SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
139
ซีโรทัยป์ และการดื้อยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาที่
เพาะแยกได้จากสุกรพันธุ์ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน
Serotypes and Antimicrobial Resistance of Salmonella spp.
from Swine Breeder in Chiang Mai-Lamphun
กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์1/
ดนัย สินธุยะ1/
ภาคภูมิ ตาดื1/
พชรพร บุญโคตร1/
และ ประภาส พัชนี1/*
Kittipong Kumpapong1/
, Danai Sinthuya1/
, Pakpoom Tadee1/
, Phacharaporn Boonkot1/
and Prapas Patchanee1/*
Abstract: The objective of this study was investigated the serotypes and antimicrobial resistance of
Salmonella spp. from swine breeder in Chiang Mai-Lamphun, Thailand. 160 fecal samples were
collected from swine breeder and cultured by conventional microbiological methods following ISO
6579:2002. Salmonella Rissen (36%) and Salmonella Panama (42%) were highest frequencies
serotypes found from sow and boar, respectively. In addition, Salmonella spp. showed the highest
resistance to Ampicillin and Streptomycin in swine breeder and founded susceptibility to Amoxicillin-
clavulanic acid, Ciprofloxacin and Norfloxacin.
Keywords: Antimicrobial resistance, Salmonella spp., swine breeder
1/
คลินิกสุกร ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 50100
1/
Swine Clinic, Department of Food Animal Clinic, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, 50100
*Corresponding Author, E-mail: patprapas@gmail.com
140
คานา
ประเทศไทยใช้ยาปฏิชีวนะมากกว่าปี ละ
10,000 ล้านบาท ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ระหว่าง พ.ศ.
2543-2554) โดยมีรายงานการพบเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ
และดื้อต่อยาหลายขนานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งคนไทยติดเชื้อ
ดื้อยากว่าปีละ 100,000 คน ต้องนอนรักษาตัวใน
โรงพยาบาลนานขึ้นมากกว่า 1 ล้านวัน และเสียชีวิต
กว่าปีละ 30,000 ราย โดยปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เกิด
ปัญหาเชื้อดื้อยาคือ การใช้ยาปฏิชีวนะมากเกินความ
จาเป็นและไม่เหมาะสม อีกทั้งยังขาดมาตรการในการ
ควบคุม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555) ใน
ปัจจุบัน ปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสัตว์เลี้ยงของ
ประเทศไทยยังไม่มีการสารวจในระดับประเทศ ซึ่ง
ปัญหาการใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์เลี้ยงที่พบได้บ่อยคือ
การได้รับยาไม่ต่อเนื่องและไม่ครบตามระยะเวลาที่
กาหนด ซึ่งทาให้เกิดเชื้อดื้อยาและเกิดการตกค้างใน
เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ ที่จะส่งผลต่อผู้บริโภคโดยตรง
และปัจจุบันพบว่าเชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella spp.)
มีส่วนทาให้เกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะภายในฟาร์ม
ซึ่งเชื้อดังกล่าวสามารถเหนี่ยวนาและถ่ายทอดยีนดื้อ
ยา และส่งผลให้เชื้อจุลินทรีย์ชนิดอื่นเกิดการดื้อต่อยา
ปฏิชีวนะเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังมีรายงานการดื้อต่อยา
ปฏิชีวนะหลายชนิด (Multidrug resistant)ของเชื้อซัล
โมเนลลาจึงนาไปสู่ปัญหาวงกว้างในการเลือกใช้
ปฏิชีวนะสาหรับใช้รักษาโรคทั้งคนและสัตว์
อุปกรณ์และวิธีการ
งานวิจัยครั้งนี้ทาการหาความชุกซีโรทัยป์ และ
การดื้อต่อสารต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาในสุกร
พันธุ์ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน โดยเก็บตัวอย่างอุจจาระ
สุกรพันธุ์ทั้งสิ้น 6 ฟาร์มจานวน 160 ตัวอย่าง แบ่งเป็น
อุจจาระสุกรแม่พันธุ์ 96 ตัวอย่างและอุจจาระสุกรพ่อ
พันธุ์ 64 ตัวอย่าง มาตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาด้วย
วิธีการทางจุลชีววิทยาในห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาใช้ วิธี
Conventional methods ซึ่งได้อ้างอิงวิธีการตาม
มาตรฐาน ISO 6579:2002 กล่าวโดยย่อดังนี้คือ ชั่ง
ตัวอย่างอุจจาระสุกร 25 กรัม ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ
Buffered Peptone Water (Merck, Germany)
ปริมาณ 255 กรัม (อัตราส่วน 1:10) ตีให้เข้ากันด้วย
เครื่อง Stomacher (IUL, Spain) เป็นเวลา 2 นาที บ่ม
ที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 18-24 ชั่วโมง จากนั้นดูด
สารละลายปริมาตร 100 µl ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ
Modified Semi-solid Rappaport Vassiliadis
(Oxoid, USA) บ่มที่อุณหภูมิ 42˚C เป็นเวลา 24
ชั่วโมง จากนั้นเลือกโคโลนีที่ให้ผลบวกมาเพาะเลี้ยงต่อ
บนอาหาร Xylose Lysine Deoxycholate (Oxoid,
England) และ Brilliant-green Phenol-red Lactose
Sucrose (Merck, Germany) บ่มที่อุณหภูมิ 37˚C
เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นเลือกโคโลนีที่ให้ผลบวกมา
ทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีต่อบน Triple Sugar Iron
agar (Oxoid, USA), Urea agar (Merck, Germany)
และ Motile Indole Lysine (Difco, USA) นาเชื้อที่
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาซีโรทัยป์ และการดื้อต่อยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาของสุกรพันธุ์
ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน โดยเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรพันธุ์จานวน 160 ตัวอย่างมาตรวจเพาะเชื้อด้วยวิธีทางจุล
ชีววิทยาตามมาตรฐาน ISO 6579:2002 Salmonella Rissen (36%) และ Salmonella Panama (42%) เป็น
ซีโรทัยป์ ที่พบสูงสุด ในสุกรแม่พันธุ์และสุกรพ่อพันธุ์ตามลาดับ นอกจากนี้พบซัลโมเนลลาดื้อต่อ Ampicillin,
Tetracycline สูงสุดในสุกรพันธุ์ และเชื้อทุกตัวมีความไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid,Ciprofloxacin
และ Norfloxacin
คานา: การดื้อสารต้านจุลชีพ ซัลโมเนลลา สุกรพันธุ์
วารสารสัตวศาสตร์แห่งประเทศไทย 1(พิเศษ): 1-4 (2557)
141
agar (Oxoid, USA), Urea agar (Merck, Germany)
และ Motile Indole Lysine (Difco, USA) นาเชื้อที่
เพาะแยกได้มาทดสอบการตกตะกอนที่จาเพาะต่อ O
และ H แอนติเจน ด้วยวิธี Slide agglutination ด้วย
Antiserum (S&A Laboratory ltd., Thailand)
เพื่อจาแนกกลุ่มของเชื้อ จากนั้นจะทาการตัวอย่างจาก
สุกรแม่พันธุ์จานวน 25 ตัวอย่าง และตัวอย่างจาก
สุกรพ่อพันธุ์จานวน 19 ตัวอย่าง เพื่อตรวจยืนยันชนิด
ของซีโรทัยป์ และทดสอบการดื้อต่อยาต้านจุลชีพ
ที่ห้องปฏิบัติการของศูนย์ WHO: National
Salmonella and Shigella Center (NSSC)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
คานวณค่าความชุกแบบช่วงของเชื้อ
ซัลโมเนลลาในสุกรพันธุ์ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
(95% Confidence Interval) การรายงานผลซีโรทัยป์
และการดื้อต่อสารต้านจุลชีพคิดเป็นร้อยละของจานวน
ทดสอบทั้งหมดด้วยโปรแกรม PHStat 2.7 (Add-in for
Microsoft office excel®
)
ผลการทดลอง
การศึกษาครั้งนี้พบความชุกของเชื้อ
ซัลโมเนลลาในสุกรแม่พันธุ์จานวน 24 ตัวอย่างจาก 96
ตัวอย่างร้อยละ 25 (95%, CI: 16.34-33.66) ในสุกร
พ่อพันธุ์พบ 25 ตัวอย่างจาก 64 ตัวอย่างร้อยละ 39
(95% CI: 27.11-51.02) ซีโรทัยป์ ที่พบในสุกรแม่พันธุ์
พบซีโรทัยป์ Rissen สูงสุดร้อยละ 36 (9/25) ใน
สุกรพ่อพันธุ์พบซีโรทัยป์ Panama สูงสุดร้อยละ 42
(8/19) ในสุกรแม่พันธุ์พบดื้อต่อยากลุ่ม Ampicillin,
Streptomycin และ Tetracycline สูงสุดร้อยละ 36 ใน
สุกรพ่อพันธุ์พบดื้อต่อยากลุ่ม Ampicillin และ
Tetracycline ร้อยละ 53 ความไวยาในสุกรแม่
พันธุ์ไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid,
Ciprofloxacin, Norfloxacin และSulfamethoxazole-
trimethoprim ร้อยละ 100 เช่นเดียวกับความไว
ยาที่พบในสุกรพ่อพันธุ์ โดยพบว่าไวต่อยากลุ่ม
Amoxicillin-clavulanic acid, Chloramphenicol,
Ciprofloxacin, Cefotaxime, Nalidixic acid และ
Norfloxacin ร้อยละ 100 (Table 1)
Table 1 Serodiversity and Antimicrobial resistance of Salmonella isolated from swine breeder, Chiang Mai-Lamphun
Source Serotypes
Antimicrobial resistance
n (%) AMP AUG C CIP CTX NA NOR S TE SXT
Sow S. Rissen 9(36) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
(Faces) S. Anatum 8(32) 8 0 0 0 0 8 0 8 8 0
S. Lexington 5(20) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
S. Typhimurium 1(4) 1 0 1 0 1 0 0 1 1 0
S. Weltevreden 1(4) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
S. Weltevreden
var 15+
1(4) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
Sub total 25(100) 9(36) 0 1(4) 0 1(4) 8(32) 0 9(36) 9(36) 0
Boar S. Panama 8(42) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
(Faces) S. Anatum 7(37) 7 0 0 0 0 0 0 6 7 6
S. Typhimurium 2(11) 2 0 0 0 0 0 0 2 2 0
S. Rissen 1(5) 1 0 0 0 0 0 0 0 1 1
S. Senftenberg 1(5) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
Sub total 19(100) 10(53) 0 0 0 0 0 0 8(42) 10(53) 7(37)
ซีโรทัยป์ และการดื้อยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาที่เพาะแยกได้จากสุกรพันธุ์ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน
142
วิจารณ์
ซีโรทัยป์ ที่พบการดื้อยาในสุกรแม่พันธุ์ได้แก่
Anatum และ Typhimurium โดยซีโรทัยป์ Anatum ดื้อ
ต่อ Ampicillin, Streptomycin, Nalidixic acid และ
Tetracycline ส่วนซีโรทัยป์ Typhimurium ดื้อต่อ
Ampicillin, Streptomycin และ Tetracycline
สอดคล้องกับซีโรทัยป์ Typhimurium ที่พบในสุกรพ่อ
พันธุ์ที่ดื้อต่อ Ampicillin, Streptomycin, Nalidixic
acid และ Tetracycline ส่วนซีโรทัยป์ Anatum และ
Rissen ที่พบดื้อต่อ Ampicillin, Streptomycin,
Tetracycline และ Sulfamethoxazole-trimethoprim
ซีโรทัยป์ ที่พบในการศึกษานี้สอดคล้องที่มีรายงานว่า
พบซีโรทัยป์ Rissen สูงสุดร้อยละ 23.16 และ Anatum
ร้อยละ 22.60 และพบดื้อต่อยา Streptomycin ร้อยละ
40.67 Sulfamethoxazole-trimethoprim ร้อยละ
26.55 (Umai et al., 2009) ซีโรทัยป์ ในการศึกษานี้พบ
ไวต่อยา Amoxicillin-clavulanic acid, Ciprofloxacin
และ Norfloxacin สาหรับซีโรทัยป์ ในสุกรแม่พันธุ์พบไว
ต่อยา Sulfamethoxazole-trimethoprim เพิ่มอีกหนึ่ง
ชนิดเช่นเดียวกับการรายงานก่อนหน้าที่พบว่าไวต่อ
Ciprofloxacin และ Norfloxacin (Umai et al., 2009)
สรุป
การดื้อต่อยาต้านจุลชีพมากกว่าสองชนิดยา
(Multi-drug resistance) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นใน
ปัจจุบัน ซึ่งทาให้การเลือกใช้ยาต้านจุลชีพในการรักษา
โรคมีแนวโน้มเกิดเชื้อดื้อยาสูงมากขึ้น ซึ่งจะส่งผล
โดยตรงต่อการรักษาโรคต่างๆ ทาให้ผู้ป่ วยต้องใช้
ระยะเวลาในการรักษานานขึ้นและต้องรับยาในการ
รักษาที่เพิ่มปริมาณมากขึ้นด้วย
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณ ฝ่ ายสนับสนุนการวิจัยพัฒนา
และวิศวกรรม สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) รหัสโครงการ P-10-
10409 ที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยในครั้งนี้
เอกสารอ้างอิง
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (2555). HSRI Forum:
เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะวิกฤตและทางออกของ
สังคมไทย 1(1): 3-6.
Bilnmad, U., Yoidam, S., Bhumibhamon, T.,
Thongnoon, P. and Anan, P. (2009)
Serovars and Antimicrobial Drug
Resistance of Salmonella Isolated from
Pork and Chicken meat in Southern
Thailand. Thai-NIAH Journal: 2(1): 27-37.
วารสารสัตวศาสตร์ประเทศไทย 1(พิเศษ): 1-4 (2557)

More Related Content

What's hot

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
0636830815
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
sombat nirund
 
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
sombat nirund
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
sombat nirund
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Technology Innovation Center
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
Kallaya Kerdkaewngam
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (19)

Postharvest Newsletter ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556
Postharvest Newsletter ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556Postharvest Newsletter ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556
Postharvest Newsletter ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
Ebola virus
Ebola virusEbola virus
Ebola virus
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
 
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
 
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่มอีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 

Viewers also liked

Swedish_Technology_Time_Attendance
Swedish_Technology_Time_AttendanceSwedish_Technology_Time_Attendance
Swedish_Technology_Time_Attendance
Swedish Technology
 
Swedish_Technology_Look_And_Feel
Swedish_Technology_Look_And_FeelSwedish_Technology_Look_And_Feel
Swedish_Technology_Look_And_Feel
Swedish Technology
 

Viewers also liked (16)

annujj_resume (1) (1)
annujj_resume (1) (1)annujj_resume (1) (1)
annujj_resume (1) (1)
 
Solar Panels
Solar PanelsSolar Panels
Solar Panels
 
Swedish_Technology_Time_Attendance
Swedish_Technology_Time_AttendanceSwedish_Technology_Time_Attendance
Swedish_Technology_Time_Attendance
 
Wave 6 - The Business of Social | UM | Social Media Tracker
Wave 6 - The Business of Social | UM | Social Media TrackerWave 6 - The Business of Social | UM | Social Media Tracker
Wave 6 - The Business of Social | UM | Social Media Tracker
 
κώστας
κώσταςκώστας
κώστας
 
Steve jobs
Steve jobsSteve jobs
Steve jobs
 
203 con presentation
203 con presentation203 con presentation
203 con presentation
 
0
00
0
 
Magazin small
Magazin smallMagazin small
Magazin small
 
Firenze
FirenzeFirenze
Firenze
 
Wave 7 - Cracking the Social Code
Wave 7 - Cracking the Social CodeWave 7 - Cracking the Social Code
Wave 7 - Cracking the Social Code
 
Swedish_Technology_Look_And_Feel
Swedish_Technology_Look_And_FeelSwedish_Technology_Look_And_Feel
Swedish_Technology_Look_And_Feel
 
Death wire
Death wireDeath wire
Death wire
 
Film trailer storyboard-
Film trailer storyboard-Film trailer storyboard-
Film trailer storyboard-
 
BATERIAS ETNA
BATERIAS ETNA BATERIAS ETNA
BATERIAS ETNA
 
Redes sociales
Redes socialesRedes sociales
Redes sociales
 

Similar to การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓

พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
แผนงาน นสธ.
 

Similar to การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓ (6)

Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
บทความพะเยาวิจัยครั้งที่ ๒
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
บทความประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๕๒
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
 

การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓

  • 1.
  • 2. 139 ซีโรทัยป์ และการดื้อยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาที่ เพาะแยกได้จากสุกรพันธุ์ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน Serotypes and Antimicrobial Resistance of Salmonella spp. from Swine Breeder in Chiang Mai-Lamphun กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์1/ ดนัย สินธุยะ1/ ภาคภูมิ ตาดื1/ พชรพร บุญโคตร1/ และ ประภาส พัชนี1/* Kittipong Kumpapong1/ , Danai Sinthuya1/ , Pakpoom Tadee1/ , Phacharaporn Boonkot1/ and Prapas Patchanee1/* Abstract: The objective of this study was investigated the serotypes and antimicrobial resistance of Salmonella spp. from swine breeder in Chiang Mai-Lamphun, Thailand. 160 fecal samples were collected from swine breeder and cultured by conventional microbiological methods following ISO 6579:2002. Salmonella Rissen (36%) and Salmonella Panama (42%) were highest frequencies serotypes found from sow and boar, respectively. In addition, Salmonella spp. showed the highest resistance to Ampicillin and Streptomycin in swine breeder and founded susceptibility to Amoxicillin- clavulanic acid, Ciprofloxacin and Norfloxacin. Keywords: Antimicrobial resistance, Salmonella spp., swine breeder 1/ คลินิกสุกร ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 50100 1/ Swine Clinic, Department of Food Animal Clinic, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, 50100 *Corresponding Author, E-mail: patprapas@gmail.com
  • 3. 140 คานา ประเทศไทยใช้ยาปฏิชีวนะมากกว่าปี ละ 10,000 ล้านบาท ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ระหว่าง พ.ศ. 2543-2554) โดยมีรายงานการพบเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ และดื้อต่อยาหลายขนานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งคนไทยติดเชื้อ ดื้อยากว่าปีละ 100,000 คน ต้องนอนรักษาตัวใน โรงพยาบาลนานขึ้นมากกว่า 1 ล้านวัน และเสียชีวิต กว่าปีละ 30,000 ราย โดยปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เกิด ปัญหาเชื้อดื้อยาคือ การใช้ยาปฏิชีวนะมากเกินความ จาเป็นและไม่เหมาะสม อีกทั้งยังขาดมาตรการในการ ควบคุม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555) ใน ปัจจุบัน ปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสัตว์เลี้ยงของ ประเทศไทยยังไม่มีการสารวจในระดับประเทศ ซึ่ง ปัญหาการใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์เลี้ยงที่พบได้บ่อยคือ การได้รับยาไม่ต่อเนื่องและไม่ครบตามระยะเวลาที่ กาหนด ซึ่งทาให้เกิดเชื้อดื้อยาและเกิดการตกค้างใน เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ ที่จะส่งผลต่อผู้บริโภคโดยตรง และปัจจุบันพบว่าเชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella spp.) มีส่วนทาให้เกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะภายในฟาร์ม ซึ่งเชื้อดังกล่าวสามารถเหนี่ยวนาและถ่ายทอดยีนดื้อ ยา และส่งผลให้เชื้อจุลินทรีย์ชนิดอื่นเกิดการดื้อต่อยา ปฏิชีวนะเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังมีรายงานการดื้อต่อยา ปฏิชีวนะหลายชนิด (Multidrug resistant)ของเชื้อซัล โมเนลลาจึงนาไปสู่ปัญหาวงกว้างในการเลือกใช้ ปฏิชีวนะสาหรับใช้รักษาโรคทั้งคนและสัตว์ อุปกรณ์และวิธีการ งานวิจัยครั้งนี้ทาการหาความชุกซีโรทัยป์ และ การดื้อต่อสารต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาในสุกร พันธุ์ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน โดยเก็บตัวอย่างอุจจาระ สุกรพันธุ์ทั้งสิ้น 6 ฟาร์มจานวน 160 ตัวอย่าง แบ่งเป็น อุจจาระสุกรแม่พันธุ์ 96 ตัวอย่างและอุจจาระสุกรพ่อ พันธุ์ 64 ตัวอย่าง มาตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาด้วย วิธีการทางจุลชีววิทยาในห้องปฏิบัติการ การตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาใช้ วิธี Conventional methods ซึ่งได้อ้างอิงวิธีการตาม มาตรฐาน ISO 6579:2002 กล่าวโดยย่อดังนี้คือ ชั่ง ตัวอย่างอุจจาระสุกร 25 กรัม ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Buffered Peptone Water (Merck, Germany) ปริมาณ 255 กรัม (อัตราส่วน 1:10) ตีให้เข้ากันด้วย เครื่อง Stomacher (IUL, Spain) เป็นเวลา 2 นาที บ่ม ที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 18-24 ชั่วโมง จากนั้นดูด สารละลายปริมาตร 100 µl ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Modified Semi-solid Rappaport Vassiliadis (Oxoid, USA) บ่มที่อุณหภูมิ 42˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นเลือกโคโลนีที่ให้ผลบวกมาเพาะเลี้ยงต่อ บนอาหาร Xylose Lysine Deoxycholate (Oxoid, England) และ Brilliant-green Phenol-red Lactose Sucrose (Merck, Germany) บ่มที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นเลือกโคโลนีที่ให้ผลบวกมา ทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีต่อบน Triple Sugar Iron agar (Oxoid, USA), Urea agar (Merck, Germany) และ Motile Indole Lysine (Difco, USA) นาเชื้อที่ บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาซีโรทัยป์ และการดื้อต่อยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาของสุกรพันธุ์ ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน โดยเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรพันธุ์จานวน 160 ตัวอย่างมาตรวจเพาะเชื้อด้วยวิธีทางจุล ชีววิทยาตามมาตรฐาน ISO 6579:2002 Salmonella Rissen (36%) และ Salmonella Panama (42%) เป็น ซีโรทัยป์ ที่พบสูงสุด ในสุกรแม่พันธุ์และสุกรพ่อพันธุ์ตามลาดับ นอกจากนี้พบซัลโมเนลลาดื้อต่อ Ampicillin, Tetracycline สูงสุดในสุกรพันธุ์ และเชื้อทุกตัวมีความไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid,Ciprofloxacin และ Norfloxacin คานา: การดื้อสารต้านจุลชีพ ซัลโมเนลลา สุกรพันธุ์ วารสารสัตวศาสตร์แห่งประเทศไทย 1(พิเศษ): 1-4 (2557)
  • 4. 141 agar (Oxoid, USA), Urea agar (Merck, Germany) และ Motile Indole Lysine (Difco, USA) นาเชื้อที่ เพาะแยกได้มาทดสอบการตกตะกอนที่จาเพาะต่อ O และ H แอนติเจน ด้วยวิธี Slide agglutination ด้วย Antiserum (S&A Laboratory ltd., Thailand) เพื่อจาแนกกลุ่มของเชื้อ จากนั้นจะทาการตัวอย่างจาก สุกรแม่พันธุ์จานวน 25 ตัวอย่าง และตัวอย่างจาก สุกรพ่อพันธุ์จานวน 19 ตัวอย่าง เพื่อตรวจยืนยันชนิด ของซีโรทัยป์ และทดสอบการดื้อต่อยาต้านจุลชีพ ที่ห้องปฏิบัติการของศูนย์ WHO: National Salmonella and Shigella Center (NSSC) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ คานวณค่าความชุกแบบช่วงของเชื้อ ซัลโมเนลลาในสุกรพันธุ์ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% (95% Confidence Interval) การรายงานผลซีโรทัยป์ และการดื้อต่อสารต้านจุลชีพคิดเป็นร้อยละของจานวน ทดสอบทั้งหมดด้วยโปรแกรม PHStat 2.7 (Add-in for Microsoft office excel® ) ผลการทดลอง การศึกษาครั้งนี้พบความชุกของเชื้อ ซัลโมเนลลาในสุกรแม่พันธุ์จานวน 24 ตัวอย่างจาก 96 ตัวอย่างร้อยละ 25 (95%, CI: 16.34-33.66) ในสุกร พ่อพันธุ์พบ 25 ตัวอย่างจาก 64 ตัวอย่างร้อยละ 39 (95% CI: 27.11-51.02) ซีโรทัยป์ ที่พบในสุกรแม่พันธุ์ พบซีโรทัยป์ Rissen สูงสุดร้อยละ 36 (9/25) ใน สุกรพ่อพันธุ์พบซีโรทัยป์ Panama สูงสุดร้อยละ 42 (8/19) ในสุกรแม่พันธุ์พบดื้อต่อยากลุ่ม Ampicillin, Streptomycin และ Tetracycline สูงสุดร้อยละ 36 ใน สุกรพ่อพันธุ์พบดื้อต่อยากลุ่ม Ampicillin และ Tetracycline ร้อยละ 53 ความไวยาในสุกรแม่ พันธุ์ไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid, Ciprofloxacin, Norfloxacin และSulfamethoxazole- trimethoprim ร้อยละ 100 เช่นเดียวกับความไว ยาที่พบในสุกรพ่อพันธุ์ โดยพบว่าไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid, Chloramphenicol, Ciprofloxacin, Cefotaxime, Nalidixic acid และ Norfloxacin ร้อยละ 100 (Table 1) Table 1 Serodiversity and Antimicrobial resistance of Salmonella isolated from swine breeder, Chiang Mai-Lamphun Source Serotypes Antimicrobial resistance n (%) AMP AUG C CIP CTX NA NOR S TE SXT Sow S. Rissen 9(36) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 (Faces) S. Anatum 8(32) 8 0 0 0 0 8 0 8 8 0 S. Lexington 5(20) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 S. Typhimurium 1(4) 1 0 1 0 1 0 0 1 1 0 S. Weltevreden 1(4) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 S. Weltevreden var 15+ 1(4) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 Sub total 25(100) 9(36) 0 1(4) 0 1(4) 8(32) 0 9(36) 9(36) 0 Boar S. Panama 8(42) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 (Faces) S. Anatum 7(37) 7 0 0 0 0 0 0 6 7 6 S. Typhimurium 2(11) 2 0 0 0 0 0 0 2 2 0 S. Rissen 1(5) 1 0 0 0 0 0 0 0 1 1 S. Senftenberg 1(5) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 Sub total 19(100) 10(53) 0 0 0 0 0 0 8(42) 10(53) 7(37) ซีโรทัยป์ และการดื้อยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลาที่เพาะแยกได้จากสุกรพันธุ์ในพื้นที่เชียงใหม่-ลาพูน
  • 5. 142 วิจารณ์ ซีโรทัยป์ ที่พบการดื้อยาในสุกรแม่พันธุ์ได้แก่ Anatum และ Typhimurium โดยซีโรทัยป์ Anatum ดื้อ ต่อ Ampicillin, Streptomycin, Nalidixic acid และ Tetracycline ส่วนซีโรทัยป์ Typhimurium ดื้อต่อ Ampicillin, Streptomycin และ Tetracycline สอดคล้องกับซีโรทัยป์ Typhimurium ที่พบในสุกรพ่อ พันธุ์ที่ดื้อต่อ Ampicillin, Streptomycin, Nalidixic acid และ Tetracycline ส่วนซีโรทัยป์ Anatum และ Rissen ที่พบดื้อต่อ Ampicillin, Streptomycin, Tetracycline และ Sulfamethoxazole-trimethoprim ซีโรทัยป์ ที่พบในการศึกษานี้สอดคล้องที่มีรายงานว่า พบซีโรทัยป์ Rissen สูงสุดร้อยละ 23.16 และ Anatum ร้อยละ 22.60 และพบดื้อต่อยา Streptomycin ร้อยละ 40.67 Sulfamethoxazole-trimethoprim ร้อยละ 26.55 (Umai et al., 2009) ซีโรทัยป์ ในการศึกษานี้พบ ไวต่อยา Amoxicillin-clavulanic acid, Ciprofloxacin และ Norfloxacin สาหรับซีโรทัยป์ ในสุกรแม่พันธุ์พบไว ต่อยา Sulfamethoxazole-trimethoprim เพิ่มอีกหนึ่ง ชนิดเช่นเดียวกับการรายงานก่อนหน้าที่พบว่าไวต่อ Ciprofloxacin และ Norfloxacin (Umai et al., 2009) สรุป การดื้อต่อยาต้านจุลชีพมากกว่าสองชนิดยา (Multi-drug resistance) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นใน ปัจจุบัน ซึ่งทาให้การเลือกใช้ยาต้านจุลชีพในการรักษา โรคมีแนวโน้มเกิดเชื้อดื้อยาสูงมากขึ้น ซึ่งจะส่งผล โดยตรงต่อการรักษาโรคต่างๆ ทาให้ผู้ป่ วยต้องใช้ ระยะเวลาในการรักษานานขึ้นและต้องรับยาในการ รักษาที่เพิ่มปริมาณมากขึ้นด้วย กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ฝ่ ายสนับสนุนการวิจัยพัฒนา และวิศวกรรม สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) รหัสโครงการ P-10- 10409 ที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (2555). HSRI Forum: เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะวิกฤตและทางออกของ สังคมไทย 1(1): 3-6. Bilnmad, U., Yoidam, S., Bhumibhamon, T., Thongnoon, P. and Anan, P. (2009) Serovars and Antimicrobial Drug Resistance of Salmonella Isolated from Pork and Chicken meat in Southern Thailand. Thai-NIAH Journal: 2(1): 27-37. วารสารสัตวศาสตร์ประเทศไทย 1(พิเศษ): 1-4 (2557)