SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
การประมวลผล เพื่อ ?

   ใช้ ในการตัดสินใจ วางแผนองค์กร เพื่อให้ องค์กรสามารถดาเนินการต่อไปได้ ภายใต้ การ
    เปลี่ยนแปลงด้ านต่าง ๆ ของโลก
   องค์กรใดสามารถจัดการข้ อมูลได้ ดี จะสามารถแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆได้ ดีกว่า
   ได้ สารสนเทศ หรื อ Information ที่มีรูปแบบที่เข้ าใจง่าย , ถูกต้ อง, มีความเป็ น
    ปั จจุบน
           ั
1.1 ข้อมูล
1.1.1 ความหมายของ ข้ อมูล หรื อ data
 ข้ อเท็จจริ งที่เกี่ยวกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรื อเหตุการณ์ที่สนใจ
 ข้ อมูลได้ มาจาก การสังเกต การวัด การนับ การชัง หรื อการตวง
                                                       ่
 ข้ อมูลเป็ นได้ ทง ตัวเลข ข้ อความ หรื อตัวเลขปนกับข้ อความ
                      ั้
 ข้ อมูล ปกติจะกระจัดกระจาย ไม่เป็ นระเบียบ ทาให้ ต้องมีการจัดระเบียบข้ อมูล เพื่อให้
  สามารถใช้ ประโยชน์จากข้ อมูลนัน ๆ ได้
                                     ้
 ตัวอย่างของข้ อมูล เช่น ข้ อมูลแบบสอบถามต่าง ๆ ซึงข้ อมูลที่ได้ รับอาจเป็ นจริ งหรื อไม่
                                                          ่
  เป็ นจริ งก็ได้
1.1 ข้ อมูล (ต่ อ)
1.1.2 ประเภทของข้ อมูล

โดยทัวไปแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ
     ่
 ตัวเลข หรื อ Numeric
 ตัวอักษร หรื อ Alphabetic และ
 ข้อความในตัวเลข Alphameric
1.1 ข้อมูล (ต่อ)
1.1.2 ประเภทของข้ อมูล

   แต่ข้อมูลในความหมายของคอมพิวเตอร์ จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
   ข้ อมูลที่คานวณได้ ได้ แก่ตวเลข
                               ั
   ข้ อมูลที่ไม่สามารถนาไปคานวณได้ คือ Character หรื อ String คือข้ อมูลตัวอักษร
    ตัวอักษรปนตัวเลข หรื อตัวเลขบางตัวที่ใช้ คานวณไม่ได้ เช่น เลขรหัสนักศึกษา เลข
    ประจาตัวประชาชน
1.1 ข้อมูล(ต่อ)
1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล
    ประกอบด้ วยโครงสร้ างหน่วยที่เล็กที่สด คือ บิต จนถึงโครงสร้ างที่ใหญ่ที่สดคือ
                                         ุ                                   ุ
  ฐานข้ อมูล
1.1 ข้อมูล(ต่อ)
1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล

1.1.3.1 บิต (bit) เป็ นหน่วยที่เล็กทีสดของข้ อมูลทีจดเก็บที่คอมพิวเตอร์ ประกอบด้ วย
                                     ่ ุ           ่ั
  เลขฐาน 2 คือ 0 และ 1 เท่านัน   ้
11.3.2 ไบท์(byte) หรื ออักขระ(Character) ประกอบด้ วยกลุมของ bit จานวน 7
                                                                ่
  หรื อ 8 มารวมกันเป็ นอักษร ตัวเลข หรื อสัญลักษณ์พิเศษ เช่น อักษร A จะจัดเก็บเป็ น
  รหัส ASCII 1 byte ด้ วยข้ อมูล 01000001
1.1 ข้อมูล(ต่อ)
1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล

1.1.3.3 ฟิ ลด์ (field) คือข้ อมูลที่ประกอบด้ วยอักขระ เพื่อให้ สื่อความหมายตามที่ผ้ ใช้
                                                                                      ู
  ต้ องการ เช่น ชื่อพนักงาน นามสกุล
1.1.3.4 ระเบียน (record) คือการรวมฟิ ลด์หลาย                ๆ ฟิ ลด์ที่เกี่ยวพันกันมา
  รวมกันให้ มีความหมาย
1.1 ข้อมูล (ต่อ)
1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล

1.1.3.5 ไฟล์ หรื อแฟ้ มข้ อมูล (File) เป็ นการรวมเอาระเบียน หลาย ๆระเบียนที่เกี่ยวพัน
  กันมารวมกัน เช่น แฟ้ มข้ อมูลลูกค้ า แฟ้ มข้ อมูลการขายสินค้ า
1.1.3.6 ฐานข้ อมูล (Database) คือกลุมของข้ อมูลที่เป็ นข้ อเท็จจริ ง ที่ถกนามารวมไว้
                                               ่                         ู
  ที่เดียวกันอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปใช้ ในวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
ภาพแสดง โครงสร้างลาดับชันของข้อมูล
                        ้
1.2 แฟ้ มข้อมูล
          ในอดีตองค์กรจัดเก็บแฟ้ มข้ อมูล เป็ นแฟ้ ม ๆ ซึงเป็ นข้ อมูลที่ไม่มีความเกี่ยวข้ อง
                                                         ่
 หรื อสัมพันธ์กน เช่น อาจเก็บเป็ น แฟ้ มประวัติพนักงานของฝ่ ายบุคคล แฟ้ มประวัติ
               ั
 พนักงานของฝ่ ายการตลาด มีปัญหาในการใช้ งานหากมีแฟมเพิ่มขัน ทาให้ เสียเวลาใน
                                                               ้          ้
 การค้ นหาข้ อมูล
          ต่อมาคอมพิวเตอร์ มีบทบาทสาคัญในการจัดเก็บ รวบรวมข้ อมูล ทาให้ มี
 แฟ้ มข้ อมูลมากขึ ้น จึงได้ นาเอา ระบบจัดการแฟ้ มข้ อมูล (File Management
 System) มาใช้ โดยต่าง คนต่างทา แล้ วแต่วาอยู่ในส่วนใดขององค์กร
                                                   ่
1.2 แฟ้ มข้อมูล
       ปั ญหาที่ตามมาในระยะแรก ๆ คือ แต่ละองค์กรต่างมีโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้
 แตกต่างกันไป ทาให้ เกิดปั ญหา เช่น
       ข้ อมูลในองค์กรมีความซ ้าซ้ อนกัน
       ข้ อมูลกระจัดกระจาย ยากต่อการบารุงรักษา
       บางครังข้ อมูลขัดแย้ งกัน ก่อให้ เกิดความสับสน
               ้
1.2 แฟ้ มข้อมูล




           ภาพการประมวลผลด้ วยระบบแฟ้ มข้ อมูล
1.2 แฟมข้ อมูล
                                  ้

1.2.1 ข้ อดีของระบบแฟมข้ อมูล
                       ้
1.2.1.1 ง่ายต่อการออกแบบและพัฒนา ไม่สลับซับซ้ อน เนื่องจากเป็ นแอปพลิเคชันเดียว
1.2.1.2 มีความรวดเร็วในการประมวลผล เนื่องจากเขียนโปรแกรมเป็ นการเฉพาะหรื อ
  โดยตรง
1.2 แฟมข้ อมูล
                              ้

1.2.2 ข้ อจากัดของระบบแฟมข้ อมูล
                           ้
1.2.2.1 ข้อมูลเกิดความซ้ าซ้อน (Data Redundancy) เช่นมีขอมูลผูใช้
                                                        ้     ้
   เดียวกันในแฟ้ ม หลายแฟ้ ม
1.2.2.2 ลาบากต่อการแก้ไข (Update Difficulties) หากต้องการแก้ไขข้อมูล
   ผูใช้ใด ๆ ก็ตองแก้ไขทุกแฟ้ มที่มีขอมูลผูใช้น้ น ๆ
     ้           ้                   ้     ้ ั
1.2 แฟมข้ อมูล
                               ้

1.2.2 ข้ อจากัดของระบบแฟมข้ อมูล
                            ้
1.2.2.3 การผูกติดกับข้อมูล (Data Dependency) โปรแกรมประยุกต์ตอง   ้
   เขียนหรื อกาหนดโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลไว้ในโปรแกรม ทาให้ยาก
   ต่อการปรับปรุ งโครงสร้างแฟ้ มข้อมูล เช่น เพิ่มข้อมูลบางอย่าง ทาได้ยาก
1.2.2.4 การกระจัดกระจายของข้อมูล (Data Dispersion) เช่นแฟ้ มข้อมูล A
         ่
   มีอยูในพื้นที่เก็บข้อมูลของผูใช้หลายคน
                                ้
1.2 แฟมข้ อมูล
                                ้

1.2.3 ประเภทของแฟมข้ อมูล
                     ้
      แบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภทคือ
                                                                    ่
1.2.3.1 แฟ้ มหลัก(Master File) เป็ นแฟ้ มหลักที่ใช้เก็บข้อมูลที่ไม่คอยจะมี
   การเปลี่ยนแปลง หรื อค่อนข้างคงที่ เช่นแฟ้ มประวัตินกศึกษา
                                                          ั
   ประกอบด้วยข้อมูล รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล ที่อยู่ ฯลฯ
1.2.3.2 แฟ้ มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) เป็ นไฟล์ที่จดเก็บข้อมูล
                                                                  ั
   การดาเนินธุรกรรมประจาวันวันที่ความเคลื่อนไหวอยูเ่ สมอ ๆ เช่นแฟ้ ม
   บัญชีเงินฝาก
1.2 แฟมข้ อมูล
                                 ้

1.2.3 ประเภทของแฟมข้ อมูล(ต่ อ)
                      ้
      แบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภทคือ
1.2.3.3 แฟ้ มเอกสร(Document File) เป็ นไฟล์เอกสารหรื อไฟล์รายงานต่าง
   ๆ ที่มีการประมวลผลจากโปรแกรมมาแล้ว สามารถเรี ยกมาใช้ได้อย่าง
   รวดเร็ ว
1.2.3.4 แฟ้ มอ้างอิง (Table Look-up File หรื อ Reference File) เป็ นไฟล์ที่ใช้
   ในการอ้างอิง เพื่อใช้ร่วมกันกับ มักเป็ นข้อมูลที่คงที่ ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
   เช่น ตารางภาษี ตารางรหัสไปรษณี ย ์
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.1 ความหมายของฐานข้ อมูล
           ่
      มีอยูหลายความหมาย เช่น
„ การจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันอย่างมีระบบ ผูใช้สามารถเรี ยกใช้ขอมูล
                                                ้                  ้
   ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การขอดูขอมูล การแก้ไข การเพิ่มเติมหรื อลบ
                                    ้
   ข้อมูล มักใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดเก็บ เพื่อให้ทนต่อความ
                                                               ั
   ต้องการใช้ และถูกต้อง เป็ นจริ ง
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.1 ความหมายของฐานข้ อมูล
                              ่
       เลาดอน (2545) กล่าวไว้วา
„ การเก็บรวบรวมข้อมูลจานวนมากไว้อย่างเป็ นระเบียบ ช่วยในการ
   บริ หาร จัดเก็บ และค้นหาข้อมูลโดยโปรแกรมประยุกต์ เป็ นไปอย่างมี
   ประสิ ทธิภาพด้วยการรวบรวมข้อมูลไว้เป็ นที่เดียวกัน และลดความ
   ซ้ าซ้อนของข้อมูล ผูใช้มองเห็นข้อมูลจากสถานที่เดียวกันคือ
                       ้
   “ฐานข้ อมูล”
1.3 ฐานข้ อมูล




ภาพ การประมวลผลด้ วยระบบฐานข้ อมูล
1.3 ฐานข้ อมูล

ประโยชน์ ของการใช้ ฐานข้ อมูล
1.3.1.1 ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ าซ้อน เนื่องจากมีการจัดเก็บไว้ในที่ที่เดียว
      ้             ้                  ่
และผูใช้มีการใช้ขอมูลชุดเดียวกันนี้ผานระบบฐานข้อมูล
1.3.1.2 ข้อมูลที่จดเก็บมีความถูกต้อง เนื่องจากข้อมูลจัดเก็บในฐานข้อมูล
                  ั
   เดียวกัน หากมีการแก้ไข ก็จะเป็ นการแก้ไขที่มีความถูกต้อง โดย
   อัตโนมัติของระบบฐานข้อมูล
1.3 ฐานข้ อมูล

ประโยชน์ ของการใช้ ฐานข้ อมูล(ต่ อ)
                    ้                              ้              ่
1.3.1.3 สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ ทุกคนสามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ผาน
   ระบบฐานข้อมูล
1.3.1.4 มีความเป็ นอิสระของข้อมูล หากต้องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลหรื อนา
   ข้อมูลมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา ทาให้ได้
   ข้อมูลใหม่ โดยไม่กระทบต่อระบบฐานข้อมูลเดิม
1.3 ฐานข้ อมูล

ประโยชน์ ของการใช้ ฐานข้ อมูล(ต่ อ)
1.3.1.5 สามารถขยายงานได้ง่าย เนื่องจากความเป็ นอิสระของข้อมูล เมื่อ
   ต้องการเพิมเติมข้อมูล จะทาได้ง่ายและสะดวก ไม่มีผลกระทบกับข้อมูล
                 ่
   เดิมที่มีอยู่
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล
      แบบจาลองฐานข้อมูล คือ เทคนิคที่ใช้ในการจัดโครงสร้างและ
   ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบ และเป็ นการใช้เพื่อนาไปพัฒนาใน
   ฐานข้อมูลในลาดับต่อไป
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล
      1.3.2.1 ความสัมพันธ์ของข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลมีความจาเป็ นต้อง
   ศึกษาความสัมพันธ์ของข้อมูล เนื่องจากในฐานข้อมูลจะมีแฟ้ มข้อมูลที่
   ใช้ร่วมกันมากกว่า 1 แฟ้ ม ความสัมพันธ์ของข้อมูล มี 3 แบบ คือ
      1). ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One) เป็ นความสัมพันธ์ที่
                                         ั
   1 เรคอร์ดของแฟ้ มหนึ่งมีความสัมพันธ์กบอีกแฟ้ มหนึ่งเพียง 1 เรคอร์ด
   เท่านั้น เช่น คนกับเลขประจาตัวประชาชน
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล
        2). ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหลาย(One to Many) เป็ นความสัมพันธ์
                                            ั
   ที่ 1 เรคอร์ดของแฟ้ มหนึ่งมีความสัมพันธ์กบอีกแฟ้ มหนึ่งมากกว่า 1 เร
   คอร์ด เช่น คณะ (one) กับนักศึกษาหลายคน (Many)
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล
       3). ความสัมพันธ์แบบหลายต่อหลาย(Many to Many) เป็ น
                                                                ั
   ความสัมพันธ์ที่ หลาย ๆ เรคอร์ดของแฟ้ มหนึ่งมีความสัมพันธ์กบอีก
   แฟ้ มหนึ่งมากกว่า 1 เรคอร์ด เช่น ความสัมพันธ์ของลูกค้ากับสิ นค้า
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล
       3.3.2.2 ประเภทของแบบจาลองฐานข้อมูล
       1). แบบจาลองของฐานข้อมูลแบบลาดับขั้น (Hierarchical Data
   Model) แบบนี้เก็บข้อมูลในแฟ้ มเป็ น Segment และในแผนผังต้นไม้จะ
                                                ่
   เรี ยกแต่ละ Segment ว่า Node โดย Node ที่อยูระดับล่าง จะเรี ยกว่า
                                         ่
   โหนดลูก (Child Node) ส่ วนโหนดที่อยูระดับบนเรี ยกว่า โหนดพ่อแม่
                                ่
   (Parent Node) ส่ วนโหนดที่อยูระดับบนสุ ดเรี ยกว่า Root Node
1.3 ฐานข้ อมูล
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล
      1.3.2.2 ประเภทของแบบจาลองฐานข้อมูล
      2). แบบจาลองของฐานข้อมูลแบบเครื อข่าย (Network Data Model)
   แบบนี้เก็บข้อมูลในแฟ้ มคล้ายแบบที่ 1 แต่ โหนดลูกจะมีโหนดพ่อแม่
   ได้มากกว่า 1 โหนด และโหนดพ่อแม่มีโหนดลูกได้มากกว่า 1 โหนด
   เช่นเดียวกัน เป็ นความสัมพันธ์แบบ Many to Many
1.3 ฐานข้ อมูล
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล
      1.3.2.2 ประเภทของแบบจาลองฐานข้อมูล
      3). แบบจาลองของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Model)
   แบบนี้ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบน ง่ายต่อการทาความเข้าใจใน
                                        ั
   โครงสร้างข้อมูล ประกอบด้วยกลุ่มของตาราง(Table) แบบ 2 มิติ
   แบ่งเป็ นแถวและคอลัมน์ แต่ละแถวคือ 1 เรคคอร์ด แต่ละคอลัมน์คือเก็บ
   ค่าของฟิ ลด์ต่าง ๆ
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล




           แสดงตัวอย่าง แบบจาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.3 ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System: DBMS)
     เป็ นระบบที่คอยดูแล จัดการความซ้ าซ้อนและความถูกต้องให้กบ     ั
   ข้อมูล
    1.3.3.1 ความหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน
                                                          ้ ั
   การบริ หารและจัดการฐานข้อมูล เป็ นตัวกลางระหว่างผูใช้กบฐานข้อมูล
   ทาหน้าที่ในการ สร้าง เรี ยกใช้ หรื อปรับปรุ งฐานข้อมูล โดยผูใช้ออก
                                                               ้
   คาสังผ่าน DBMS
         ่
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.3 ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System: DBMS)



                  DBMS        ผูดูแลฐานข้อมูล (DBA)
                                ้
           ฐานข้อมูล




                                                      ผูใช้ (User)
                                                        ้




         แสดงโครงสร้างกรทางานของระบบจัดการฐานข้อมูล
1.3 ฐานข้ อมูล

1.3.3 ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System: DBMS)
    1.3.3.2 หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล
       เป็ นตัวกลางในการรับคาสังจัดการข้อมูลจากผูใช้ เพื่อนาไปปฏิบติ
                                   ่                 ้            ั
                           ั ้
   ตามและส่ งผลลัพธ์ให้กบผูใช้
                                             ่
       ผลิตภัณฑ์ระบบจัดการฐานข้อมูลมีอยูหลายชนิด เช่น Microsoft
   Access, Microsoft SQL, DB2, Informix, Oracle และ Sybase
       ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นระบบเปิ ด เช่น MySql, PostgreSql
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.1 ความหมายของการประมวลผลข้ อมูล
       คือ การเปลี่ยนรู ปแบบของข้อมูลดิบให้เป็ นสารสนเทศ เพื่อให้ใช้งาน
   หรื อมีประโยชน์ได้ ประกอบด้วยวิธีต่าง ๆ 4 วิธีคือ
   1.4.1.1 การเรี ยงลาดับข้อมูล (Data Sorting) เช่น เรี ยงจากมากไปน้อย
   หรื อเรี ยงตามชื่อ
   1.4.1.2 การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ขอมูล(Comparing and Analysis)
                                         ้
   เป็ นการเปรี ยบเทียบหรื อวิเคราะห์ขอมูล เช่น การหาค่าสูงสุ ด การ
                                      ้
   วิเคราะห์แนวโน้มของข้อมูล
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.1 ความหมายของการประมวลผลข้ อมูล
   1.4.1.3 การคานวณและประมวลผลข้อมูล (Data Processing) เป็ นการ
   นาเอาข้อมูลมาจัดการตามกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เช่น บวก ลบ
   คูณ หาร หรื อฟังก์ชนที่กาหนด
                      ั่
  1.4.1.4 การสรุ ปผล(Summarizing) เป็ นการสรุ ปผลที่ได้จากการ
   ประมวลผล เช่น การสรุ ปจากยอดรวม มักเก็บไว้ในรู ปตารางหรื อสื่ ออื่น
   ที่เหมาะสม
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล
   1.4.2.1 การประมวลผลเชิงกลุ่ม(Batch Processing) เป็ นการประมวลผล
   ข้อมูลที่ได้ทาการเก็บรวบรวมไว้เป็ นชุดข้อมูล แล้วจึงนาส่ งข้อมูล
   เหล่านั้นไปประมวลผลข้อมูลพร้อมกันทั้งหมดทีเดียว มีระยะเวลาที่
   กาหนดไว้แน่นอน เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรื อรายปี เช่น การ
   ประมวลผลการเสี ยภาษีประจาปี การคิดดอกเบี้ยของธนาคาร
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล
   1.4.2.2 การประมวลผลระบบการแบ่งเวลา(Time Sharing Processing)
   เป็ นการประมวลผลข้อมูลที่เป็ นระบบแบ่งเวลาหรื อ ระบบมัลติทาสกิ้ง
   (Multitasking) ที่ทาให้สามารถรันโปรแกรมได้หลายงาน หรื อเพิ่ม
   จานวนผูใช้คอมพิวเตอร์ทางานได้หลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน ช่วยลด
            ้
   เวลาในการประมวลผลได้อย่างมาก
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล
   1.4.2.3 การประมวลผลออนไลน์(Online Processing) เป็ นการ
   ประมวลผลข้อมูลที่ ยอมให้มีการนาข้อมูลไปเก็บไว้ในอุปกรณ์ประเภท
   หน่วยความจาสารองภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลางได้
   โดยตรง กล่าวคือ สามารถส่ งข้อมูลผ่านไปยังอุปกรณ์ภายนอกที่เชื่อมต่อ
   โดยตรงกับหน่วยประมวลผลกลาง
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล
   1.4.2.4 การประมวลผลแบบเวลาจริ ง(Real Time Processing) เป็ นการ
   ประมวลผลข้อมูลแบบทันทีทนใด ทุกครั้งที่มีการส่ งข้อมูลเข้าสู่ระบบ
                                ั
   เช่น การฝาก ถอนเงินผ่านเครื่ อง ATM , ระบบสารองที่นงสายการบิน
                                                      ั่
   ต่าง ๆ
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล
   1.4.2.5 การประมวลผลแบบมัลติโปรแกรมมิ่ง(Multiprogramming) เป็ น
   การประมวลผลข้อมูลที่ ใช้คอมพิวเตอร์แบ่งงานออกเป็ นส่ วน ๆ โดย
   เก็บไว้ใน buffer Storage ก่อน จากนั้นจึงทยอยส่ งให้หน่วยประมวลผล
   กลางดาเนินการต่อ เมื่อประมวลผลเสร็ จ ก็พกไว้ก่อน และคอยให้มีการ
                                             ั
   แสดงผลในลาดับต่อไป
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.3 วัตถุประสงค์ ของการประมวลผลข้ อมูล
        1.4.3.1 ช่วยในการจัดระบบข้อมูลให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ช่วยให้
   งานมีความสะดวก ข้อมูลไม่สูญหาย และมีความผิดพลาดของข้อมูลน้อย
         1.4.3.2 ลดค่าใช้จ่ายในการทางาน การนาเอาคอมพิวเตอร์มา
   ทดแทนคนในการทางาน ทาให้ลดค่าใช้จ่ายของคนไปได้มาก
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.3 วัตถุประสงค์ ของการประมวลผลข้ อมูล
         1.4.3.3 เพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางาน การนาเอาคอมพิวเตอร์มา
   ช่วยในการทางานนั้น จะช่วยเพิมประสิ ทธิภาพในด้าน
                                    ่
   1) งานเสร็ จเร็ วทันตามเวลาที่ตองการ
                                  ้
   2) สามารถทางานปรับปรุ งแก้ไขงานได้
   3) งานที่ได้มกจะถูกต้องเสมอ
                 ั
   4) สามารถเก็บงานไว้ได้ โดยบันทึกในคอมพิวเตอร์
                             ุ่
   5) ช่วยในการคานวณที่ยงยากซับซ้อนได้
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.4 วิธีการประมวลผล
        การประมวลผล จาแนกออกได้เป็ น 3 วิธี ตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
   ประมวลผลคือ
      1.4.4.1 ประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) ใช้มาในอดีต
                                                        ุ่
   เหมาะสมกับองค์กรเล็ก ๆ ที่มีขอมูลไม่มาก การคานวณไม่ยงยาก
                                     ้
   ซับซ้อน เช่น การใช้อุปกรณ์
          1) อุปกรณ์อานวยความสะดวกในด้านการเก็บรักษา และค้นหา
   ข้อมูล เช่น บัตรแข็ง แฟ้ ม ตูเ้ อกสาร
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.4 วิธีการประมวลผล
    2) อุปกรณ์ที่ช่วยในการนับและคิดคานวณ เช่น ลูกคิด เครื่ องคิดเลข
    3) อุปกรณ์ท่ีช่วยในการคัดลอกข้อมูล เช่น กระดาษ ปากกา ดินสอ
   เครื่ องอัดสาเนา
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.4 วิธีการประมวลผล
      1.4.4.2 ประมวลผลด้วยเครื่ องจักรกล (Mechanical Data Processing)
   คล้ายแบบแรก แต่อาศัยคนร่ วมกับเครื่ องจักรกล เหมาะสาหรับองค์กร
   ธุรกิจขนาดกลาง มีขอมูลปริ มาณปานกลาง ต้องการความเร็ วในการ
                        ้
   ประมวลผล เช่น เครื่ องทาบัญชี (Accounting Machine) เครื่ องกึ่ง
   อีเล็กทรอนิกส์ หรื อเครื่ อง Unit Record
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.4 วิธีการประมวลผล
      1) เครื่ องทาบัญชี ใช้บตรเจาะรู โดยอ่านข้อมูลจากบัตรทีละใบ แล้ว
                              ั
   เก็บตัวเลขไว้ในเครื่ อง เพื่อใช้ในการคานวณ และพิมพ์ผลลัพธ์ทาง
   เครื่ องพิมพ์
      2) เครื่ อง Unit Record เป็ นเครื่ องกึ่งเครื่ องกลไฟฟ้ ากึ่งอิเล็กทรอนิกส์
   ทางานร่ วมกับบัตรเจาะรู สามารถทางานได้หลายชนิด เช่นเครื่ องเจาะ
   บัตร เครื่ องรวมบัตร เครื่ องเรี ยงบัตร เครื่ องแปลข้อมูล เครื่ องตรวจทาน
   บัตร
1.4 การประมวลผลข้ อมูล

1.4.4 วิธีการประมวลผล
      1.4.4.3 ประมวลผลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data
   Processing:EDP) เป็ นการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์นนเอง เหมาะสม
                                                       ั่
   กับการประมวลผลข้อมูลที่
         1) มีปริ มาณมาก ๆ
         2) ต้องการความถูกต้องรวดเร็ ว
         3) มีข้นตอนทางานซ้ า ๆ กัน
                ั
                           ุ่
         4) มีการคานวณที่ยงยาก ซับซ้อน
1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ
         ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล
           ่
   ตัวอย่ างฐานข้ อมูลเชิงสั มพันธ์ สาหรับระบบการรับสมัครนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
 พบว่ามีขอมูลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
           ้
    1.5.1 ข้อมูลผูสมัคร เช่น ชื่อ ที่อยู่ โรงเรี ยนเดิม เกรดเฉลี่ย
                  ้
    1.5.2 ข้อมูลสาขาวิชา เช่น ชื่อสาขา คณะ จานวนรับ
    1.5.3 ข้อมูลการสมัคร เช่น ชื่อผูสมัคร สาขาที่สมัครเรี ยน
                                      ้
    1.5.4 ข้อมูลเกี่ยวกับคณะวิชา เช่น รหัสคณะและชื่อคณะ
1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ
             ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล
               ่
       ข้อมูล ต่าง ๆ นามาพิจารณาในการออกแบฐานข้อมูล โดยแยกเป็ น
  แฟ้ มข้อมูล เช่น แฟ้ มหลัก แฟ้ มรายการเปลี่ยนแปลง และแฟ้ มอ้างอิง
       พิจารณาการเชื่อมโยงของแฟ้ มข้อมูลโดยอาศัยสิ่ งที่เรี ยกว่า คีย(์ key)
ประกอบด้วย Primary key และ Foreign key
1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ
    ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล
      ่




  ตัวอย่างการเชื่อมโยงของคีย ์ ในแฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ
1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ
         ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล
           ่
   สิ่ งทีได้ จากการประยุกต์ ใช้ ฐานข้ อมูลการรับสมัครนักศึกษามีได้
            ่
หลายระดับคือ
       ระดับบริหาร ใช้ในการวางแผน ตัดสิ นใจ เช่น หากทราบว่ามีสาขา
ใดที่มีผสมัครเรี ยนมากที่สุด จะวางแผนว่าจะเพิ่มจานวนการับเข้าเรี ยน
         ู้
ในสาขาดังกล่าวหรื อไม่ในปี ต่อไป
       ระดับปฏิบัติการและบริการ ใช้ในการบริ หารจัดการ เช่น การจัด
ห้องสอบ โดยดูสารสนเทศจากจานวนผูสมัครทั้งหมด้
1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ
         ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล
           ่
   สิ่ งทีได้ จากการประยุกต์ ใช้ ฐานข้ อมูลการรับสมัครนักศึกษามีได้
           ่
หลายระดับคือ
       อืน ๆ ใช้ในการตัดสิ นใจของตัวผูสมัครเองในวันสมัคร ว่าจะเลือก
         ่                                 ้
สมัครในสาขาใด เช่น หากทราบว่ามีผสมัครจานวนมากในสาขาที่รับ
                                        ู้
สมัครน้อย อาจเปลี่ยนไปเลือกในสาขาอื่น ได้
สรุป
         สารสนเทศ คือข้ อมูลที่ได้ จากการประมวลผล
 ที่มีการจัดเก็บข้ อมูลในระดับ bit, byte, field
 จนถึง ฐานข้ อมูล และการประมวลผลจากระบบ
 แฟมข้ อมูลเดิมที่มีปัญหาในการใช้ งานหลายประการ
     ้
 และมีการพัฒนาระบบฐานข้ อมูลมาใช้ แก้ ปัญหา
 และมีการประมวลผลในหลายรู ปแบบ ทังนีเ้ พื่อลด
                                          ้
 ค่ าใช้ จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน

More Related Content

What's hot

การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
sunisa3112
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
sa
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
kunanya12
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ปิยะดนัย วิเคียน
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
สิรินยา ปาโจด
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
palmyZommanow
 

What's hot (19)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 

Viewers also liked

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
skiats
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
skiats
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
skiats
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
Saranyu Srisrontong
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
skiats
 
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
skiats
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
skiats
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
bbgunner47
 
Hashing function
Hashing functionHashing function
Hashing function
Meaw Sukee
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษ
skiats
 
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
supatra178
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
skiats
 

Viewers also liked (20)

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
6 - functions
6  - functions6  - functions
6 - functions
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
Linklist
LinklistLinklist
Linklist
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
Search
SearchSearch
Search
 
Hashing function
Hashing functionHashing function
Hashing function
 
Sorting
SortingSorting
Sorting
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษ
 
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 

Similar to Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
สิรินยา ปาโจด
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
chanoot29
 
Database
DatabaseDatabase
Database
paween
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
ครูเพชร
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
พัน พัน
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
lovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
Luckfon Fonew
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
lovelovejung
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
Nuanlaor Nuan
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
chukiat008
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
miwmilk
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 

Similar to Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 

More from skiats

อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
skiats
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการ
skiats
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
skiats
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
skiats
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
skiats
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล
skiats
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการ
skiats
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
skiats
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
skiats
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
skiats
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
skiats
 

More from skiats (12)

อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการ
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการ
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
 

Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล

  • 1. การประมวลผล เพื่อ ?  ใช้ ในการตัดสินใจ วางแผนองค์กร เพื่อให้ องค์กรสามารถดาเนินการต่อไปได้ ภายใต้ การ เปลี่ยนแปลงด้ านต่าง ๆ ของโลก  องค์กรใดสามารถจัดการข้ อมูลได้ ดี จะสามารถแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆได้ ดีกว่า  ได้ สารสนเทศ หรื อ Information ที่มีรูปแบบที่เข้ าใจง่าย , ถูกต้ อง, มีความเป็ น ปั จจุบน ั
  • 2. 1.1 ข้อมูล 1.1.1 ความหมายของ ข้ อมูล หรื อ data  ข้ อเท็จจริ งที่เกี่ยวกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรื อเหตุการณ์ที่สนใจ  ข้ อมูลได้ มาจาก การสังเกต การวัด การนับ การชัง หรื อการตวง ่  ข้ อมูลเป็ นได้ ทง ตัวเลข ข้ อความ หรื อตัวเลขปนกับข้ อความ ั้  ข้ อมูล ปกติจะกระจัดกระจาย ไม่เป็ นระเบียบ ทาให้ ต้องมีการจัดระเบียบข้ อมูล เพื่อให้ สามารถใช้ ประโยชน์จากข้ อมูลนัน ๆ ได้ ้  ตัวอย่างของข้ อมูล เช่น ข้ อมูลแบบสอบถามต่าง ๆ ซึงข้ อมูลที่ได้ รับอาจเป็ นจริ งหรื อไม่ ่ เป็ นจริ งก็ได้
  • 3. 1.1 ข้ อมูล (ต่ อ) 1.1.2 ประเภทของข้ อมูล โดยทัวไปแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ ่  ตัวเลข หรื อ Numeric  ตัวอักษร หรื อ Alphabetic และ  ข้อความในตัวเลข Alphameric
  • 4. 1.1 ข้อมูล (ต่อ) 1.1.2 ประเภทของข้ อมูล  แต่ข้อมูลในความหมายของคอมพิวเตอร์ จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ  ข้ อมูลที่คานวณได้ ได้ แก่ตวเลข ั  ข้ อมูลที่ไม่สามารถนาไปคานวณได้ คือ Character หรื อ String คือข้ อมูลตัวอักษร ตัวอักษรปนตัวเลข หรื อตัวเลขบางตัวที่ใช้ คานวณไม่ได้ เช่น เลขรหัสนักศึกษา เลข ประจาตัวประชาชน
  • 5. 1.1 ข้อมูล(ต่อ) 1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล ประกอบด้ วยโครงสร้ างหน่วยที่เล็กที่สด คือ บิต จนถึงโครงสร้ างที่ใหญ่ที่สดคือ ุ ุ ฐานข้ อมูล
  • 6. 1.1 ข้อมูล(ต่อ) 1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล 1.1.3.1 บิต (bit) เป็ นหน่วยที่เล็กทีสดของข้ อมูลทีจดเก็บที่คอมพิวเตอร์ ประกอบด้ วย ่ ุ ่ั เลขฐาน 2 คือ 0 และ 1 เท่านัน ้ 11.3.2 ไบท์(byte) หรื ออักขระ(Character) ประกอบด้ วยกลุมของ bit จานวน 7 ่ หรื อ 8 มารวมกันเป็ นอักษร ตัวเลข หรื อสัญลักษณ์พิเศษ เช่น อักษร A จะจัดเก็บเป็ น รหัส ASCII 1 byte ด้ วยข้ อมูล 01000001
  • 7. 1.1 ข้อมูล(ต่อ) 1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล 1.1.3.3 ฟิ ลด์ (field) คือข้ อมูลที่ประกอบด้ วยอักขระ เพื่อให้ สื่อความหมายตามที่ผ้ ใช้ ู ต้ องการ เช่น ชื่อพนักงาน นามสกุล 1.1.3.4 ระเบียน (record) คือการรวมฟิ ลด์หลาย ๆ ฟิ ลด์ที่เกี่ยวพันกันมา รวมกันให้ มีความหมาย
  • 8. 1.1 ข้อมูล (ต่อ) 1.1.3 โครงสร้ างของข้ อมูล 1.1.3.5 ไฟล์ หรื อแฟ้ มข้ อมูล (File) เป็ นการรวมเอาระเบียน หลาย ๆระเบียนที่เกี่ยวพัน กันมารวมกัน เช่น แฟ้ มข้ อมูลลูกค้ า แฟ้ มข้ อมูลการขายสินค้ า 1.1.3.6 ฐานข้ อมูล (Database) คือกลุมของข้ อมูลที่เป็ นข้ อเท็จจริ ง ที่ถกนามารวมไว้ ่ ู ที่เดียวกันอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปใช้ ในวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
  • 10. 1.2 แฟ้ มข้อมูล ในอดีตองค์กรจัดเก็บแฟ้ มข้ อมูล เป็ นแฟ้ ม ๆ ซึงเป็ นข้ อมูลที่ไม่มีความเกี่ยวข้ อง ่ หรื อสัมพันธ์กน เช่น อาจเก็บเป็ น แฟ้ มประวัติพนักงานของฝ่ ายบุคคล แฟ้ มประวัติ ั พนักงานของฝ่ ายการตลาด มีปัญหาในการใช้ งานหากมีแฟมเพิ่มขัน ทาให้ เสียเวลาใน ้ ้ การค้ นหาข้ อมูล ต่อมาคอมพิวเตอร์ มีบทบาทสาคัญในการจัดเก็บ รวบรวมข้ อมูล ทาให้ มี แฟ้ มข้ อมูลมากขึ ้น จึงได้ นาเอา ระบบจัดการแฟ้ มข้ อมูล (File Management System) มาใช้ โดยต่าง คนต่างทา แล้ วแต่วาอยู่ในส่วนใดขององค์กร ่
  • 11. 1.2 แฟ้ มข้อมูล ปั ญหาที่ตามมาในระยะแรก ๆ คือ แต่ละองค์กรต่างมีโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ แตกต่างกันไป ทาให้ เกิดปั ญหา เช่น ข้ อมูลในองค์กรมีความซ ้าซ้ อนกัน ข้ อมูลกระจัดกระจาย ยากต่อการบารุงรักษา บางครังข้ อมูลขัดแย้ งกัน ก่อให้ เกิดความสับสน ้
  • 12. 1.2 แฟ้ มข้อมูล ภาพการประมวลผลด้ วยระบบแฟ้ มข้ อมูล
  • 13. 1.2 แฟมข้ อมูล ้ 1.2.1 ข้ อดีของระบบแฟมข้ อมูล ้ 1.2.1.1 ง่ายต่อการออกแบบและพัฒนา ไม่สลับซับซ้ อน เนื่องจากเป็ นแอปพลิเคชันเดียว 1.2.1.2 มีความรวดเร็วในการประมวลผล เนื่องจากเขียนโปรแกรมเป็ นการเฉพาะหรื อ โดยตรง
  • 14. 1.2 แฟมข้ อมูล ้ 1.2.2 ข้ อจากัดของระบบแฟมข้ อมูล ้ 1.2.2.1 ข้อมูลเกิดความซ้ าซ้อน (Data Redundancy) เช่นมีขอมูลผูใช้ ้ ้ เดียวกันในแฟ้ ม หลายแฟ้ ม 1.2.2.2 ลาบากต่อการแก้ไข (Update Difficulties) หากต้องการแก้ไขข้อมูล ผูใช้ใด ๆ ก็ตองแก้ไขทุกแฟ้ มที่มีขอมูลผูใช้น้ น ๆ ้ ้ ้ ้ ั
  • 15. 1.2 แฟมข้ อมูล ้ 1.2.2 ข้ อจากัดของระบบแฟมข้ อมูล ้ 1.2.2.3 การผูกติดกับข้อมูล (Data Dependency) โปรแกรมประยุกต์ตอง ้ เขียนหรื อกาหนดโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลไว้ในโปรแกรม ทาให้ยาก ต่อการปรับปรุ งโครงสร้างแฟ้ มข้อมูล เช่น เพิ่มข้อมูลบางอย่าง ทาได้ยาก 1.2.2.4 การกระจัดกระจายของข้อมูล (Data Dispersion) เช่นแฟ้ มข้อมูล A ่ มีอยูในพื้นที่เก็บข้อมูลของผูใช้หลายคน ้
  • 16. 1.2 แฟมข้ อมูล ้ 1.2.3 ประเภทของแฟมข้ อมูล ้ แบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภทคือ ่ 1.2.3.1 แฟ้ มหลัก(Master File) เป็ นแฟ้ มหลักที่ใช้เก็บข้อมูลที่ไม่คอยจะมี การเปลี่ยนแปลง หรื อค่อนข้างคงที่ เช่นแฟ้ มประวัตินกศึกษา ั ประกอบด้วยข้อมูล รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล ที่อยู่ ฯลฯ 1.2.3.2 แฟ้ มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) เป็ นไฟล์ที่จดเก็บข้อมูล ั การดาเนินธุรกรรมประจาวันวันที่ความเคลื่อนไหวอยูเ่ สมอ ๆ เช่นแฟ้ ม บัญชีเงินฝาก
  • 17. 1.2 แฟมข้ อมูล ้ 1.2.3 ประเภทของแฟมข้ อมูล(ต่ อ) ้ แบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภทคือ 1.2.3.3 แฟ้ มเอกสร(Document File) เป็ นไฟล์เอกสารหรื อไฟล์รายงานต่าง ๆ ที่มีการประมวลผลจากโปรแกรมมาแล้ว สามารถเรี ยกมาใช้ได้อย่าง รวดเร็ ว 1.2.3.4 แฟ้ มอ้างอิง (Table Look-up File หรื อ Reference File) เป็ นไฟล์ที่ใช้ ในการอ้างอิง เพื่อใช้ร่วมกันกับ มักเป็ นข้อมูลที่คงที่ ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง เช่น ตารางภาษี ตารางรหัสไปรษณี ย ์
  • 18. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.1 ความหมายของฐานข้ อมูล ่ มีอยูหลายความหมาย เช่น „ การจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันอย่างมีระบบ ผูใช้สามารถเรี ยกใช้ขอมูล ้ ้ ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การขอดูขอมูล การแก้ไข การเพิ่มเติมหรื อลบ ้ ข้อมูล มักใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดเก็บ เพื่อให้ทนต่อความ ั ต้องการใช้ และถูกต้อง เป็ นจริ ง
  • 19. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.1 ความหมายของฐานข้ อมูล ่ เลาดอน (2545) กล่าวไว้วา „ การเก็บรวบรวมข้อมูลจานวนมากไว้อย่างเป็ นระเบียบ ช่วยในการ บริ หาร จัดเก็บ และค้นหาข้อมูลโดยโปรแกรมประยุกต์ เป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิภาพด้วยการรวบรวมข้อมูลไว้เป็ นที่เดียวกัน และลดความ ซ้ าซ้อนของข้อมูล ผูใช้มองเห็นข้อมูลจากสถานที่เดียวกันคือ ้ “ฐานข้ อมูล”
  • 20. 1.3 ฐานข้ อมูล ภาพ การประมวลผลด้ วยระบบฐานข้ อมูล
  • 21. 1.3 ฐานข้ อมูล ประโยชน์ ของการใช้ ฐานข้ อมูล 1.3.1.1 ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ าซ้อน เนื่องจากมีการจัดเก็บไว้ในที่ที่เดียว ้ ้ ่ และผูใช้มีการใช้ขอมูลชุดเดียวกันนี้ผานระบบฐานข้อมูล 1.3.1.2 ข้อมูลที่จดเก็บมีความถูกต้อง เนื่องจากข้อมูลจัดเก็บในฐานข้อมูล ั เดียวกัน หากมีการแก้ไข ก็จะเป็ นการแก้ไขที่มีความถูกต้อง โดย อัตโนมัติของระบบฐานข้อมูล
  • 22. 1.3 ฐานข้ อมูล ประโยชน์ ของการใช้ ฐานข้ อมูล(ต่ อ) ้ ้ ่ 1.3.1.3 สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ ทุกคนสามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ผาน ระบบฐานข้อมูล 1.3.1.4 มีความเป็ นอิสระของข้อมูล หากต้องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลหรื อนา ข้อมูลมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา ทาให้ได้ ข้อมูลใหม่ โดยไม่กระทบต่อระบบฐานข้อมูลเดิม
  • 23. 1.3 ฐานข้ อมูล ประโยชน์ ของการใช้ ฐานข้ อมูล(ต่ อ) 1.3.1.5 สามารถขยายงานได้ง่าย เนื่องจากความเป็ นอิสระของข้อมูล เมื่อ ต้องการเพิมเติมข้อมูล จะทาได้ง่ายและสะดวก ไม่มีผลกระทบกับข้อมูล ่ เดิมที่มีอยู่
  • 24. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล แบบจาลองฐานข้อมูล คือ เทคนิคที่ใช้ในการจัดโครงสร้างและ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบ และเป็ นการใช้เพื่อนาไปพัฒนาใน ฐานข้อมูลในลาดับต่อไป
  • 25. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล 1.3.2.1 ความสัมพันธ์ของข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลมีความจาเป็ นต้อง ศึกษาความสัมพันธ์ของข้อมูล เนื่องจากในฐานข้อมูลจะมีแฟ้ มข้อมูลที่ ใช้ร่วมกันมากกว่า 1 แฟ้ ม ความสัมพันธ์ของข้อมูล มี 3 แบบ คือ 1). ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One) เป็ นความสัมพันธ์ที่ ั 1 เรคอร์ดของแฟ้ มหนึ่งมีความสัมพันธ์กบอีกแฟ้ มหนึ่งเพียง 1 เรคอร์ด เท่านั้น เช่น คนกับเลขประจาตัวประชาชน
  • 26. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล 2). ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหลาย(One to Many) เป็ นความสัมพันธ์ ั ที่ 1 เรคอร์ดของแฟ้ มหนึ่งมีความสัมพันธ์กบอีกแฟ้ มหนึ่งมากกว่า 1 เร คอร์ด เช่น คณะ (one) กับนักศึกษาหลายคน (Many)
  • 27. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล 3). ความสัมพันธ์แบบหลายต่อหลาย(Many to Many) เป็ น ั ความสัมพันธ์ที่ หลาย ๆ เรคอร์ดของแฟ้ มหนึ่งมีความสัมพันธ์กบอีก แฟ้ มหนึ่งมากกว่า 1 เรคอร์ด เช่น ความสัมพันธ์ของลูกค้ากับสิ นค้า
  • 28. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล 3.3.2.2 ประเภทของแบบจาลองฐานข้อมูล 1). แบบจาลองของฐานข้อมูลแบบลาดับขั้น (Hierarchical Data Model) แบบนี้เก็บข้อมูลในแฟ้ มเป็ น Segment และในแผนผังต้นไม้จะ ่ เรี ยกแต่ละ Segment ว่า Node โดย Node ที่อยูระดับล่าง จะเรี ยกว่า ่ โหนดลูก (Child Node) ส่ วนโหนดที่อยูระดับบนเรี ยกว่า โหนดพ่อแม่ ่ (Parent Node) ส่ วนโหนดที่อยูระดับบนสุ ดเรี ยกว่า Root Node
  • 30. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล 1.3.2.2 ประเภทของแบบจาลองฐานข้อมูล 2). แบบจาลองของฐานข้อมูลแบบเครื อข่าย (Network Data Model) แบบนี้เก็บข้อมูลในแฟ้ มคล้ายแบบที่ 1 แต่ โหนดลูกจะมีโหนดพ่อแม่ ได้มากกว่า 1 โหนด และโหนดพ่อแม่มีโหนดลูกได้มากกว่า 1 โหนด เช่นเดียวกัน เป็ นความสัมพันธ์แบบ Many to Many
  • 32. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล 1.3.2.2 ประเภทของแบบจาลองฐานข้อมูล 3). แบบจาลองของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Model) แบบนี้ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบน ง่ายต่อการทาความเข้าใจใน ั โครงสร้างข้อมูล ประกอบด้วยกลุ่มของตาราง(Table) แบบ 2 มิติ แบ่งเป็ นแถวและคอลัมน์ แต่ละแถวคือ 1 เรคคอร์ด แต่ละคอลัมน์คือเก็บ ค่าของฟิ ลด์ต่าง ๆ
  • 33. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.2 แบบจาลองฐานข้ อมูล แสดงตัวอย่าง แบบจาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
  • 34. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.3 ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System: DBMS) เป็ นระบบที่คอยดูแล จัดการความซ้ าซ้อนและความถูกต้องให้กบ ั ข้อมูล 1.3.3.1 ความหมายของระบบจัดการฐานข้อมูล คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน ้ ั การบริ หารและจัดการฐานข้อมูล เป็ นตัวกลางระหว่างผูใช้กบฐานข้อมูล ทาหน้าที่ในการ สร้าง เรี ยกใช้ หรื อปรับปรุ งฐานข้อมูล โดยผูใช้ออก ้ คาสังผ่าน DBMS ่
  • 35. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.3 ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System: DBMS) DBMS ผูดูแลฐานข้อมูล (DBA) ้ ฐานข้อมูล ผูใช้ (User) ้ แสดงโครงสร้างกรทางานของระบบจัดการฐานข้อมูล
  • 36. 1.3 ฐานข้ อมูล 1.3.3 ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System: DBMS) 1.3.3.2 หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล เป็ นตัวกลางในการรับคาสังจัดการข้อมูลจากผูใช้ เพื่อนาไปปฏิบติ ่ ้ ั ั ้ ตามและส่ งผลลัพธ์ให้กบผูใช้ ่ ผลิตภัณฑ์ระบบจัดการฐานข้อมูลมีอยูหลายชนิด เช่น Microsoft Access, Microsoft SQL, DB2, Informix, Oracle และ Sybase ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นระบบเปิ ด เช่น MySql, PostgreSql
  • 37. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.1 ความหมายของการประมวลผลข้ อมูล คือ การเปลี่ยนรู ปแบบของข้อมูลดิบให้เป็ นสารสนเทศ เพื่อให้ใช้งาน หรื อมีประโยชน์ได้ ประกอบด้วยวิธีต่าง ๆ 4 วิธีคือ 1.4.1.1 การเรี ยงลาดับข้อมูล (Data Sorting) เช่น เรี ยงจากมากไปน้อย หรื อเรี ยงตามชื่อ 1.4.1.2 การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ขอมูล(Comparing and Analysis) ้ เป็ นการเปรี ยบเทียบหรื อวิเคราะห์ขอมูล เช่น การหาค่าสูงสุ ด การ ้ วิเคราะห์แนวโน้มของข้อมูล
  • 38. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.1 ความหมายของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.1.3 การคานวณและประมวลผลข้อมูล (Data Processing) เป็ นการ นาเอาข้อมูลมาจัดการตามกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร หรื อฟังก์ชนที่กาหนด ั่ 1.4.1.4 การสรุ ปผล(Summarizing) เป็ นการสรุ ปผลที่ได้จากการ ประมวลผล เช่น การสรุ ปจากยอดรวม มักเก็บไว้ในรู ปตารางหรื อสื่ ออื่น ที่เหมาะสม
  • 39. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.2.1 การประมวลผลเชิงกลุ่ม(Batch Processing) เป็ นการประมวลผล ข้อมูลที่ได้ทาการเก็บรวบรวมไว้เป็ นชุดข้อมูล แล้วจึงนาส่ งข้อมูล เหล่านั้นไปประมวลผลข้อมูลพร้อมกันทั้งหมดทีเดียว มีระยะเวลาที่ กาหนดไว้แน่นอน เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรื อรายปี เช่น การ ประมวลผลการเสี ยภาษีประจาปี การคิดดอกเบี้ยของธนาคาร
  • 40. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.2.2 การประมวลผลระบบการแบ่งเวลา(Time Sharing Processing) เป็ นการประมวลผลข้อมูลที่เป็ นระบบแบ่งเวลาหรื อ ระบบมัลติทาสกิ้ง (Multitasking) ที่ทาให้สามารถรันโปรแกรมได้หลายงาน หรื อเพิ่ม จานวนผูใช้คอมพิวเตอร์ทางานได้หลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน ช่วยลด ้ เวลาในการประมวลผลได้อย่างมาก
  • 41. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.2.3 การประมวลผลออนไลน์(Online Processing) เป็ นการ ประมวลผลข้อมูลที่ ยอมให้มีการนาข้อมูลไปเก็บไว้ในอุปกรณ์ประเภท หน่วยความจาสารองภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลางได้ โดยตรง กล่าวคือ สามารถส่ งข้อมูลผ่านไปยังอุปกรณ์ภายนอกที่เชื่อมต่อ โดยตรงกับหน่วยประมวลผลกลาง
  • 42. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.2.4 การประมวลผลแบบเวลาจริ ง(Real Time Processing) เป็ นการ ประมวลผลข้อมูลแบบทันทีทนใด ทุกครั้งที่มีการส่ งข้อมูลเข้าสู่ระบบ ั เช่น การฝาก ถอนเงินผ่านเครื่ อง ATM , ระบบสารองที่นงสายการบิน ั่ ต่าง ๆ
  • 43. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.2 ประเภทของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.2.5 การประมวลผลแบบมัลติโปรแกรมมิ่ง(Multiprogramming) เป็ น การประมวลผลข้อมูลที่ ใช้คอมพิวเตอร์แบ่งงานออกเป็ นส่ วน ๆ โดย เก็บไว้ใน buffer Storage ก่อน จากนั้นจึงทยอยส่ งให้หน่วยประมวลผล กลางดาเนินการต่อ เมื่อประมวลผลเสร็ จ ก็พกไว้ก่อน และคอยให้มีการ ั แสดงผลในลาดับต่อไป
  • 44. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.3 วัตถุประสงค์ ของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.3.1 ช่วยในการจัดระบบข้อมูลให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ช่วยให้ งานมีความสะดวก ข้อมูลไม่สูญหาย และมีความผิดพลาดของข้อมูลน้อย 1.4.3.2 ลดค่าใช้จ่ายในการทางาน การนาเอาคอมพิวเตอร์มา ทดแทนคนในการทางาน ทาให้ลดค่าใช้จ่ายของคนไปได้มาก
  • 45. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.3 วัตถุประสงค์ ของการประมวลผลข้ อมูล 1.4.3.3 เพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางาน การนาเอาคอมพิวเตอร์มา ช่วยในการทางานนั้น จะช่วยเพิมประสิ ทธิภาพในด้าน ่ 1) งานเสร็ จเร็ วทันตามเวลาที่ตองการ ้ 2) สามารถทางานปรับปรุ งแก้ไขงานได้ 3) งานที่ได้มกจะถูกต้องเสมอ ั 4) สามารถเก็บงานไว้ได้ โดยบันทึกในคอมพิวเตอร์ ุ่ 5) ช่วยในการคานวณที่ยงยากซับซ้อนได้
  • 46. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.4 วิธีการประมวลผล การประมวลผล จาแนกออกได้เป็ น 3 วิธี ตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ประมวลผลคือ 1.4.4.1 ประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) ใช้มาในอดีต ุ่ เหมาะสมกับองค์กรเล็ก ๆ ที่มีขอมูลไม่มาก การคานวณไม่ยงยาก ้ ซับซ้อน เช่น การใช้อุปกรณ์ 1) อุปกรณ์อานวยความสะดวกในด้านการเก็บรักษา และค้นหา ข้อมูล เช่น บัตรแข็ง แฟ้ ม ตูเ้ อกสาร
  • 47. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.4 วิธีการประมวลผล 2) อุปกรณ์ที่ช่วยในการนับและคิดคานวณ เช่น ลูกคิด เครื่ องคิดเลข 3) อุปกรณ์ท่ีช่วยในการคัดลอกข้อมูล เช่น กระดาษ ปากกา ดินสอ เครื่ องอัดสาเนา
  • 48. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.4 วิธีการประมวลผล 1.4.4.2 ประมวลผลด้วยเครื่ องจักรกล (Mechanical Data Processing) คล้ายแบบแรก แต่อาศัยคนร่ วมกับเครื่ องจักรกล เหมาะสาหรับองค์กร ธุรกิจขนาดกลาง มีขอมูลปริ มาณปานกลาง ต้องการความเร็ วในการ ้ ประมวลผล เช่น เครื่ องทาบัญชี (Accounting Machine) เครื่ องกึ่ง อีเล็กทรอนิกส์ หรื อเครื่ อง Unit Record
  • 49. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.4 วิธีการประมวลผล 1) เครื่ องทาบัญชี ใช้บตรเจาะรู โดยอ่านข้อมูลจากบัตรทีละใบ แล้ว ั เก็บตัวเลขไว้ในเครื่ อง เพื่อใช้ในการคานวณ และพิมพ์ผลลัพธ์ทาง เครื่ องพิมพ์ 2) เครื่ อง Unit Record เป็ นเครื่ องกึ่งเครื่ องกลไฟฟ้ ากึ่งอิเล็กทรอนิกส์ ทางานร่ วมกับบัตรเจาะรู สามารถทางานได้หลายชนิด เช่นเครื่ องเจาะ บัตร เครื่ องรวมบัตร เครื่ องเรี ยงบัตร เครื่ องแปลข้อมูล เครื่ องตรวจทาน บัตร
  • 50. 1.4 การประมวลผลข้ อมูล 1.4.4 วิธีการประมวลผล 1.4.4.3 ประมวลผลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing:EDP) เป็ นการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์นนเอง เหมาะสม ั่ กับการประมวลผลข้อมูลที่ 1) มีปริ มาณมาก ๆ 2) ต้องการความถูกต้องรวดเร็ ว 3) มีข้นตอนทางานซ้ า ๆ กัน ั ุ่ 4) มีการคานวณที่ยงยาก ซับซ้อน
  • 51. 1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล ่ ตัวอย่ างฐานข้ อมูลเชิงสั มพันธ์ สาหรับระบบการรับสมัครนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ พบว่ามีขอมูลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ้ 1.5.1 ข้อมูลผูสมัคร เช่น ชื่อ ที่อยู่ โรงเรี ยนเดิม เกรดเฉลี่ย ้ 1.5.2 ข้อมูลสาขาวิชา เช่น ชื่อสาขา คณะ จานวนรับ 1.5.3 ข้อมูลการสมัคร เช่น ชื่อผูสมัคร สาขาที่สมัครเรี ยน ้ 1.5.4 ข้อมูลเกี่ยวกับคณะวิชา เช่น รหัสคณะและชื่อคณะ
  • 52. 1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล ่ ข้อมูล ต่าง ๆ นามาพิจารณาในการออกแบฐานข้อมูล โดยแยกเป็ น แฟ้ มข้อมูล เช่น แฟ้ มหลัก แฟ้ มรายการเปลี่ยนแปลง และแฟ้ มอ้างอิง พิจารณาการเชื่อมโยงของแฟ้ มข้อมูลโดยอาศัยสิ่ งที่เรี ยกว่า คีย(์ key) ประกอบด้วย Primary key และ Foreign key
  • 53. 1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล ่ ตัวอย่างการเชื่อมโยงของคีย ์ ในแฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ
  • 54. 1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล ่ สิ่ งทีได้ จากการประยุกต์ ใช้ ฐานข้ อมูลการรับสมัครนักศึกษามีได้ ่ หลายระดับคือ ระดับบริหาร ใช้ในการวางแผน ตัดสิ นใจ เช่น หากทราบว่ามีสาขา ใดที่มีผสมัครเรี ยนมากที่สุด จะวางแผนว่าจะเพิ่มจานวนการับเข้าเรี ยน ู้ ในสาขาดังกล่าวหรื อไม่ในปี ต่อไป ระดับปฏิบัติการและบริการ ใช้ในการบริ หารจัดการ เช่น การจัด ห้องสอบ โดยดูสารสนเทศจากจานวนผูสมัครทั้งหมด้
  • 55. 1.5 ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ ทีได้ จากการประมวลผลข้ อมูล ่ สิ่ งทีได้ จากการประยุกต์ ใช้ ฐานข้ อมูลการรับสมัครนักศึกษามีได้ ่ หลายระดับคือ อืน ๆ ใช้ในการตัดสิ นใจของตัวผูสมัครเองในวันสมัคร ว่าจะเลือก ่ ้ สมัครในสาขาใด เช่น หากทราบว่ามีผสมัครจานวนมากในสาขาที่รับ ู้ สมัครน้อย อาจเปลี่ยนไปเลือกในสาขาอื่น ได้
  • 56. สรุป สารสนเทศ คือข้ อมูลที่ได้ จากการประมวลผล ที่มีการจัดเก็บข้ อมูลในระดับ bit, byte, field จนถึง ฐานข้ อมูล และการประมวลผลจากระบบ แฟมข้ อมูลเดิมที่มีปัญหาในการใช้ งานหลายประการ ้ และมีการพัฒนาระบบฐานข้ อมูลมาใช้ แก้ ปัญหา และมีการประมวลผลในหลายรู ปแบบ ทังนีเ้ พื่อลด ้ ค่ าใช้ จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน