SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
1
สรุปผลโครงการวิจัย
“การจัดทาแผนที่ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการผลิตปลาป่นในจังหวัด
สงขลา เพื่อสนับสนุนการปรับปรุงมาตรฐานความยั่งยืนในการผลิต”
(Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to
Facilitate Feed Dialogue)
เสนอต่อ อ็อกแฟม ประเทศไทย
25 มีนาคม 2557
หัวหน้าโครงการ: สฤณี อาชวานันทกุล
ทีมวิจัย: เจมส์ ทรู, ศรีสกุล ภิรมย์วรากร (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
ภัทราพร แย้มละออ, กรณิศ ตันอังสนากุล, ศศิวิมล คล่องอักขระ
บริษัท ป่าสาละ จากัด : www.salforest.com
2
สรุปผลการวิจัย
 อุตสาหกรรมปลาป่นส่งผลต่อระบบนิเวศและวิถีชีวิตของชุมชนชาวประมง
พื้นบ้าน
 พยุงให้การประมงแบบทาลายล้างดาเนินต่อไป เนื่องจากเป็นตลาดหลัก
ของ “ปลาเป็ด” ซึ่งรวมถึงลูกปลาและปลาขนาดเล็กที่ติดไปกับอวนประมง
 สงขลาผลิตปลาป่นมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ และเป็นอันดับ 1 ของภาคใต้
คิดเป็น 12.03% ของผลผลิตทั้งประเทศในปี 2554 ปัจจุบันเหลือโรงงาน 9 แห่ง
 ปี 2556 ผู้ผลิตปลาป่น 8 ราย จาก 9 รายในสงขลา ผลิตปลาป่นรวม 28,509 ตัน
 ใช้วัตถุดิบ 100,215 ตัน >>เศษซาก 79,965 ตัน (80%), ปลาตัว 20,250 ตัน
(20%) ในจานวนนี้เป็นปลาเป็ด 5,760 ตัน
 ผลผลิต 66% (18,814 ตัน) ขายให้ผู้ผลิตอาหารสัตว์ รายใหญ่ได้แก่ ซีพี
เอฟ 45%, เบทาโกร 17%, ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ 11%
3
สรุปผลการวิจัย
 ปลาป่นที่ผลิตจากปลาเป็ด 1,527 ตัน ขายให้
 ซีพีเอฟ 37.6% หรือ 575 ตัน > ตรวจสอบที่มาได้ 300 ตัน
 ฟาร์ม 19.7% หรือ 300 ตัน > ทั้งหมดตรวจสอบที่มาได้
 โบรกเกอร์ 42.7% หรือ 652 ตัน > ทั้งหมดตรวจสอบที่มาไม่ได้
 ระบบรับรองปลาป่น
 ผู้ผลิตอาหารสัตว์ที่เข้าร่วมมีเพียงซีพีเอฟ
 ตรวจสอบได้เพียงเอกสาร ไม่สามารถตรวจสอบกิจกรรมประมงที่เกิดขึ้นจริงได้
 ยังคงมีตลาดรองรับปลาเป็ดทุกรูปแบบ
 บทเรียนจากเปรู : การประมงที่ยั่งยืน
 มาตรฐานที่กากับผู้เล่นได้ทุกคน ใช้กฎหมายควบคู่กับการกากับดูแลของเอกชน
 ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการกากับดูแลและตรวจสอบ
 ค้นหา “เหตุผลทางธุรกิจ” ที่ชัดเจน เพราะเป็นแรงจูงใจที่มีประสิทธิภาพ
ความสาคัญและที่มาของการศึกษาวิจัย
4
 ปลาป่นเป็นวัตถุดิบสาคัญในการผลิตอาหารสัตว์
 วัตถุดิบอย่างหนึ่งของปลาป่นคือ “ปลาเป็ด” (trash fish) ซึ่งรวมถึงลูกปลา
และปลาขนาดเล็กที่ติดไปกับอวนประมง
 ปัจจุบันยังมีตลาดสาหรับปลาเป็ดที่เน่าเปื่ อยและด้อยคุณภาพ
 อวนลากมีประสิทธิภาพในการทาลายล้างสูง กวาดพื้นทะเลทาลายแหล่ง
ที่อยู่อาศัยของลูกปลาและทาลายระบบนิเวศ ส่งผลกระทบต่อชุมชน
ประมงพื้นบ้าน
เรืออวนลาก
ทาลายระบบนิเวศ
สงผลต่อประมง
พื้นบ้าน
ปลาป่น ปลาเป็ดอาหารสัตว์
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย
5
 เพื่อศึกษาและสร้างแผนที่ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการผลิต
ปลาป่นในจังหวัดสงขลา และวิเคราะห์ช่องว่างของกิจกรรมการ
ผลิตในแง่มุมของความยั่งยืน เทียบกับ “วิธีปฏิบัติอันเป็นเลิศ”
(best practices) ระดับสากล
 เพื่อศึกษาผลกระทบของอุตสาหกรรมปลาป่นที่มีต่อระบบนิเวศ
และวิถีชีวิตของชุมชนชาวประมงพื้นบ้านในจังหวัดสงขลา
 เพื่อสนับสนุนให้เกิดการสนทนาระหว่างผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย
ให้มีส่วนร่วมในการพัฒาระบบการผลิตและยกระดับมาตรฐาน
ต่างๆ
6
กรอบคิดในการวิจัย
ห่วงโซ่อุปทาน
อุตสาหกรรม
ปลาป่น
จังหวัดส่งขลา
กิจกรรม
การผลิต
ผลกระทบ
ต่อชุมชน
ประมง
พื้นบ้าน
ผลกระทบ
ต่อระบบ
นิเวศ
7
รูปแบบการวิจัย
เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ
1. สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ วิจัยเอกสาร
ประเมินชีว
มวล
2. ผลกระทบต่อชุมชนประมงพื้นบ้าน วิจัยเอกสาร -
3. ระบบห่วงโซ่อุปทานและกิจกรรมการผลิต
วิจัยเอกสาร,
สัมภาษณ์เชิงลึก
สัมภาษณ์
เชิงลึก
4. มาตรฐานการรับซื้อที่ยั่งยืน และ
กรณีศึกษาประมงที่ยั่งยืนในต่างประเทศ
วิจัยเอกสาร -
*การสัมภาษณ์เชิงลึก: ผู้ผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลา 8 ราย, ผู้ผลิต
อาหารสัตว์ 2 ราย
8
สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมปลาป่น
ระดับโลก
 มีความต้องการใช้ปลาป่นอย่างต่อเนื่อง โดยจีนยังเป็นผู้ใช้
และผู้นาเข้ารายใหญ่
 ปริมาณผลผลิตปลาป่นลดลง เนื่องจากเปรู (ผู้ผลิตปลาป่น
รายใหญ่สุดในโลก) กาหนดโควต้าจับปลา + ปรากฏการณ์
เอลนิโญ่รุนแรงและถี่กว่าเดิม
 แนวโน้มราคาสูงขึ้น
ระดับประเทศ
 ปริมาณผลผลิตปลาป่นค่อนข้างคงที่
 ความต้องการใช้เพิ่มสูงขึ้นเล็กน้อย
9
สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมปลาป่น
ราคาปลาป่นประเทศเปรูตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523-2556 (ค.ศ.1990-2013)
(หน่วย: ดอลล่าร์สหรัฐ/ตัน)
ที่มา: International Monetary Fund (IMF), 2013
0
500
1,000
1,500
2,000
2,500
1/1/1980
1/1/1981
1/1/1982
1/1/1983
1/1/1984
1/1/1985
1/1/1986
1/1/1987
1/1/1988
1/1/1989
1/1/1990
1/1/1991
1/1/1992
1/1/1993
1/1/1994
1/1/1995
1/1/1996
1/1/1997
1/1/1998
1/1/1999
1/1/2000
1/1/2001
1/1/2002
1/1/2003
1/1/2004
1/1/2005
1/1/2006
1/1/2007
1/1/2008
1/1/2009
1/1/2010
1/1/2011
1/1/2012
1/1/2013
10
แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และวัตถุดิบ
0
2,000,000
4,000,000
6,000,000
8,000,000
10,000,000
12,000,000
14,000,000
16,000,000
18,000,000
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ปลาป่น
ถั่วเหลือง
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ปลายข้าว
ปศุสัตว์
ประมาณการประชากรสัตว์ ปริมาณอาหารสัตว์ และการใช้วัตถุดิบ
ในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2546-2555
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2546-2555
11
อัตราการจับสัตว์น้าต่อการลงแรงประมงลดลง
อัตราการจับสัตว์น้าต่อการลงแรงประมง (Catch Per Unit Effort: CPUE) ของ
ประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2504-2553 (หน่วย: กิโลกรัม/ชั่วโมง)
ที่มา: ทวีป บุญวานิช และสุชาดา บุญภักดี, 2552
12
สถานการณ์และแนวโน้มอุตสาหกรรมปลาป่น
ปริมาณผลผลิตปลาป่นและจานวนผู้ผลิตปลาป่นของประเทศไทย ระหว่างปี
พ.ศ.2530-2554
ที่มา: กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง กรมประมง, 2556
ผลผลิตปลาป่น (ตัน) จานวนผู้ผลิตปลาป่น (ราย)
จานวนผู้ผลิตปลาป่น ผลผลิตปลาป่น
13
สถานการณ์และแนวโน้มปลาป่นในสงขลา
ระดับจังหวัด
 ปริมาณผลผลิตปลาป่นค่อนข้างคงที่
 สงขลามีปริมาณผลผลิตสูงเป็นอันดับ 2 ของประเทศ
 จานวนโรงงานปลาป่นลดลงเหลือเพียง 9 โรง
 ราคาปลาป่นที่ขายได้ค่อนข้างต่าเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่น
14
สถานการณ์และแนวโน้มปลาป่นในสงขลา
ราคาปลาป่นเฉลี่ยแต่ละจังหวัดในปี พ.ศ.2554 (บาท/กิโลกรัม)
ที่มา: กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง กรมประมง, 2556
บาท/กิโลกรัม
สงขลา
15
ผลผลิตอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา
 จากสถิติของกรมประมง ในปี 2554 สงขลาผลิตปลาป่น 39,402 ตัน คิด
เป็น 12.03% ของผลผลิตทั้งประเทศ
 จากการสัมภาษณ์โรงงานปลาป่น 8 โรง จาก 9 โรงในจังหวัด คณะวิจัย
ประเมินว่าทั้ง 9 แห่ง ผลิตปลาป่นรวมกันได้ราว 29,300 ตัน ในปี 2556
วัตถุดิบที่ใช้ผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลาตั้งแต่ปี พ.ศ.2542-2554
ปริมาณ(ตัน)
ปี พ.ศ.
ปลาเป็ด ปลาอื่นๆ เศษซาก
16
วรรณกรรมปริทัศน์: ผลกระทบต่อระบบนิเวศ
 เนื่องจากมีตลาดรองรับปลาเป็ดทุกรูปแบบ ทาให้ลูกปลา
และปลาเป็ดที่ติดอวนมาเป็นที่ต้องการของชาวประมง
 เกิดการประมงเกินขนาด โดยเฉพาะปลาที่ยังไม่โตเต็มวัย
การใช้อวนลากและอวนรุนในเขตน้าตื้นมีเหตุจูงใจทาง
เศรษฐกิจ
 CPUE ที่ลดลง ทาให้อวนลากลากนานขึ้น
 อวนลากลากนานขึ้น ทาให้สัดส่วนปลาเป็ดเพิ่มขึ้น สัตว์น้า
ที่อัดกันที่ก้นถุง ทาให้ลูกสัตว์น้าไม่สามารถหนีได้
17
วรรณกรรมปริทัศน์: ผลกระทบต่อระบบนิเวศ
- องค์ประกอบของสัตว์น้าเปลี่ยนแปลง
- โครงสร้างที่อยู่สัตว์น้าเปลี่ยนแปลง
- ทาให้สัตว์น้าบางชนิดเหลือน้อยจนไม่มีปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ชนิด
อื่น (ecological extinction)
- ส่งผลกระทบการขยายพันธุ์และชีวมวลของปลา
การจับปลาเกินขนาด
มีรายงานเรื่องการประมง
เกินขนาดในอ่าวไทยมา
ตั้งแต่ปี ค.ศ.1980
เครื่องมือประมงไม่เหมาะสม
ตาอวนขนาดเล็ก -> มีลูกปลาและ
ปลาเป็ดติดมาจานวนมาก
เครื่องมือประมงแบบทาลายล้าง ->
CPUE ลดลงอย่างรวดเร็ว
18
วรรณกรรมปริทัศน์: ผลกระทบต่อระบบนิเวศ
ที่มา: กรมประมง, 2554
ปริมาณปลาขึ้นท่าฝั่งอ่าวไทย
ปริมาณปลาขึ้นท่า (ตัน)
ปลาทั้งหมด
ปลากิน
ปลาเป็ด
19
วรรณกรรมปริทัศน์: ผลกระทบต่อชุมชนประมงพื้นบ้าน
งานวิจัยปี 2536-2542 พบว่า ผลกระทบของการทาประมงด้วย
เครื่องมือประมงทาลายล้าง เช่น อวนลาก อวนรุน เรือปลากระตัก
ปั่นไฟ ต่อชุมชนชาวประมงพื้นบ้าน ได้แก่
 เครื่องมือประมงถูกทาลาย/ทาให้เสียหาย
 รายได้ลดลง ในขณะที่ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น เนื่องจากปริมาณสัตว์
น้าลดลง ทาให้บางรายใช้เวลาทาการประมงนานขึ้น/ออก
เรือไปไกลขึ้น
20
วรรณกรรมปริทัศน์: ผลกระทบต่อชุมชนประมงพื้นบ้าน
ผลกาไร/ขาดทุนเฉลี่ยของเรือประมงพื้นบ้าน 5 หมู่บ้านใน
จังหวัดสงขลา ปี พ.ศ. 2536-2542
ที่มา: ปิยะ กิจถาวร อ้างใน ประภัสสร เดชาภิมณฑ์ , 2543
บ้านหัววะระ อ.ระโนด
บ้านพังช้างตายย อ.สะทิงพระ
บ้านม่วงงาม อ.สิงหนคร
บ้านเล อ.สิงหนคร
บ้านตลิ่งชัน อ.จะนะ
หน่วย: บาท
ปี
21
วรรณกรรมปริทัศน์: ผลกระทบต่อชุมชนประมงพื้นบ้าน
ผลกระทบที่ตามมา ได้แก่
 ชาวประมงขายเรือ/ขายเครื่องมือ -> แรงงานในโรงงาน
ท่าเรือ เรือประมงพาณิชย์ แรงงานผิดกฏหมายใน
มาเลเซีย
 เกิดปัญหาครอบครัว (สามีออกเรือนานกว่าเดิม ภรรยา
ต้องไปหางานทานอกบ้าน)
 ปัญหายาเสพติด
 เด็กๆ ไม่ได้รับการศึกษา (ผู้ปกครองไม่มีเงิน/ติดตาม
ผู้ปกครองไปต่างประเทศ)
22
กฏระเบียบและมาตรฐาน: มาตรฐานสากล
 6 มาตรฐานสากลด้านการประมงอย่างยั่งยืนที่ใช้กันแพร่หลายทั่วโลก
IFFO RS
ซีพีเอฟและทีซียู
เนี่ยนอะโกรเทค
เป็นสมาชิก
ASC
ยังไม่มีโรงงานในไทยได้รับ
การรับรองมาตรฐาน
MSC
มีโรงงานในไทยได้รับการ
รับรองมาตรฐาน
Global G.A.P.
ปี 56: ซีพีเอฟ, ไทยยูเนี่ยน,
กรุงไทยอาหารสัตว์
ปี 57: ซีพีเอฟ
BAP
29 โรงงานแปรรูป
34 ฟาร์ม
8 โรงเพาะพันธุ์
6 โรงงานอาหารสัตว์
Friend of the Sea
ไทย สปริง ฟิช
23
กฏระเบียบและมาตรฐาน: กฎหมายประมงไทย
 ข้อจากัดของ พ.ร.บ. การประมง 2490
 ไม่มีการแบ่งเขตการประมงที่ชัดเจน
 เครื่องมือประมงที่ไม่เหมาะสม (อาทิ อวนตาถี่) ยังไม่ผิดกฎหมาย
 ต้องจับผู้กระทาผิด “ซึ่งหน้า” ระหว่างทาผิด จึงจะครบฐานความผิด
 ร่าง พ.ร.บ. การประมง ฉบับใหม่
 เพื่อให้ทันสมัยและแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
 กาหนดเขตการประมง และการบริหารจัดการการประมงให้
เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ เช่น ควบคุมประเภท จานวนและขนาดของ
เครื่องมือประมง จะช่วยแก้ไขปัญหาจากกิจกรรมประมงที่ไม่
เหมาะสม
24
กฏระเบียบและมาตรฐาน: IUU และใบรับรองการจับสัตว์น้า
ที่มา: Prompoj, 2011
25
กฏระเบียบและมาตรฐาน: ระบบรับรองปลาป่น
โรงงานปลาป่น
(ออก MCPD-FM กรณีเรือประมง
ขายโดยไม่ผ่านแพปลา และออก
หนังสือรับรองปลาป่น)
นาเข้า
โรงงานแปรรูป
(เตรียมเอกสารแสดงที่มา
ของวัตถุดิบ)
แพปลา
(ออก MC PD-FM)
โรงงานอาหารสัตว์
กรมประมง
ตรวจสอบเอกสารกับ
ฐานข้อมูลของระบบ IUU
ใบรับรองการจับ
สัตว์น้า/ หนังสือ
รับรองการนาเข้า
ลงนามโดยไต้ก๋ง
แบบฟอร์ม A + สาเนา
MCPD
แบบฟอร์ม B + สาเนา
ใบรับรองการจับสัตว์
น้า หรือหนังสือรับรอง
การนาเข้าลงนามโดย
ไต้ก๋ง
หนังสือรับรองปลาป่น + สาเนาแบบฟรอร์ม A,B
+ MCPD-FM/ MCPD + ใบรับรองการจับสัตว์น้า
ส่ง MCPD-FM
หนังสือรับรองปลา
ป่น และเอกสาร
ทั้งหมด
MCPD : หนังสือกากับการซื้อขายสัตว์น้า
MCPD-FM : หนังสือกากับการซื้อขายสัตว์น้า กรณีการซื้อขายปลาเป็ด
แบบฟอร์ม A : สาหรับวัตถุดิบประเภทเศษซากจากโรงงานซูริมิ
แบบฟอร์ม B : สาหรับวัตถุดิบประเภทเศษซากจากโรงงานแปรรูปทูน่า
เรือประมง
ส่งสมุดบันทึกการ
ทาการประมง
ที่มา: กรมประมง, 2557
26
สถิติในระบบรับรองปลาป่น
จานวนหนังสือรับรองปลาป่นและผลิตภัณฑ์ของปลาป่น ปริมาณวัตถุดิบ และ
ปริมาณปลาป่น จาแนกตามแหล่งวัตถุดิบ (10 มิ.ย.-31 ธ.ค. 2556)
แหล่งที่มาของวัตถุดิบ ฉบับ ปริมาณวัตถุดิบ (ก.ก.) ปริมาณปลาป่น (ก.ก.)
การทาประมง 1,119 75,183,563 19,302,989
เศษซากจากซูริมิ 167 9,664,123 2,860,026
เศษซากจากทูน่า 292 17,005,650 4,974,515
เศษเหลือจากหลาย
แหล่ง
171 9,289,366 2,542,671
ไม่ระบุ 3 - 44,640
รวมทั้งหมด 1,752 111,142,702 29,724,841
 บริษัทผู้ผลิตอาหารสัตว์ที่ส่งเอกสารให้กรมประมงตรวจสอบมีจานวน 1 ราย (ซีพี)
 หกเดือนในปี 2556 ออกหนังสือรับรอง1,752 ฉบับ จากโรงงานปลาป่น 26 ราย
ที่มา: กรมประมง, 2557
27
ผลการประเมินชีวมวลที่ขึ้นฝั่งจากเรือประมงในสงขลา
 62% เป็นปลาเป็ด ขึ้นท่าเฉลี่ยประมาณ 6.5 ตัน/ลา
 ประเมินว่ามีปลาเป็ดขึ้นท่าราว 25,000 ตันต่อปี
ที่มา: การสารวจภาคสนาม, 2557
รวมทุกลำ
28
ผลการประเมินชีวมวลที่ขึ้นฝั่งจากเรือประมงในสงขลา
ที่มา: การสารวจภาคสนาม, 2557
องค์ประกอบของปลาเป็ดที่ขึ้นท่าในจังหวัดสงขลา
เน่าเปื่อย,
เสื่อมสภาพ
จนจาแนก
ไม่ได ้
29
ผลการประเมินชีวมวลที่ขึ้นฝั่งจากเรือประมงในสงขลา
30
ผลการประเมินชีวมวลที่ขึ้นฝั่งจากเรือประมงในสงขลา
31
ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา
ส่งออก
บริโภคภำยในประเทศ
32
ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา
บริษัท
% ที่สามารถ
ตรวจสอบ
ย้อนกลับได้
ปริมาณ
(ตัน)
หมายเหตุ
เบทาโกร 100% 3,270
ซื้อปลาป่นจากผู้ผลิตปลาป่นเพียง
รายเดียว ซึ่งสามารถตรวจสอบ
ย้อนกลับได้ทั้งหมด
กรุงไทยอาหารสัตว์ 100% 600
ซื้อปลาป่นจากผู้ผลิตปลาป่นเพียง
รายเดียว ซึ่งสามารถตรวจสอบ
ย้อนกลับได้ทั้งหมด
ซีพีเอฟ 81% 6,839
ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ 47% 972
ลีพัฒนาอาหารสัตว์ 36% 600
 ปลาป่นจากสงขลาไปยังผู้ผลิตอาหารสัตว์ที่สามารถตรวจสอบที่มาของวัตถุดิบได้
ที่มา: การสัมภาษณ์ของคณะวิจัย, 2557
33
ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา
 ที่มาและปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปลาป่นของผู้ผลิตในจังหวัดสงขลา
ที่มา: การสัมภาษณ์ของคณะวิจัย, 2557
สีแดง = ปลาเป็ด หรือมี
ส่วนผสมของปลาเป็ด
34
ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา
 ปริมาณปลาป่นจากผู้ผลิตในจังหวัดสงขลาขายให้ผู้รับซื้อรายต่างๆ
ที่มา: การสัมภาษณ์ของคณะวิจัย, 2557
สีแดง = ปลาเป็ด หรือมี
ส่วนผสมของปลาเป็ด
35
ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา
สัดส่วนการรับซื้อปลา
ป่นในสงขลาที่ผลิตจาก
ปลาตัว (%)
สัดส่วนการรับซื้อปลาป่นที่
ผลิตจากปลาตัวที่ไม่สามารถ
ตรวจสอบย้อนกลับได้ (%)
ซีพีเอฟ 24 16
ลีพัฒนาอาหารสัตว์ 19 29
ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ 19 29
กรุงไทยอาหารสัตว์ 1 0
เบทาโกร 0 0
ผู้ผลิตอาหารสัตว์รายอื่นๆ 7 0
พ่อค้าคนกลาง 19 18
ฟาร์ม 11 8
รวม 100 100
 สถิติปลาป่นที่ผลิตจากปลาตัว และสัดส่วนปลาป่นผลิตจากปลาตัว
ที่ไม่สามารถตรวจสอบที่มาได้
ที่มา: คานวณจากข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้ผลิตปลาป่น 8 รายในจังหวัดสงขลา
36
เรือประมง
ใช้เครื่องมือ และ/หรือ วิธี
ทาการประมงไม่
เหมาะสม
ทาลายแนวประการังซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย
ของสัตว์น้า และจับลูกปลาเศรษฐกิจ
โดยไม่ตั้งใจ ผ่านการใช้เครื่องมือ
ประมงที่ไม่เหมาะสมแพปลา/
โบรกเกอร์
รับซื้อปลาเป็ดและขาย
ต่อให้ผู้ผลิตปลาป่น
ผู้ผลิตอาหาร
สัตว์
ผู้ผลิตปลาป่น
รับซื้อปลาป่น/ ขอ
เอกสารตรวจสอบ
ย้อนกลับ/ ตั้งมาตรฐาน
การรับซื้อ
ปลาเป็ดคุณภาพต่ายังขายได้เนื่องจาก
- สามารถนาไปผสมเพื่อเพิ่มคุณภาพได้
- มีความต้องการในตลาด
- ปราศจากมาตรฐานการรับซื้ออย่าง
ยั่งยืนที่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถ
ตรวจสอบกิจกรรมประมงได้อย่าง
แท้จริง
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รับซื้อวัตถุดิบ/ขอเอกสาร
ตรวจสอบย้อนกลับ/ผสม
ปลาป่นเพื่อเพิ่มเกรด
37
กรณีศึกษา: การทาประมงยั่งยืนในประเทศเปรู
 ประวัติศาสตร์การทาประมงปลากะตักในเปรูแบ่งได้เป็น 4 ยุค
ที่มา: ปรับจาก Freon และอื่นๆ, 2551
ยุคแรกและไม่ยั่งยืน
ยุคประมงล่มสลาย
ยุคเติบโตรอบใหม่
ยุคยั่งยืน
38
 กรณีศึกษา – ปัจจัยความสาเร็จของความยั่งยืนแบบเปรู
1. การจัดการที่ยืดหยุ่น เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว
2. ความร่วมมือกันอย่างแข็งแกร่งระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3. ความสอดคล้องกันของสภาพแวดล้อมท้องถิ่น ต้นทุน และผลประโยชน์
4. ความชัดเจนของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ
5. การจัดการแบบบนลงล่างจากส่วนกลาง โดยนา
บทเรียนจากอดีตมาปรับปรุงตลอดเวลา
6. การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการติดตามตรวจสอบ
กรณีศึกษา: การทาประมงยั่งยืนในประเทศเปรู
39
เหตุผลทางธุรกิจที่ชัดเจน + วิทยาศาสตร์ + เทคโนโลยี
 วิทยาศาสตร์: IMARPE หน่วยงานวิจัยทางทะเลของรัฐบาลเปรู คานวณระดับ
การจับปลาที่ยั่งยืน เพื่อกาหนดโควตาการจับปลาในแต่ละปี
 เทคโนโลยี: เรือประมงพาณิชย์ทุกลาในเปรูจาเป็นต้องติดตั้งเครื่องติดตาม
ผ่านดาวเทียมบนเรือ เพื่อให้สามารถตรวจสอบปริมาณการจับปลาว่าเป็นไป
ตามโควตาหรือไม่ และไม่มีการละเมิดกฎการปิดพื้นที่จับปลาตามฤดูกาล
 เหตุผลทางธุรกิจ: การกาหนดโควตาการจับปลาของเรือแต่ละลา (Individual
Vessel Quota – IVQs) ในเปรู ช่วยให้เรือประมงสามารถวางแผนการออกเรือ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าเดิม ทาให้เรือประมงสามารถจับปลาและนาขึ้น
เทียบท่าได้ในขณะที่ปลายังคงความสด สามารถนาไปผลิตปลาป่นคุณภาพสูง
ได้ราคาดีกว่าเดิม 10% นอกจากนี้ต้นทุนยังลดลงจากการประหยัดน้ามัน และ
การที่เรือประมงหลายลาถูกปลดระวาง ทาให้ได้อัตรากาไรสูงขึ้น
40
การจัดการที่รวดเร็ว: ขั้นตอนการประกาศปิดเขตประมง
 พฤษภาคม-กรกฎาคม และ สิงหาคม-กันยายน
คือฤดูปิดปากอ่าวประจาปีในเปรู
 ช่วงที่เกิดการเปลี่ยนแปลงกะทันหัน เช่น หาก
พบลูกปลา (juvenile by-catch) ติดขึ้นมา
มากกว่า 10% รัฐอาจสั่งปิดเขตประมงเป็นการ
ชั่วคราวได้ โดยใช้เวลาเพียง 36 ชั่วโมงในการ
ตัดสินใจ
 โควตาการจับปลาถูกกาหนดบนพื้นฐานของ
“ระดับการจับปลาที่ยั่งยืน” (sustainable yield)
คานวณโดย IMARPE
 หลักทั่วไปที่เปรูใช้คือ การจับปลาทั้งหมดต้อง
เหลือชีวมวลที่สืบพันธุ์ได้ในทะเลไม่น้อยกว่า 5
ล้านตัน
41
การวิเคราะห์ช่องว่าง การทาประมงยั่งยืนในประเทศเปรู
กับกิจกรรมในห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นจังหวัดสงขลา
ประเด็นสาคัญ การทาประมงยั่งยืนในเปรู ประมงไทย
มาตรฐานที่กากับดูแลผู้
เล่นได้ทุกราย  
ความพร้อมด้าน
เทคโนโลยีและหน่วยงาน
ทีรับผิดชอบ  
เหตุผลทางธุรกิจที่ชัดเจน  
Thank you!
ดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้
จาก
www.salforest.com
หน้า “Knowledge”
42

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul

How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dialogue