SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
สารเภสัชรังสีที่ใช้ทาง
เวชศาสตร์นิวเคลียร์
Thai National Formulary 2015
Radiopharmaceutical used in Nuclear Medicine
โดย
คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
และ คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
เงื่อนไขการใช้คู่มือ (disclaimer)
คู่มือฉบับนี้ มุ่งหมายเพื่อใช้ประกอบการสั่งยาของผู้สั่งใช้ยาที่ได้รับอนุญาตให้สั่งยาได้ตามกฎหมาย ข้อมูลที่
แสดงไว้ไม่ใช่ข้อมูลที่สมบูรณ์ในทุกด้าน ผู้สั่งใช้ยาจาเป็นต้องใช้วิจารณญาณของตนเองในการพิจารณาสั่งใช้ยาในแต่
ละครั้งให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ด้วยการพิเคราะห์ข้อมูลจากหลายแหล่ง คณะผู้จัดทาคู่มือนี้ไม่ได้เป็นผู้สั่งใช้ยา
โดยตรงดังนั้นจึงไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายใดๆ จากการใช้ยาของผู้อื่น ผู้สั่งใช้ยาเป็นผู้รับผิดชอบอย่างสมบูรณ์ต่อผลที่
เกิดขึ้นจากการใช้ยาของตน คณะผู้จัดทาได้พยายามสอบทานข้อมูลจากหลายแหล่ง โดยมีผู้ตรวจทานเพื่อความ
ถูกต้อง อย่างไรก็ตามหากพบข้อผิดพลาด โปรดแจ้งไปยัง กลุ่มนโยบายแห่งชาติด้านยา สานักยา สานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา หรือทาง e-mail : nlem.fda@gmail.com เพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป
คานา
จากปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายด้านยา ซึ่งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา ได้ดาเนินการวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ โดยเริ่มดาเนินการตั้งแต่เดือนมีนาคม
2552 ถึงเดือนมิถุนายน 2554 ที่ผ่านมานั้น ผลการวิจัยได้สะท้อนให้เห็นค่าใช้จ่ายในการบริโภคยาของประเทศที่มี
จานวนค่อนข้างสูง โดยมีมูลค่ายาเพื่อการบริโภคในประเทศในราคาผู้ผลิต (ตาม price list) เกินกว่าหนึ่งแสนล้านบาท
คิดเป็นประมาณร้อยละ 35 ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมด สาหรับสาเหตุที่ทาให้ประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายด้านยา
เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายสาเหตุ ซึ่งการสั่งใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล หรือการสั่งใช้ยาเกินความ
จาเป็นเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทาให้ค่าใช้จ่ายด้านยาต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศไทย มีมูลค่าสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ
ประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน
คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของปัญหาดังกล่าวในข้างต้น จึงมีการ
กาหนดให้ “การใช้ยาอย่างสมเหตุผล” เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สาคัญในการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2555-
2559 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนเป็นไปอย่างสม
เหตุผล และมีความคุ้มค่า
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ (Thai National Formulary) ถือเป็นกลไกหรือ
เครื่องมืออย่างหนึ่ง ที่ทาให้เกิดการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ คณะอนุกรรมการ
พัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ จึงได้มอบหมายให้คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา ในแต่ละสาขา มี
การดาเนินการจัดทาคู่มือดังกล่าวขึ้น ในรูปแบบของสื่อที่สั้น กระชับ ใช้งานง่าย เพื่อใช้คู่กับบัญชียาหลักแห่งชาติ
พ.ศ. 2559 และเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์ในการดูแลรักษาผู้ป่วย โดยคณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติ
ด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เป็นคณะทางานหนึ่งที่ได้ดาเนินการจัดทาคู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ “สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์” โดยได้รับความอนุเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ
ทุกท่านในคณะทางานฯ คณะทางานฯขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้
คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ หวังว่าคู่มือการใช้ยาอย่างสม
เหตุผล ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ “สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์” จะเป็นเครื่องมือสาคัญอันหนึ่งใน
การส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนเป็นไปอย่างสมเหตุผล และมีความคุ้มค่า
ต่อไป
นพ.ยุทธนา แสงสุดา
ประธานคณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ.2556-2558
รายนามคณะผู้จัดทา
คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2556 - 2558
1. นพ.ยุทธนา แสงสุดา ประธาน
โรงพยาบาลราชวิถี
2. ศ.พญ.ภาวนา ภูสุวรรณ รองประธาน
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
3. พญ.วันดี โภคะกุล ผู้ทางาน
4. รศ.นพ.ธวัชชัย ชัยวัฒนรัตน์ ผู้ทางาน
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5. รศ.พญ.ชนิกา ศรีธรา ผู้ทางาน
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
6. รศ.พญ.ชนิสา โชติพานิช ผู้ทางาน
โรงพยาบาลจุฬาภรณ์
7. พญ. วิชชนา จารูญรัตน์ ผู้ทางาน
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
8. พญ. เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง ผู้ทางาน
โรงพยาบาลจุฬาภรณ์
9. ภญ.ไขนภา รัตนรุจิกร ผู้ทางาน
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ
10. ภก.นิพัทธ์ สุขแสนสาราญ ผู้ทางานและเลขานุการ
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
11. ภญ.ธนิศา ทาทอง ผู้ทางานและผู้ช่วยเลขานุการ
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
1
RADIOPHARMACEUTICALS
1. Tc-99m dextran sterile sol for inj
(hosp)
บัญชี ง
ข้อบ่งใช้
1.1 ใช้เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคการอุดกั้นของระบบทางเดินน้าเหลือง (lymphatic obstruction) แยกระหว่าง
primary และ secondary lymphedema
1.2 ใช้หาตาแหน่งของ sentinel lymph node
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง
หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
เอกสารอ้างอิง
1. Henze E, Schelbert HR, Collins JD, et al. Lymphoscintigraphy with Tc-99m-labeled dextran.
J Nucl Med. 1982;23(10):923-9.
2. Pui MH, Yueh TC, et al. Lymphoscintigraphy in chyluria, chyloperitoneum and chylothorax. J
Nucl Med.1998;39(7):1292-6.
3. Giammarile F, Alazraki N, Aarsvold JN, et al. The EANM and SNMMI practice guideline for
lymphoscintigraphy and sentinel node localization in breast cancer. Eur J Nucl Med Mol
Imaging. 2013;40(12):1932-47.
4. IAEA radioisotopes and radiopharmaceuticals series No.1. Technetium-99m
radiopharmaceuticals: status and trends. International Atomic Energy Agency, Vienna, 2009.
5. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:พี.เอ.
ลีฟวิ่ง;2545.
2
2. Tc-99m diethylene triamine penta acetic
acid (DTPA)
sterile sol for inj (hosp),
aerosol for inhalation (hosp)
บัญชี ง
ข้อบ่งใช้
2.1 ใช้เพื่อการคานวณหาค่า glomerular filtration rate (GFR)
2.2 ใช้ในการวินิจฉัยการอุดกั้นในระบบทางเดินปัสสาวะ ร่วมกับยาขับปัสสาวะ
2.3 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินหายใจ (ventilation lung scan)
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าหลอดเลือดดาสาหรับข้อบ่งใช้ 2.1 และ 2.2
- สาหรับข้อบ่งใช้ที่ 2.3 ทางการหายใจละออง Tc-99m DTPA ในรูปแบบ aerosol
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง
หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
เอกสารอ้างอิง
1. O’Reilly P, Aurell M, Britton K, et al. Consensus on diuresis renography for investigating the
dilated upper urinary tract. J Nucl Med. 1996; 37:1872–1876.
2. Blaufox MD. Procedures of choice in renal nuclear medicine. J Nucl Med. 1991;32(6):1301-9.
3. Gordon I, Piepsz A, Sixt R, et al. Guidelines for standard and diuretic renogram in
children.Eur J Nucl Med Mol Imaging. 2011;38(6):1175-88.
4. Ciofetta G, Piepsz A, Roca I, et al. Guidelines for lung scintigraphy in children. Eur J Nucl
Med Mol Imaging. 2007;34(9):1518-26.
5. Cabahug CJ, McPeck M, Palmer LB, et al. Utility of technetium-99m-DTPA in determining
regional ventilation. J Nucl Med.1996;37:239–44.
6. Bajc M, Neilly JB, Miniati M, et al. EANM guidelines for ventilation/perfusion scintigraphy :
Part 1. Pulmonary imaging with ventilation/perfusion single photon emission
tomography.EurJNucl Med Mol Imaging. 2009;36(8):1356-70.
7. Fred A. Mettler, Milton J. Guiberteau. Essentials of nuclear medicine imaging. 6th
edition.
Philadelphia, PA: Elsevier/Saunders;2012.
8. Hans-Jürgen Biersack, Leonard M. Freeman. Clinical nuclear medicine. 1st
edition. Secaucus,
NJ: Springer-Verlag, 2007.
3
9. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:พี.เอ.
ลีฟวิ่ง;2545.
3. Tc-99m dimercaptosuccinic acid
(DMSA)
sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง
ข้อบ่งใช้
3.1 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคการอักเสบและแผลเป็นของเนื้อไต
3.2 ใช้ประเมินการทางานของไต
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง
หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
เอกสารอ้างอิง
1. Mandell GA, Eggli DF, Gilday DL, et al. Society of Nuclear Medicine Procedure Guideline for
Renal Cortical Scintigraphy in Children version 3.0, approved June 20, 2003. Society of
Nuclear Medicine Procedure Guideline Manual. Agust 2003.
2. Mandell GA, Eggli DF, Gilday DL, et al. Procedure Guideline for Renal Cortical Scintigraphy in
Children. J Nucl Med 1997;38:1644-1646.
3. Piepsz A, Colarinha P, Gordon I, et al. Revised Guidelines on 99mTc-DMSA Scintigraphy in
Children (2009). Under the Auspices of the Paediatric Committee of the European
Association of NuclearMedicine – update 2009.
4. Fred A. Mettler, Milton J. Guiberteau. Essentials of nuclear medicine imaging. 6th edition.
Philadelphia, PA: Elsevier/Saunders;2012.
5. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:พี.เอ.
ลีฟวิ่ง;2545.
4
4. Tc-99m dimercaptosuccinic acid V (DMSA [V]) sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง
ข้อบ่งใช้ ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการติดตามการรักษา โรค medullary thyroid cancer
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง
หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
เอกสารอ้างอิง
1. IAEA radioisotopes and radiopharmaceuticals series No.1. Technetium-99m
radiopharmaceuticals: status and trends. International Atomic Energy Agency, Vienna, 2009
2. Ugur O, Kostakglu L, Güler N, et al. Comparison of 99mTc(V)-DMSA, 201Tl and 99mTc-MIBI
imaging in the follow-up of patients with medullary carcinoma of the thyroid. Eur J Nucl
Med. 1996 Oct;23(10):1367-71.
3. SkouraEvangelia et al. Depicting Medullary Thyroid Cancer Recurrence: The Past and the
Future of Nuclear Medicine Imaging. Int J EndocrinolMetab. 2013;11(4):e8156.
4. Hilditch TE, Murray T, Connell JM et al.Imaging with pentavalent [99mTc]DMSA in patients
with medullary cancer of the thyroid. J Nucl Med. 1988 Oct;29(10):1746-7.
5. Clarke SE, Lazarus CR, Wraight P et al. Pentavalent [99mTc]DMSA, [131I]MIBG, and
[99mTc]MDP--an evaluation of three imaging techniques in patients with medullary
carcinoma of the thyroid.JNucl Med. 1988 Jan;29(1):33-8.
5
5. Tc-99m iminodiacetic acid (IDA) sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง
ข้อบ่งใช้ ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินน้าดี
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง
1) ตับบกพร่อง: อาจต้องปรับเพิ่มขนาดสารเภสัชรังสี
2) หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
เอกสารอ้างอิง
1. Mettler, F. A., &Guiberteau, M. J. (2012). Essential of Nuclear Medicine Imaging (6th ed.).
Philadelphia, PA: Elseveir.
2. Ziessman, H., O'Malley, J., & Thrall, J. (2013). Nuclear Medicine, The requisites (4th ed.).
Philadelphia, PA: Elsevier.
3. Tulchinsky M, Ciak BW, Delbeke D, Hilson A, Holes-Lewis KA, Stabin MG, Ziessman HA; Society of
Nuclear Medicine. SNM practice guideline for hepatobiliaryscintigraphy 4.0. J Nucl Med Technol.
2010 Dec;38(4):210-8
6. Tc-99m methylene diphosphonate (MDP) sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง
ข้อบ่งใช้ ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคกระดูกและข้อ
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง
หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
เอกสารอ้างอิง
1. Mettler, F. A., &Guiberteau, M. J. (2012). Essential of Nuclear Medicine Imaging (6th ed.).
Philadelphia, PA: Elseveir.
6
2. Ziessman, H., O'Malley, J., & Thrall, J. (2013). Nuclear Medicine, The requisites (4th ed.).
Philadelphia, PA: Elsevier.
3. Donohoe, K, Brown, M.L., Collier, B.D., Carretta, R.F., Henkin, R.E., O’Mara, R.E., Royal, H.D (2003)
Society of Nuclear Medicine Procedure Guideline for bone Scintigraphy.
7. Tc-99m phytate sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง
ข้อบ่งใช้
7.1 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคตับและม้าม
7.2 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินอาหาร
7.2.1 การทางานของหลอดอาหาร (esophageal transit)
7.2.2 ภาวะกรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux)
7.2.3 การผ่านของอาหารในกระเพาะอาหาร (gastric emptying)
7.2.4 การผ่านของอาหารในลาไส้ (bowel transit)
7.2.5 การสูดสาลักเข้าปอด (aspiration of gastric or pharyngeal contents)
7.3 ใช้เพื่อการวินิจฉัย
7.3.1 ภาวะหลอดเลือดดาที่ขาอุดตัน
7.3.2 ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร (gastrointestinal bleeding)
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดาในข้อบ่งชี้ 7.1 และ 7.3
- กินหรือผ่านสายให้อาหารเข้าทางเดินอาหาร ในข้อบ่งชี้ 7.2
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง
หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
เอกสารอ้างอิง
1. IAEA Handbook of Nuclear Medicine Practice in Developing countries. International Atomic
Energy Agency, Vienna, 1992.
2. http://www.whocc.no/atc_ddd_index/?code=V09DB07&showdescription=yes (WHO
collaborating centre for drug statistics methodology).
3. Alves LM, Secaf M, Dantas RO. Effect of a bitter bolus on oral, pharyngeal andesophageal
transit of healthy subjects. ArqGastroenterol.2013;50(1):31-4.
7
4. Barbieri CL, Troncon LE, Herculano JR Jr, Aprile LR, Moraes ER, SecafM,Dantas RO.
Postprandial gastric antral contractions in patients withgastro-oesophageal reflux disease: a
scintigraphic study. NeurogastroenterolMotil. 2008;20(5):471-8.
5. Rosa-E-Silva L, Troncon LE, Gallo L Jr, Foss MC, Passos AD, Perdoná GC, AchcarJA, Oliveira
RB. Factors associated with abnormal gastric emptying inalcohol-related chronic
pancreatitis. J ClinGastroenterol. 2007;41(3):306-11.
6. Rosa-E-Silva L, Troncon LE, Gallo L Jr, Foss MC, Passos AD, Perdoná GC, AchcarJA, Oliveira
RB. Determinants of accelerated small intestinal transit inalcohol-related chronic
pancreatitis. Dig Dis Sci. 2010 ;55(4):1017-25.
7. Thomson A, Tye-Din J, Tonga S, Scott J, McLaren C, Pavli P, Lomas F.Aspiration in the
context of upper gastrointestinal endoscopy. Can JGastroenterol. 2007;21(4):223-5.
8. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พี.
เอ.ลีฟวิ่ง;2545.
9. Lee, K. W., Yoo, H. S., Lee, J. T., Park, C. Y., Sung, K. J., &Suh, J. S. (1985).
Radionuclidelocalization of GI bleeding. Journal of the Korean Radiological Society, 21(2),
246-252.
8. Tc-99m sulfur colloid sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง
ข้อบ่งใช้
8.1 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรค reticuloendothelial system
8.2 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินอาหาร
8.2.1 การทางานของหลอดอาหาร (esophageal transit)
8.2.2 ภาวะกรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux)
8.2.3 การผ่านของอาหารในกระเพาะอาหาร (gastric emptying)
8.2.4 การผ่านของอาหารในลาไส้ (bowel transit)
8.2.5 การสูดสาลักเข้าปอด (aspiration of gastric or pharyngeal contents)
8.3 ใช้เพื่อการวินิจฉัยภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร (gastrointestinal bleeding)
วิธีบริหารสารเภสัชรังสี
- ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดาในข้อบ่งชี้ 8.1 และ 8.3
- กินหรือผ่านสายให้อาหาร เข้าทางเดินอาหารในข้อบ่งชี้ 8.2
ข้อห้ามใช้ - ไม่มี
ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
8
เอกสารอ้างอิง
1. Mettler, F. A., &Guiberteau, M. J. (2012). Essential of Nuclear Medicine Imaging (6th ed.).
Philadelphia, PA: Elseveir.
2. Ziessman, H., O'Malley, J., & Thrall, J. (2013). Nuclear Medicine, The requisites (4th ed.).
Philadelphia, PA:
Elsevier.
3. ACR-SNM-SPR practice guideline for the performance of gastrointestinal scintigraphy, Revised
2010.
4. Donohoe KJ, Maurer AH, Ziessman HA, Urbain JL, Royal HD, Martin-Comin J; Society for Nuclear
Medicine; American Neurogastroenterology and Motility Society. Procedure guideline for adult
solid-meal gastric-emptying study 3.0. J Nucl Med Technol. 2009;37(3):196-200.
5. Maurer AH, Camilleri M, Donohoe K, Knight LC, Madsen JL, Mariani G, Parkman HP, Van Dolsen J.
The
SNMMI and EANM practice guideline for small-bowel and colon transit 1.0. J Nucl Med. 2013.
;54(11):2004-13.
6. Allen TW, Tulchinsky M. Nuclear medicine tests for acutegastrointestinalconditions. SeminNucl
Med. 2013
;43(2):88-101.

More Related Content

What's hot

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)The Field Alliance
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)Chamada Rinzine
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
8
88
8
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
Cpg Allergic Rhinitis 2011
Cpg  Allergic Rhinitis 2011Cpg  Allergic Rhinitis 2011
Cpg Allergic Rhinitis 2011
 
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Cad guideline
Cad guidelineCad guideline
Cad guideline
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 

Similar to สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Aimmary
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyUtai Sukviwatsirikul
 
Benefits for Drug abuse semiquantitative detection
Benefits for Drug abuse semiquantitative detectionBenefits for Drug abuse semiquantitative detection
Benefits for Drug abuse semiquantitative detectionPrabhop1
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (20)

บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
Benefits for Drug abuse semiquantitative detection
Benefits for Drug abuse semiquantitative detectionBenefits for Drug abuse semiquantitative detection
Benefits for Drug abuse semiquantitative detection
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
 
07
0707
07
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 

สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

  • 1. คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ สารเภสัชรังสีที่ใช้ทาง เวชศาสตร์นิวเคลียร์ Thai National Formulary 2015 Radiopharmaceutical used in Nuclear Medicine โดย คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ และ คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
  • 2. เงื่อนไขการใช้คู่มือ (disclaimer) คู่มือฉบับนี้ มุ่งหมายเพื่อใช้ประกอบการสั่งยาของผู้สั่งใช้ยาที่ได้รับอนุญาตให้สั่งยาได้ตามกฎหมาย ข้อมูลที่ แสดงไว้ไม่ใช่ข้อมูลที่สมบูรณ์ในทุกด้าน ผู้สั่งใช้ยาจาเป็นต้องใช้วิจารณญาณของตนเองในการพิจารณาสั่งใช้ยาในแต่ ละครั้งให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ด้วยการพิเคราะห์ข้อมูลจากหลายแหล่ง คณะผู้จัดทาคู่มือนี้ไม่ได้เป็นผู้สั่งใช้ยา โดยตรงดังนั้นจึงไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายใดๆ จากการใช้ยาของผู้อื่น ผู้สั่งใช้ยาเป็นผู้รับผิดชอบอย่างสมบูรณ์ต่อผลที่ เกิดขึ้นจากการใช้ยาของตน คณะผู้จัดทาได้พยายามสอบทานข้อมูลจากหลายแหล่ง โดยมีผู้ตรวจทานเพื่อความ ถูกต้อง อย่างไรก็ตามหากพบข้อผิดพลาด โปรดแจ้งไปยัง กลุ่มนโยบายแห่งชาติด้านยา สานักยา สานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา หรือทาง e-mail : nlem.fda@gmail.com เพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป
  • 3. คานา จากปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายด้านยา ซึ่งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา ได้ดาเนินการวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ โดยเริ่มดาเนินการตั้งแต่เดือนมีนาคม 2552 ถึงเดือนมิถุนายน 2554 ที่ผ่านมานั้น ผลการวิจัยได้สะท้อนให้เห็นค่าใช้จ่ายในการบริโภคยาของประเทศที่มี จานวนค่อนข้างสูง โดยมีมูลค่ายาเพื่อการบริโภคในประเทศในราคาผู้ผลิต (ตาม price list) เกินกว่าหนึ่งแสนล้านบาท คิดเป็นประมาณร้อยละ 35 ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมด สาหรับสาเหตุที่ทาให้ประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายด้านยา เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายสาเหตุ ซึ่งการสั่งใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล หรือการสั่งใช้ยาเกินความ จาเป็นเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทาให้ค่าใช้จ่ายด้านยาต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศไทย มีมูลค่าสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ ประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของปัญหาดังกล่าวในข้างต้น จึงมีการ กาหนดให้ “การใช้ยาอย่างสมเหตุผล” เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สาคัญในการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2555- 2559 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนเป็นไปอย่างสม เหตุผล และมีความคุ้มค่า คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ (Thai National Formulary) ถือเป็นกลไกหรือ เครื่องมืออย่างหนึ่ง ที่ทาให้เกิดการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ คณะอนุกรรมการ พัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ จึงได้มอบหมายให้คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา ในแต่ละสาขา มี การดาเนินการจัดทาคู่มือดังกล่าวขึ้น ในรูปแบบของสื่อที่สั้น กระชับ ใช้งานง่าย เพื่อใช้คู่กับบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2559 และเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์ในการดูแลรักษาผู้ป่วย โดยคณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติ ด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เป็นคณะทางานหนึ่งที่ได้ดาเนินการจัดทาคู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ “สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์” โดยได้รับความอนุเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ ทุกท่านในคณะทางานฯ คณะทางานฯขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ หวังว่าคู่มือการใช้ยาอย่างสม เหตุผล ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ “สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์” จะเป็นเครื่องมือสาคัญอันหนึ่งใน การส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนเป็นไปอย่างสมเหตุผล และมีความคุ้มค่า ต่อไป นพ.ยุทธนา แสงสุดา ประธานคณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ.2556-2558
  • 4. รายนามคณะผู้จัดทา คณะทางานผู้เชี่ยวชาญแห่งชาติด้านการคัดเลือกยา สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2556 - 2558 1. นพ.ยุทธนา แสงสุดา ประธาน โรงพยาบาลราชวิถี 2. ศ.พญ.ภาวนา ภูสุวรรณ รองประธาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 3. พญ.วันดี โภคะกุล ผู้ทางาน 4. รศ.นพ.ธวัชชัย ชัยวัฒนรัตน์ ผู้ทางาน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. รศ.พญ.ชนิกา ศรีธรา ผู้ทางาน คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี 6. รศ.พญ.ชนิสา โชติพานิช ผู้ทางาน โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ 7. พญ. วิชชนา จารูญรัตน์ ผู้ทางาน คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี 8. พญ. เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง ผู้ทางาน โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ 9. ภญ.ไขนภา รัตนรุจิกร ผู้ทางาน สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ 10. ภก.นิพัทธ์ สุขแสนสาราญ ผู้ทางานและเลขานุการ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 11. ภญ.ธนิศา ทาทอง ผู้ทางานและผู้ช่วยเลขานุการ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
  • 5. 1 RADIOPHARMACEUTICALS 1. Tc-99m dextran sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ 1.1 ใช้เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคการอุดกั้นของระบบทางเดินน้าเหลือง (lymphatic obstruction) แยกระหว่าง primary และ secondary lymphedema 1.2 ใช้หาตาแหน่งของ sentinel lymph node วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี เอกสารอ้างอิง 1. Henze E, Schelbert HR, Collins JD, et al. Lymphoscintigraphy with Tc-99m-labeled dextran. J Nucl Med. 1982;23(10):923-9. 2. Pui MH, Yueh TC, et al. Lymphoscintigraphy in chyluria, chyloperitoneum and chylothorax. J Nucl Med.1998;39(7):1292-6. 3. Giammarile F, Alazraki N, Aarsvold JN, et al. The EANM and SNMMI practice guideline for lymphoscintigraphy and sentinel node localization in breast cancer. Eur J Nucl Med Mol Imaging. 2013;40(12):1932-47. 4. IAEA radioisotopes and radiopharmaceuticals series No.1. Technetium-99m radiopharmaceuticals: status and trends. International Atomic Energy Agency, Vienna, 2009. 5. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:พี.เอ. ลีฟวิ่ง;2545.
  • 6. 2 2. Tc-99m diethylene triamine penta acetic acid (DTPA) sterile sol for inj (hosp), aerosol for inhalation (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ 2.1 ใช้เพื่อการคานวณหาค่า glomerular filtration rate (GFR) 2.2 ใช้ในการวินิจฉัยการอุดกั้นในระบบทางเดินปัสสาวะ ร่วมกับยาขับปัสสาวะ 2.3 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินหายใจ (ventilation lung scan) วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าหลอดเลือดดาสาหรับข้อบ่งใช้ 2.1 และ 2.2 - สาหรับข้อบ่งใช้ที่ 2.3 ทางการหายใจละออง Tc-99m DTPA ในรูปแบบ aerosol ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี เอกสารอ้างอิง 1. O’Reilly P, Aurell M, Britton K, et al. Consensus on diuresis renography for investigating the dilated upper urinary tract. J Nucl Med. 1996; 37:1872–1876. 2. Blaufox MD. Procedures of choice in renal nuclear medicine. J Nucl Med. 1991;32(6):1301-9. 3. Gordon I, Piepsz A, Sixt R, et al. Guidelines for standard and diuretic renogram in children.Eur J Nucl Med Mol Imaging. 2011;38(6):1175-88. 4. Ciofetta G, Piepsz A, Roca I, et al. Guidelines for lung scintigraphy in children. Eur J Nucl Med Mol Imaging. 2007;34(9):1518-26. 5. Cabahug CJ, McPeck M, Palmer LB, et al. Utility of technetium-99m-DTPA in determining regional ventilation. J Nucl Med.1996;37:239–44. 6. Bajc M, Neilly JB, Miniati M, et al. EANM guidelines for ventilation/perfusion scintigraphy : Part 1. Pulmonary imaging with ventilation/perfusion single photon emission tomography.EurJNucl Med Mol Imaging. 2009;36(8):1356-70. 7. Fred A. Mettler, Milton J. Guiberteau. Essentials of nuclear medicine imaging. 6th edition. Philadelphia, PA: Elsevier/Saunders;2012. 8. Hans-Jürgen Biersack, Leonard M. Freeman. Clinical nuclear medicine. 1st edition. Secaucus, NJ: Springer-Verlag, 2007.
  • 7. 3 9. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:พี.เอ. ลีฟวิ่ง;2545. 3. Tc-99m dimercaptosuccinic acid (DMSA) sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ 3.1 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคการอักเสบและแผลเป็นของเนื้อไต 3.2 ใช้ประเมินการทางานของไต วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี เอกสารอ้างอิง 1. Mandell GA, Eggli DF, Gilday DL, et al. Society of Nuclear Medicine Procedure Guideline for Renal Cortical Scintigraphy in Children version 3.0, approved June 20, 2003. Society of Nuclear Medicine Procedure Guideline Manual. Agust 2003. 2. Mandell GA, Eggli DF, Gilday DL, et al. Procedure Guideline for Renal Cortical Scintigraphy in Children. J Nucl Med 1997;38:1644-1646. 3. Piepsz A, Colarinha P, Gordon I, et al. Revised Guidelines on 99mTc-DMSA Scintigraphy in Children (2009). Under the Auspices of the Paediatric Committee of the European Association of NuclearMedicine – update 2009. 4. Fred A. Mettler, Milton J. Guiberteau. Essentials of nuclear medicine imaging. 6th edition. Philadelphia, PA: Elsevier/Saunders;2012. 5. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:พี.เอ. ลีฟวิ่ง;2545.
  • 8. 4 4. Tc-99m dimercaptosuccinic acid V (DMSA [V]) sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการติดตามการรักษา โรค medullary thyroid cancer วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี เอกสารอ้างอิง 1. IAEA radioisotopes and radiopharmaceuticals series No.1. Technetium-99m radiopharmaceuticals: status and trends. International Atomic Energy Agency, Vienna, 2009 2. Ugur O, Kostakglu L, Güler N, et al. Comparison of 99mTc(V)-DMSA, 201Tl and 99mTc-MIBI imaging in the follow-up of patients with medullary carcinoma of the thyroid. Eur J Nucl Med. 1996 Oct;23(10):1367-71. 3. SkouraEvangelia et al. Depicting Medullary Thyroid Cancer Recurrence: The Past and the Future of Nuclear Medicine Imaging. Int J EndocrinolMetab. 2013;11(4):e8156. 4. Hilditch TE, Murray T, Connell JM et al.Imaging with pentavalent [99mTc]DMSA in patients with medullary cancer of the thyroid. J Nucl Med. 1988 Oct;29(10):1746-7. 5. Clarke SE, Lazarus CR, Wraight P et al. Pentavalent [99mTc]DMSA, [131I]MIBG, and [99mTc]MDP--an evaluation of three imaging techniques in patients with medullary carcinoma of the thyroid.JNucl Med. 1988 Jan;29(1):33-8.
  • 9. 5 5. Tc-99m iminodiacetic acid (IDA) sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินน้าดี วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง 1) ตับบกพร่อง: อาจต้องปรับเพิ่มขนาดสารเภสัชรังสี 2) หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี เอกสารอ้างอิง 1. Mettler, F. A., &Guiberteau, M. J. (2012). Essential of Nuclear Medicine Imaging (6th ed.). Philadelphia, PA: Elseveir. 2. Ziessman, H., O'Malley, J., & Thrall, J. (2013). Nuclear Medicine, The requisites (4th ed.). Philadelphia, PA: Elsevier. 3. Tulchinsky M, Ciak BW, Delbeke D, Hilson A, Holes-Lewis KA, Stabin MG, Ziessman HA; Society of Nuclear Medicine. SNM practice guideline for hepatobiliaryscintigraphy 4.0. J Nucl Med Technol. 2010 Dec;38(4):210-8 6. Tc-99m methylene diphosphonate (MDP) sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคกระดูกและข้อ วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี เอกสารอ้างอิง 1. Mettler, F. A., &Guiberteau, M. J. (2012). Essential of Nuclear Medicine Imaging (6th ed.). Philadelphia, PA: Elseveir.
  • 10. 6 2. Ziessman, H., O'Malley, J., & Thrall, J. (2013). Nuclear Medicine, The requisites (4th ed.). Philadelphia, PA: Elsevier. 3. Donohoe, K, Brown, M.L., Collier, B.D., Carretta, R.F., Henkin, R.E., O’Mara, R.E., Royal, H.D (2003) Society of Nuclear Medicine Procedure Guideline for bone Scintigraphy. 7. Tc-99m phytate sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ 7.1 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคตับและม้าม 7.2 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินอาหาร 7.2.1 การทางานของหลอดอาหาร (esophageal transit) 7.2.2 ภาวะกรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux) 7.2.3 การผ่านของอาหารในกระเพาะอาหาร (gastric emptying) 7.2.4 การผ่านของอาหารในลาไส้ (bowel transit) 7.2.5 การสูดสาลักเข้าปอด (aspiration of gastric or pharyngeal contents) 7.3 ใช้เพื่อการวินิจฉัย 7.3.1 ภาวะหลอดเลือดดาที่ขาอุดตัน 7.3.2 ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร (gastrointestinal bleeding) วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดาในข้อบ่งชี้ 7.1 และ 7.3 - กินหรือผ่านสายให้อาหารเข้าทางเดินอาหาร ในข้อบ่งชี้ 7.2 ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี เอกสารอ้างอิง 1. IAEA Handbook of Nuclear Medicine Practice in Developing countries. International Atomic Energy Agency, Vienna, 1992. 2. http://www.whocc.no/atc_ddd_index/?code=V09DB07&showdescription=yes (WHO collaborating centre for drug statistics methodology). 3. Alves LM, Secaf M, Dantas RO. Effect of a bitter bolus on oral, pharyngeal andesophageal transit of healthy subjects. ArqGastroenterol.2013;50(1):31-4.
  • 11. 7 4. Barbieri CL, Troncon LE, Herculano JR Jr, Aprile LR, Moraes ER, SecafM,Dantas RO. Postprandial gastric antral contractions in patients withgastro-oesophageal reflux disease: a scintigraphic study. NeurogastroenterolMotil. 2008;20(5):471-8. 5. Rosa-E-Silva L, Troncon LE, Gallo L Jr, Foss MC, Passos AD, Perdoná GC, AchcarJA, Oliveira RB. Factors associated with abnormal gastric emptying inalcohol-related chronic pancreatitis. J ClinGastroenterol. 2007;41(3):306-11. 6. Rosa-E-Silva L, Troncon LE, Gallo L Jr, Foss MC, Passos AD, Perdoná GC, AchcarJA, Oliveira RB. Determinants of accelerated small intestinal transit inalcohol-related chronic pancreatitis. Dig Dis Sci. 2010 ;55(4):1017-25. 7. Thomson A, Tye-Din J, Tonga S, Scott J, McLaren C, Pavli P, Lomas F.Aspiration in the context of upper gastrointestinal endoscopy. Can JGastroenterol. 2007;21(4):223-5. 8. จิราภรณ์ โตเจริญชัย, ภาวนา ภูสุวรรณ. เทคโนโลยีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พี. เอ.ลีฟวิ่ง;2545. 9. Lee, K. W., Yoo, H. S., Lee, J. T., Park, C. Y., Sung, K. J., &Suh, J. S. (1985). Radionuclidelocalization of GI bleeding. Journal of the Korean Radiological Society, 21(2), 246-252. 8. Tc-99m sulfur colloid sterile sol for inj (hosp) บัญชี ง ข้อบ่งใช้ 8.1 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรค reticuloendothelial system 8.2 ใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินอาหาร 8.2.1 การทางานของหลอดอาหาร (esophageal transit) 8.2.2 ภาวะกรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux) 8.2.3 การผ่านของอาหารในกระเพาะอาหาร (gastric emptying) 8.2.4 การผ่านของอาหารในลาไส้ (bowel transit) 8.2.5 การสูดสาลักเข้าปอด (aspiration of gastric or pharyngeal contents) 8.3 ใช้เพื่อการวินิจฉัยภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร (gastrointestinal bleeding) วิธีบริหารสารเภสัชรังสี - ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดาในข้อบ่งชี้ 8.1 และ 8.3 - กินหรือผ่านสายให้อาหาร เข้าทางเดินอาหารในข้อบ่งชี้ 8.2 ข้อห้ามใช้ - ไม่มี ข้อควรระวัง หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร: ใช้เฉพาะเมื่อประโยชน์มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้สารเภสัชรังสี
  • 12. 8 เอกสารอ้างอิง 1. Mettler, F. A., &Guiberteau, M. J. (2012). Essential of Nuclear Medicine Imaging (6th ed.). Philadelphia, PA: Elseveir. 2. Ziessman, H., O'Malley, J., & Thrall, J. (2013). Nuclear Medicine, The requisites (4th ed.). Philadelphia, PA: Elsevier. 3. ACR-SNM-SPR practice guideline for the performance of gastrointestinal scintigraphy, Revised 2010. 4. Donohoe KJ, Maurer AH, Ziessman HA, Urbain JL, Royal HD, Martin-Comin J; Society for Nuclear Medicine; American Neurogastroenterology and Motility Society. Procedure guideline for adult solid-meal gastric-emptying study 3.0. J Nucl Med Technol. 2009;37(3):196-200. 5. Maurer AH, Camilleri M, Donohoe K, Knight LC, Madsen JL, Mariani G, Parkman HP, Van Dolsen J. The SNMMI and EANM practice guideline for small-bowel and colon transit 1.0. J Nucl Med. 2013. ;54(11):2004-13. 6. Allen TW, Tulchinsky M. Nuclear medicine tests for acutegastrointestinalconditions. SeminNucl Med. 2013 ;43(2):88-101.