น ส่วนบนอาหาร MSRV จะมีสีขาวขุ่นแผ่ไปรอบๆจุดที่หยดตัวอย่าง จากนั้นใช้ Loop แตะเชื้อที่แผ่ไปไกลสุดประมาณ 5 จุดบน MSRV และจุ่มลงไปใน RV broth นาไปเพาะต่อบนอาหาร Xylose Lysine Deoxycholate Agar (XLD, Oxoid, England) และ Brilliant-green Phenol-red Lactose Sucrose Agar (BPLS, Oxoid, England) บ่มที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นเลือกโคโลนีที่มีลักษณะเฉพาะของเชื้อซัลโมเนลลา ดังนี้คือ โคโลนีบนอาหาร เลี้ยงเชื้อ XLD จะมีรูปร่างกลม ขนาดปานกลาง สีแดง มีจุดสีดาตรงกลางโคโลนีเป็นการสร้างไฮโดรเจนซัลไฟด์ ผิวอาหารเลี้ยงเชื้อเป็นสีแดง ส่วนโคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อ BPLS จะมีรูปร่างกลม มีขนาดปานกลาง โคโลนีมีสี ขาวใสบนอาหารเลี้ยงเชื้อสีแดง จากนั้นเลือกโคโลนีจากอาหารทั้ง 2 ชนิด มาทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีบน อาหารเลี้ยงเชื้อ Triple Sugar Iron agar หรือ TSI (Oxoid, England), Urea agar (Merck, Germany) และ Motile Indole Lysine (MIL, Difco, USA) นาเชื้อที่เพาะแยกได้ทดสอบด้วยวิธีการตกตะกอน (Slide agglutination) ด้วยแอนติซีรัม (Antiserum) เพื่อจาแนกกลุ่มของเชื้อซัลโมเนลลาจากนั้นส่งตัวอย่างเชื้อไปตรวจ ยืนยันอีกครั้งที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ คานวณความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรจากสัดส่วนจานวนฟาร์มที่ให้ผลบวกต่อการทดสอบ หาเชื้อกับจานวนฟาร์มทั้งหมดในพื้นที่ (n=80) การตอบแบบสอบถามของเกษตรกรวิเคราะห์ผลด้วยสถิติเชิง พรรณนา (Descriptive) ส่วนปัจจัยเสี่ยงของการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรวิเคราะห์โดยใช้สถิติชนิด Multivariable Logistic Regression ด้วยโปรแกรม SPSS version 20® (SPSS Inc., USA)
  • 5. ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง ความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาในตัวอย่างจากฟาร์มสุกรขุน จากการศึกษานี้พบความชุกในตัวอย่างอุจจาระสุกรขุนร้อยละ 56.25 (45/80, 95% CI: 45.37-67.12) น้าสาหรับให้สุกรดื่มภายในฟาร์มร้อยละ 17.5 (14/80, 95% CI: 9.17-25.82) อาหารสุกรร้อยละ 3.75 (3/80, 95% CI: 0.41-7.91) ดังแสดงใน Table 1 Table 1 The prevalence of Salmonella contamination in swine herd Samples No. Positive Prevalence (%) 95% Confidence Interval Feces 45/80 56.25 45.37-67.12 Water 14/80 17.5 9.17-25.82 Feed 3/80 3.75 0.41-7.91 จากการสัมภาษณ์เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรขุนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูนจานวน 80 ฟาร์ม พบว่า เกษตรกรเลี้ยงสุกรขุนในฟาร์มขนาดเล็กร้อยละ 67.50 (54/80) ฟาร์มขนาดใหญ่ร้อยละ 32.50 (26/80) ระบบฟาร์มสุกรเป็นระบบเปิดร้อยละ 91.25 (73/80) ระบบปิดร้อยละ 8.75 (7/80) การแยกชนิดสุกรเลี้ยงใน โรงเรือนมีการแยกชนิดร้อยละ 57.50 (46/80) ไม่มีการแยกชนิดร้อยละ 42.50 (34/80) บริเวณที่ตั้งฟาร์มอยู่ใน แหล่งชุมชนร้อยละ 38.75 (31/80) อยู่นอกแหล่งชุมชนร้อยละ 61.25 (49/80) ลักษณะคอกสุกรขุนเป็นคอกเหล็ก ร้อยละ 16.25 (13/80) คอกคอนกรีตร้อยละ 83.75 (67/80) ชนิดพื้นคอกเป็นพื้นปูด้วยแผ่นคอนกรีตสาเร็จรูปร้อย ละ 7.50 (6/80) พื้นคอนกรีตร้อยละ 92.50 (74/80) ฟาร์มมีระบบป้ องกันเชื้อโรคก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 62.50 (50/80) ไม่มีระบบป้ องกันเชื้อโรคก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 37.50 (30/80) มีบันทึกการเข้าออกฟาร์มร้อยละ 8.75 (7/80) ไม่มีบันทึกการเข้าออกฟาร์มร้อยละ 91.25 (73/80) มีการอาบน้าก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 5 (4/80) ไม่มีการ อาบน้าก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 95 (76/80) มีการเปลี่ยนชุดก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 22.50 (18/80) ไม่มีการเปลี่ยนชุด ก่อนเข้าฟาร์มร้อยละ 77.50 (62/80) มีบ่อจุ่มฆ่าเชื้อก่อนเข้าโรงเรือนร้อยละ 76.25 (61/80) ไม่มีบ่อจุ่มฆ่าเชื้อ ก่อนเข้าโรงเรือนร้อยละ 23.75 (19/80) การล้างพักคอกก่อนนาสุกรใหม่เข้ามาเลี้ยง มีการล้างพักคอกร้อยละ 86.25 (69/80) ไม่มีการล้างพักคอกร้อยละ 13.75 (11/80) ระยะเวลาในการล้างพักคอก 1-2 สัปดาห์ร้อยละ 80 (64/80) หนึ่งเดือนขึ้นไปร้อยละ 20 (16/80) การกาจัดซากสุกรที่ตาย กาจัดภายในฟาร์มร้อยละ 33.75 (27/80) กาจัดภายนอกฟาร์มร้อยละ 66.25 (53/80) มีการกักสุกรก่อนนาเข้าเลี้ยงในฟาร์มร้อยละ 56.25 (45/80) ไม่มีการ กักร้อยละ 43.75 (35/80) รูปแบบอาหารที่ให้เป็นอาหารสาเร็จรูปร้อยละ 22.50 (18/80) อาหารผสมเองร้อยละ 77.50 (62/80) ชนิดของอาหารเป็นชนิดเม็ดร้อยละ 72.50 (58/80) ชนิดผงร้อยละ 27.50 (22/80) มีการบาบัดน้าก่อนใช้ร้อยละ 40 (32/80) ไม่มีการบาบัดร้อยละ 60 (48/80) มีการพักน้าหน้าโรงเรือนร้อยละ 6.25 (5/80) ไม่มีการพักน้าร้อยละ 93.75 (75/80) มีการบาบัดน้าก่อนให้สุกรดื่มร้อยละ 42.50 (34/80) ไม่มีการบาบัดน้าร้อยละ 57.50 (46/80) บาบัดน้าโดยใช้คลอรีนร้อยละ 91.25 (73/80) บาบัดด้วยวิธีอื่นร้อยละ 8.75 (7/80) พบหนูภายในฟาร์มร้อยละ 5 (4/80) และร้อยละ 95 (76/80) ไม่พบหนูภายในฟาร์ม การพบแมลงวัน ภายในฟาร์มพบร้อยละ 65 (28/80) และร้อยละ 35 (52/80) ไม่พบแมลงวันภายในฟาร์มสุกร จากการตรวจหา
  • 6. เชื้อซัลโมเนลลา เพื่อแสดงสถานะของฟาร์มที่ให้ผลบวกต่อเชื้อซัลโมเนลลาพบฟาร์มที่ให้ผลบวกต่อเชื้อซัล โมเนลลาร้อยละ 52.5 (42/80) ฟาร์มที่ให้ผลลบร้อยละ 47.5 (38/80) การวิเคราะห์ข้อมูลได้ทาการคัดเลือกปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อการพบเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร เพื่อใช้ในการทดสอบทางสถิติ Chi-square test ที่ระดับความเชื่อมั่น p<0.05 ได้แก่ ขนาดของฟาร์ม รูปแบบ ฟาร์ม การแบ่งชนิดสุกรเลี้ยงภายในโรงเรือน การฆ่าเชื้อยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสุกรและอาหาร บ่อจุ่มฆ่า เชื้อก่อนเข้าโรงเรือน แหล่งที่มาของอาหารที่ให้สุกร การบาบัดน้าก่อนให้สุกรดื่ม การทาความสะอาดและล้าง พักคอก การพบสัตว์พาหะ (หนูและแมลงวัน) การกาจัดซากสุกรและการกักสุกรก่อนนาเข้าเลี้ยงภายในฟาร์ม ดังแสดงใน Table 2 จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ Multivariate logistic regression ด้วยวิธีการเลือกตัวแปรทีละ ตัวเข้าสู่ตัวแบบจนสุดท้ายได้ตัวแปรที่มีค่านัยสาคัญทางสถิติ p<0.05 ในตัวแบบสุดท้าย (Final model) ดัง แสดงใน Table 3 จาก Table 2 พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการติดเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรขุนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ โดยพบ 2 ปัจจัยได้แก่ ขนาดของฟาร์ม (OR=2.94, 95% CI: 1.12-7.75) และการแบ่งชนิดสุกรเลี้ยงใน โรงเรือน (OR=3.69, 95% CI: 1.45-9.39) ตามลาดับ และพบปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการป้ องกัน (Protective factor) เชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มสุกรจานวน 2 ปัจจัยแต่ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติได้แก่ การบาบัดน้าก่อนใช้ ภายในฟาร์ม (OR=0.97, 95% CI: 0.36-2.62) และการกาจัดซากสุกรภายนอกฟาร์ม (OR=0.95, 95% CI: 0.34-2.71) ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการพบเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มแต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติได้แก่ การเลี้ยงสุกรในฟาร์มรูปแบบสหกรณ์ (OR=1.6, 95% CI: 0.54-4.69) ไม่มีระบบการฆ่าเชื้อยาพาหนะขนส่ง สุกรและอาหารก่อนเข้าฟาร์ม (OR=2.32, 95% CI: 0.92-5.86) ไม่มีบ่อจุ่มรองเท้าเพื่อฆ่าเชื้อก่อนเข้าโรงเรือน (OR=1.69, 95% CI: 0.60-4.75) การใช้อาหารผสมเอง (OR=1.85, 95% CI: 0.89-1.47) การไม่ทาความ สะอาดและล้างพักคอก (OR=1.65, 95% CI: 0.46-5.95) การพบหนูภายในฟาร์ม (OR=1.23, 95% CI: 0.50- 3.04) การพบแมลงวันภายในฟาร์ม (OR=1.70, 95% CI: 0.42-6.90) และการไม่กักสุกรก่อนนาเข้าเลี้ยงใน ฟาร์ม (OR=1.41, 95% CI: 0.58-3.45) ตามลาดับ
  • 7. Table 2 Univariable analysis of management factors associated with Salmonella isolation and adjusted for within-herd clustering in fattening pigs, Northern Thailand Factors No Positive OR (95% CI) p-value 1. Farm size Small 54 35 2.94 (1.12-7.75) 0.026* Large 26 10 2. Farm pattern Co-operative 63 37 1.6 (0.54-4.69) 0.389 Integrated 17 8 3. Swine’s classification No 46 32 3.69 (1.45-9.39) 0.005* Yes 34 13 4. Disinfection of vehicle transporting feed and pigs No 50 32 2.32 (0.92-5.86) 0.071 Yes 30 13 5. Draping disinfection before enter to pens No 61 37 1.69 (0.60-4.75) 0.312 Yes 19 8 6. Source of feed Self-mixing 62 37 1.85 (0.89-1.47) 0.251 Completed 18 8 7. Water treatment before drink Yes 34 19 0.97 (0.36-2.62) 0.954 No 46 26 8. Clean and rest the pens No 69 40 1.65 (0.46-5.95) 0.437 Yes 11 5 9. Rodents Found 48 28 1.23 (0.50-3.04) 0.645 Not found 32 17 10. Flies Found 71 41 1.70 (0.42-6.90) 0.448 Not found 9 4 11. Carcasses disposal management Out 27 15 0.95 (0.34-2.71) 0.928 In 53 30 12. Disease monitoring new pig No 45 27 1.41 (0.58-3.45) 0.443 Yes 35 18 *Significant level at p<0.05 Table 3 Multivariable logistic regression of factors effecting of fattening pigs contaminated of Salmonella fattening pigs, Northern Thailand Factors Univariable analysis Multivariable analysis Simple 2 -test Simple logistic regression Multiple logistic regression P-value OR (95% CI) P-value OR (95% CI) P-value Farm size 0.026 2.94 (1.12-7.75) 0.06 Not selected - Swine’s classification 0.005 3.69 (1.45-9.39) 0.010 3.39 (1.30-8.82) 0.012* *Significant level at p<0.05
  • 8. เมื่อทาการวิเคราะห์ Multivariable logistic regression พบว่ามี 1 ปัจจัยที่สามารถนาเข้าสู่ตัวแบบ สุดท้าย (Final model) ได้ลงตัว (Table 3) คือ การไม่แบ่งชนิดสุกรก่อนเลี้ยงในโรงเรือนมีความสัมพันธ์ต่อการ ติดเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรขุนและฟาร์มสุกรอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (OR=3.39, 95% CI: 1.30-8.82) การเปรียบเทียบความชุกของเชื ้อซัลโมเนลลาในฝูงสุกรขุนของการศึกษานี ้พบว่า แตกต่างจาก การศึกษาความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาในลูกสุกรและสุกรขุนในจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งพบความชุกที่ร้อยละ 23.08 (Sangvatanakul, 2007) และพบต่ากว่าการศึกษาในสุกรขุนในสุกรก่อนกระบวนฆ่าและชาแหละในจังหวัด เชียงใหม่ที่พบความชุกในสุกรขุนก่อนฆ่าร้อยละ 63 (Dorn-In et al., 2009) สาเหตุที่พบความชุกในระดับสูง กว่าที่มีรายงานมาก่อนหน้าของการศึกษาในครั้งนี ้ เนื่องจากในพื ้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณพื ้นที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูน เป็นพื ้นที่ที่มีการเลี ้ยงสุกรอย่างหนาแน่นและ เกษตรกรส่วนใหญ่จะมีการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มสุกรไม่ดีพอ ประกอบกับเกษตรกรยังขาดความเข้าใจด้าน สุขอนามัยที่ดีภายในฟาร์มจึงทาให้ยังคงพบการปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลาจากตัวสุกรปนเปื้อนไปยังบริเวณ สิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มสุกรอยู่ในระดับที่สูง โดยผลการศึกษาดังกล่าวได้ สอดคล้องกับการศึกษาความชุก และความไวต่อสารต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาในโรงฆ่าและชาแหละสุกรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัด ลาพูนยังคงพบเชื้อซัลโมเนลลาปนเปื้อนอยู่ในกระบวนการผลิตเนื้อสุกรถึงร้อยละ 86.5 (Min Thit Lwin, 2013) โดยสาเหตุเกิดจากการปนเปื้อนข้าม (Cross contamination) ในระหว่างกระบวนการขนส่งสุกร ตลอดจนการ ปนเปื้อนระหว่างกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกรในโรงฆ่า ซึ่งจะต้องมีมาตรการในการควบคุมมาตรฐานโรง ฆ่าและชาแหละสุกรต่อไป ความชุกในตัวอย่างน้าสาหรับให้สุกรดื่มภายในฟาร์มมีความสัมพันธ์ต่อการบาบัดน้าก่อนให้สุกรดื่ม ซึ่งสอดคล้องกับการรายงานการควบคุมการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรที่ระบุว่าการบาบัดน้าก่อน นามาใช้ภายในฟาร์มและก่อนให้สุกรดื่มช่วยลดความเสี่ยงของการติดเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรและสิ่งแวดล้อม ภายในฟาร์มได้ (Friendships et al., 2012) ส่วนตัวอย่างอาหารสุกรมีความสัมพันธ์ต่อการพบการปนเปื้อน เชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มที่ใช้อาหารผสมเองสาหรับสุกร ซึ่งการปนเปื้อนเชื้ออาจเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการ ผสมหรือเกิดการปนเปื้อนจากสัตว์พาหะจากการจัดเก็บวัตถุดิบอาหารที่ไม่มีการป้ องกันสัตว์อื่นในโรงเก็บ อาหารและวัตถุดิบ การไม่แบ่งชนิดสุกรก่อนเลี้ยงในโรงเรือนเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญต่อการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาใน ฟาร์มและในฝูงสุกร ซึ่งการศึกษานี้ทาการศึกษาฟาร์มสุกรในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน ซึ่งการจัดการฟาร์มและการ เลี้ยงสุกรเป็นการเลี้ยงในระบบครัวเรือน ซึ่งมักมีการเลี้ยงสุกรหลายช่วงอายุภายในโรงเรือนเดียวกัน อันเกิด จากข้อจากัดด้านค่าใช้จ่ายและการจัดการที่ง่ายต่อการเข้าถึงตัวสุกรในแต่ละช่วงอายุ จึงทาให้เกิดการปนเปื้อน ข้ามของเชื้อไปยังสุกรช่วงอายุที่ต่างกัน เช่น การปนเปื้อนข้ามจากสุกรพันธุ์ไปสู่ลูกสุกร จนถึงสุกรขุน ประกอบ กับการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มที่ขาดสุขอนามัยที่ดีในการผลิตสุกรจึงทาให้ยังคงพบปัญหาของการปนเปื้อน เชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มและการผลิตสุกร
  • 9. สรุป ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเพียงการศึกษาขั้นต้นของสายการผลิตสุกร (Pork production chain) ซึ่งจาเป็นต้องมีการศึกษาต่อไปในส่วนของกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกร ไปจนถึงผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรที่มี จาหน่ายตามท้องตลาดและการบริโภคของคนไทย เพื่อร่วมหาแนวทางในการป้ องกันแก้ไขการปนเปื้อนเชื้อซัล โมเนลลาในกระบวนการผลิตสุกรต่อไป ซึ่งผลจากการการศึกษาครั้งนี้ได้ระบุปัจจัยที่เสี่ยงของการปนเปื้อน เชื้อซัลโมเนลลาในการผลิตสุกรขุนระดับฟาร์ม ซึ่งเกษตรกรหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเลี้ยงสุกรสามารถ นาไปปฏิบัติเพื่อป้ องกัน ควบคุมปริมาณการปนเปื้อนเชื้อภายในฟาร์มต่อไป กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ฝ่ายสนับสนุนการวิจัยพัฒนาและวิศวกรรม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการทาวิจัยครั้งนี้ (รหัสโครงการ P-10-10409) เอกสารอ้างอิง Botteldoorn, N., Heyndrickx, M., Rijpens, N., Grijspeerdt, K., & Herman, L. 2003. Salmonella on pig carcasses: positive pigs and cross contamination in the slaughterhouse. Journal of applied microbiology, 95(5), 891–903. CDC. 2008. Preliminary FoodNet data on the incidence of infection with pathogens transmitted commonly through food-10 states, 2007. MMWR. Morbidity and mortality weekly report, 57(14), 366–370. Dorn-In, S., Fries, R., Padungtod, P., Kyule, M. N., Baumann, M. P. O., Srikitjakarn, L., Zessin, K.-H. 2009. A cross-sectional study of Salmonella in pre-slaughter pigs in a production compartment of northern Thailand. Preventive veterinary medicine, 88(1), 15–23. EFSA, Scientific Report of EFSA: EU summary report on zoonoses, zoonotic agents and food-borne outbreaks 2011.(n.d.), Cited September 24th 2012, from http://www.efsa.europa.eu/en/efsa journal/pub/3129.htm Friendship, R. M. 2012. Critical review of on–farm intervention strategies against Salmonella. Cited September 24th 2012, from http://www.bpex.org.uk/R-and-D/R-and-D/On-farm_intervention. aspx Mead, P. S., Slutsker, L., Dietz, V., McCaig, L. F., Bresee, J. S., Shapiro, C., and Tauxe, R. V. 1999. Food-related illness and death in the United States. Emerging infectious diseases, 5(5), 607– 625. Min Thit Lwin. 2013. Prevalence and Antimicrobial Resistance of Salmonella spp. in Slaughtered Pig in Pork Production in Chiang Mai and Lamphun, Thailand., pp 144-147. In 10th Year Anniversary of Veterinary Public Health Centre for Asia Pacific. 2-6 July.
  • 10. Padungtod, P., and Kaneene, J. B. 2006. Salmonella in food animals and humans in northern Thailand. International journal of food microbiology, 108(3), 346–354. Sangvatanakul, P. 2007. Prevalence of Salmonella in Piglets and in the Fattening period in Chiang Mai, Thailand. M.Sc.Thesis, Chiang Mai University and Freie Universitat Berlin. Ngasaman, R. 2007. Prevalence of Salmonella in Breeder Sows in Chiang Mai, Thailand M.Sc.Thesis, Chiang Mai University and Freie Universitat Berlin. Sanguankiat, A., Pinthong, R., Padungtod, P., Baumann, M. P. O., Zessin, K.-H., Srikitjakarn, L., and Fries, R. 2010. A cross-sectional study of Salmonella in pork products in Chiang Mai, Thailand. Foodborne pathogens and disease, 7(8), 873–878. Thomas, M. K., Majowicz, S. E., Pollari, F., & Sockett, P. N. (2008). Burden of acute gastrointestinal illness in Canada, 1999-2007: interim summary of NSAGI activities. Canada communicable disease report = Relevé des maladies transmissible au Canada, 34(5), 8–15. Thorns, C. J. 2000. Bacterial food-borne zoonoses. Revue scientifique et technique (International Office of Epizootics), 19(1), 226–239. Chantong, W. 2009. Salmonella Isolation from Slaughter Pigs and Carcasses in a Slaughterhouse in Chiang Mai, Thailand. M.Sc.Thesis, Chiang Mai University and Freie Universitat Berlin. Bureau of Epidemiology. 2012. Annual epidemiological surveillance report 2012. Department of Disease Control, Ministry of Public Health. Cited September 24th 2012, from: http://www.boe. moph.go.th/boedb/d506_1/index.php