SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
การจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล

                                    ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ
                    โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษเชิงดิจิทัล
                              หนวยปฏิบัติการวิจัยคลังอนุพันธความรู
                      ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ
                                      rachy@nectec.or.th

บทคัดยอ
          เอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล เปนแหลงขอมูลชั้นตนที่สําคัญตอการเรียนรูของชุมชน สังคม
ประเทศ และโลก ผานบันทึกเหตุการณ ความทรงจํา ความคิด ความรู หรือประสบการณของบุคคล ซึ่ง
การจัดทําจดหมายเหตุสวนบุคคลนั้น เปนการจัดเก็บองคความรูที่เปนรูปธรรม ที่ทําใหคนทั่วไป สามารถ
เขาถึงขอมูล หรือองคความรูไดโดยสะดวก และมีประสิทธิภาพ เปนผลใหเกิดประโยชนตอสวนรวม ดัง
จะเห็นไดจากจดหมายเหตุของบุคคลสําคัญหลายๆ ทาน ที่ไดบันทึก และถูกเผยแพรสูสาธารณะใน
รูปแบบตางๆ เชน จดหมายเหตุของทานพุทธทาสภิกขุ ที่รวบรวมผลงานจากการศึกษา ปฏิบัติ และ
เผยแพรความรูทางพุทธศาสนาตลอดชวงชีวิต ๘๗ ป ซึ่งเอกสารและบันทึกตางๆ เหลานี้ถือเปนมรดก
ทางปญญาที่สําคัญ ที่จะเปนประโยชนกับมวลมนุษยชาติใหหลุดพนจากทุกข ดวยการเขาใจ และนํา
หลักธรรมคําสั่งสอนทางพุทธศาสนาไปเปนแนวคิด และแนวปฏิบัติ หรือเอกสารจดหมายเหตุลาลูแบร
ซึ่งเปนบันทึกของ มองซิเออร เดอ ลาลูแบร ที่ไดบันทึกสภาพบานเมืองของราชอาณาจักรสยามในสมัย
สมเด็จพระนารายณมหาราช ทําใหคนรุนหลังไดเรียนรูถึงสภาพทางภูมิศาสตร ขนบธรรมเนียมประเพณี
                                                     
วิถีชีวิต และจารีตของคนในสมัยนั้น ดังนั้น จะเห็นไดวาการจัดทําเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคลนั้น มี
ความสําคัญ และมีคุณคาตอการเรียนรูของคนทั่วไป ไมยิ่งหยอนไปกวา การจัดทําจดหมายเหตุ ที่เปน
บันทึก หรือรายงานเหตุการณขององคกรหรือหนวยงาน
          ในปจจุบัน ที่วิทยาการ และเทคโนโลยีไดรับการพัฒนาจนกาวหนาไปจากอดีตมาก ดังจะเห็นได
จากในชีวิตประจําวัน ไดมีการนําเทคโนโลยี และเครื่องมือที่ทันสมัยตางๆ มาใชเพื่อใหเกิดความ
สะดวกสบายในการดํารงชีวต เปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวัน ซึ่ง
                             ิ
การเขาใจถึงกระบวนการ การรูเทาทันเทคโนโลยี และการเลือกใชเทคโนโลยี หรือเครื่องมือในปจจุบันที่
เหมาะสมกับงาน ในการจัดทํา จัดเก็บ จัดการ เผยแพร และแลกเปลี่ยนจดหมายเหตุสวนบุคคล เปนเรื่อง
ที่สําคัญ ในบทความนี้ จะอธิบายถึงเทคโนโลยีตางๆ ที่เกี่ยวของกับ 3 กระบวนการหลัก สําหรับการ
จัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล นั่นคือ เทคโนโลยีในการแปลงขอมูล หรือองคความรู ใหอยูใน
รูปแบบดิจิทัล เทคโนโลยีในการจัดเก็บและบริหารจัดการขอมูลจดหมายเหตุที่อยูในรูปแบบของตัวอักษร
รูปภาพ เสียง วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว หรือสื่อชนิดตางๆ และเทคโนโลยีในการเชื่อมโยง แลกเปลี่ยน และ
เผยแพรขอมูลจดหมายเหตุดิจิทัลผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
          นอกจากนั้น ในบทความนี้ จะไดนําเสนอแนวทาง และวิธีการใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีตางๆ ที่
เกี่ยวของ ในการจัดทําจดหมายเหตุสวนบุคคลในรูปแบบดิจิทัล เพื่อใหผูอานเขาใจ เห็นประโยชน
สามารถเลือกใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม ตลอดจนสามารถนําวิธีการตางๆ จากการนําเสนอใน
บทความไปปฏิบัติไดจริง เพื่อใหเกิดการสรางคลังจดหมายเหตุดิจิทลสวนบุคคล เพื่อการจัดเก็บ จัดการ
                                                                  ั
และเผยแพรความรู ประสบการณ เหตุการณ และภูมิปญญา เพื่อการเผยแพร และแลกเปลี่ยนกับบุคคล
อื่นๆ ในสังคมแหงการแลกเปลี่ยนและเรียนรู ไดอยางมีประสิทธิภาพ

คําสําคัญ - Digital Archive, Personal Archive, Digital Content, Digitization, Metadata, Web
2.0, Social Network, Information Sharing, Knowledge Management, จดหมายเหตุ, ดิจิทัล,
จดหมายเหตุสวนบุคคล, เครือขายสังคม, แลกเปลี่ยน, เชื่อมโยง, การมีสวนรวม
๑. บทนํา
      เอกสารจดหมายเหตุ หมายถึงขอมูลทุกรูปแบบที่หนวยงานผลิตขึ้นใชในการปฏิบัติงานแตสิ้นกระแส
การปฏิบัติงานแลว และไดรับการประเมินวามีคุณคาในฐานะเปนขอมูลชั้นตนที่แสดงถึงการดําเนินงาน
และพัฒนาการของหนวยงานนั้น ๆ ซึ่งมีความสําคัญตอประวัติศาสตรของประเทศ ทั้งนี้หมายรวมถึง
เอกสาร สวนบุคคลที่รับมอบจากบุคคลสําคัญหรือทายาทดวย [๑]
      เอกสารจดหมายเหตุ เปนหลักฐาน หรือแหลงขอมูลชั้นตนที่สําคัญ ที่เก็บขอมูลอันทรงคุณคาทาง
ประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม ความทรงจํา ภูมิปญญา ความรู และประสบการณ ที่ถือวาเปนคลังความรู
ที่สําคัญของประเทศ อีกทั้งยังเปนหลักฐานอางอิงที่สําคัญในสาขาวิชาตางๆ และเปนกลไกสําคัญในการ
พัฒนาบุคคลากรของประเทศใหมีความรู ความสามารถ ที่จะนําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และ
ยังเปนการสรางความสามารถในการแขงขันในยุคที่ฐานความรูเขามามีบทบาทสําคัญ ดังจะเห็นไดจาก
การใหความสําคัญในเรื่องของการจัดการความรูของบุคคลและหนวยงานตางๆ
      และดวยความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบัน ทําใหการประยุกตใชเทคโนโลยีในดานตางๆ
โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานจดหมายเหตุ
เปนประเด็นที่ไดรับความสนใจจากบุคคล และหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งทําใหเกิดความสนใจในการ
จัดทําคลังจดหมายเหตุทั้งสวนบุคคล และจดหมายเหตุของหนวยงาน ในรูปแบบดิจิทัลเพิ่มมากยิ่งขึ้น

๑.๑ ความสําคัญของการจัดทําจดหมายเหตุสวนบุคคล
    นอกจากจดหมายเหตุที่เปนเอกสารของหนวยงานแลว เอกสารจดหมายเหตุยังมีความหมาย
ครอบคลุมรวมไปถึงเอกสารของบุคคล ซึ่งตัวอยางเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล ที่ถูกบันทึกเอาไวใน
อดีต และมีคุณคาอยางสูงตอการศึกษาประวัติศาสตร และวัฒนธรรมของไทยในอดีต ไดแก จดหมาย
เหตุลาลูแบร ซึ่งเปนบันทึกของ มองซิเออร เดอ ลาลูแบร ที่ไดบันทึกสภาพบานเมืองของราชอาณาจักร
สยามในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ทําใหคนรุนหลังไดเรียนรูถึงสภาพทางภูมิศาสตร วิถีชีวิต
                                                                 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และจารีตของคนในสมัยนั้น




       รูปที่ ๑ ภาพแสดงวิถชีวิตในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช จากเอกสารจดหมายเหตุลาลูแบร [๒]
                          ี
อีกตัวอยางหนึ่งที่เปนเอกสารจดหมายเหตุที่มีคุณประโยชน ไมเพียงตอคนไทย แตเปนประโยชนตอ
มวลมนุษยชาติก็คือ เอกสารจดหมายเหตุของทานพุทธทาสภิกขุ ที่รวบรวมผลงานจากการศึกษา ปฏิบัติ
และเผยแพรความรูทางพุทธศาสนาตลอดชวงชีวิต ๘๗ ป ซึ่งเอกสารและบันทึกตางๆ เหลานี้ถือเปน
มรดกทางปญญาที่สําคัญ ที่จะทําใหหลุดพนจากทุกข ดวยการเขาใจ และนําหลักธรรมคําสั่งสอนทาง
พุทธศาสนาไปเปนแนวคิด และแนวปฏิบัติ




                 รูปที่ ๒ เอกสารจดหมายเหตุของทานพุทธทาสภิกขุที่กลาวถึงเรื่องนิพพาน
                 และชีวิตคือความสําราญบานใจในความถูกตอง ถูกบันทึกบนดานหลังของ
                   กระดาษปฏิทินแขวนรายวัน ทีถูกฉีกออกจากเลม เมื่อผานพนวันนั้นแลว
                                               ่
                เปนการบันทึกพรอมวันที่กํากับ ถือเปนปจฉิมลิขิตของทานพุทธทาสภิกขุ [๓]


    ความสําคัญของจดหมายเหตุสวนบุคคล เนื่องจาก แตละบุคคล ยอมมีความเกี่ยวของ สัมพันธกับ
บุคคลอื่น สัมพันธกับเวลา สถานที่ เหตุการณ ซึ่งขอมูลแตละชิ้นนั้น อาจจะเปนขอมูลที่มีลักษณะเปน
รูปธรรม หรือขอมูลที่สามารถจับตองได เชน เอกสาร บันทึกประจําวัน บทความ หนังสือ เปนตน หรือ
อาจจะเปนขอมูลที่ไมไดเปนรูปธรรม ที่ไมสามารถจับตองได หรือไมไดมีการบันทึกเอาไว เชน ความทรง
จํา ความรู ประสบการณ ความคิด ความเชื่อ เปนตน
    ดังนั้น ถาสามารถจัดเก็บขอมูลของแตละบุคคล ทั้งสวนของขอมูลที่สามารถจับตองได และขอมูล
สวนที่ไมสามารถจับตองได จะทําใหเกิดการสรางคลังปญญาขนาดใหญ ที่เปนคลังปญญาที่สําคัญของ
ประเทศ และถาสามารถจัดการใหเกิดการเขาถึงไดโดยบุคคลอื่นๆ จะทําใหเกิดกระบวนการในการ
แลกเปลี่ยนองคความรู การวิเคราะห และเชื่อมโยงองคความรู กับองคความรูอื่นๆ ซึ่งจะทําใหเกิดเปน
องคความรูใหม เปนการเรียนรูแบบตอยอด ที่สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนไดตอไป
๑.๒ เอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล
        เอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล คือ เอกสารจดหมายเหตุทมีการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการ
                                                         ี่
จัดเก็บ จัดการ และทําใหเกิดกระบวนการในการใชงาน หรือเขาถึงขอมูลไดโดยสะดวก ซึ่งการนํา
เทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการจัดเก็บขอมูลนั้น ถือวาเปนการอนุรักษขอมูลแบบระยะยาว (Long-term
Preservation) ที่จะตองรับรองทั้งความถูกตองของขอมูลที่เหมือนกับตนฉบับทุกประการ และรับรองวา
ผูใชจะยังตองสามารถเขาถึงขอมูลไดทั้งหมด ไมวาเทคโนโลยีจะเปลี่ยนไปในรูปแบบใด ซึ่งเทคโนโลยี
ที่เกี่ยวของกับการจัดทําเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล ประกอบดวย ๒ เทคโนโลยีที่สําคัญ คือ

     ๑. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และ
        อิเล็กทรอนิกส ทั้งสวนที่เปนอุปกรณ (Hardware) และสวนที่เปนชุดคําสั่งหรือโปรแกรม
        (Software) ซึ่งจะเปนเครื่องมือที่สําคัญสําหรับการแปลงขอมูลใหอยูในรูปดิจิทัล และการ
        จัดเก็บ การบริหารจัดการขอมูล เชน กลองดิจิทัลและสแกนเนอร เปนเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส
        ที่ใชในการแปลงขอมูลใหเปนภาพดิจิทัล คอมพิวเตอรคือเครื่องมือที่ใชในการจัดเก็บขอมูล
        หลังจากการแปลงขอมูลดวยกลองดิจิทัลหรือสแกนเนอร โดยมีซอฟตแวรเปนเครื่องมือที่ทํา
        ใหสามารถสืบคนหาขอมูลที่ตองการ ไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และมีประสิทธิภาพ
     ๒. เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) เปนเทคโนโลยีที่ทําใหเกิด
        กระบวนการในการเผยแพรขอมูล แลกเปลี่ยนขอมูล และเชื่อมโยงขอมูลกับขอมูลอื่นจากที่
        ตางๆ ที่เกี่ยวของ ตัวอยางเชน เครื่อขายอินเทอรเน็ตถือเปนเทคโนโลยีการสื่อสาร ที่เปน
        เครื่องมือสําคัญในการเผยแพร แลกเปลี่ยนขอมูลกับทั่วโลกโดยใชเวลาเพียงเสี้ยววินาที
        นอกจากนั้น เครือขายอินเทอรเน็ต ยังเปนเครื่องมือสําคัญในการเขาถึง หรือสืบคนขอมูลที่
        ตองการ จากคลังขอมูลขนาดใหญไดอยางมีประสิทธิภาพ

       เหตุผลที่สําคัญในการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการทําจดหมายเหตุ เนื่องจากเทคโนโลยีดิจิทัล
มีประสิทธิภาพสูงในการจัดการกับขอมูลจํานวนมาก สามารถสืบคน และเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว
นอกจากนั้น เทคโนโลยีดิจิทัลยังสามารถนํามาใชในการจัดเก็บขอมูลไดหลายรูปแบบ เชน ตัวอักษร
รูปภาพ เสียง วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ที่สําคัญเทคโนโลยีดิจิทัล เปนเทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง ดังนั้น สามารถนํามาใชในการจัดเก็บขอมูล และสงตอขอมูลจากเทคโนโลยีปจจุบันไปสู
เทคโนโลยีใหมไดโดยสะดวก ทําใหเกิดรูปแบบของการอนุรักษขอมูลแบบระยะยาวในรูปแบบดิจิทัล
       ในปจจุบัน เครือขายอินเทอรเน็ตเปนเครื่องมือทางการสื่อสารที่สําคัญ ที่สามารถใชในการเผยแพร
ขอมูลจดหมายเหตุ ทําใหคนจากทุกมุมโลกที่อยูในเครือขาย สามารถเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว รวม
ไปถึงการประยุกตใชเทคโนโลยีเครือขายสังคม (Social Network) ที่ทําใหเกิดการเชื่อมโยงขอมูลที่มี
ความสัมพันธกัน ทําใหเกิดการเรียนรูแบบตอเนื่อง ขุดลึก เปนการตอยอดการเรียนรูที่จะเกิดประโยชนตอ
ผูเขาชม นอกจากนั้นเทคโนโลยีเครือขายสังคม ยังทําใหเกิดการมีสวนรวมระหวางเจาของขอมูลกับผู
เขาชม นั่นคือ ผูเขาชมสามารถแสดงความเห็น หรือใหขอมูลเพิ่มเติม ทําใหเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยน
และเรียนรูไปพรอมๆ กัน ที่นอกจากจะเปนประโยชนตอผูเขาชมแลว ก็จะเปนประโยชนตอผูเปนเจาของ
ขอมูลอีกดวย
       ตัวอยางของการใชงานเครือขายสังคมในการเผยแพรและแลกเปลี่ยนขอมูลบนอินเทอรเน็ต เชน
เว็บไซตยูป (Youtube, http://www.youtube.com/) อนุญาตใหสมาชิกสามารถนําวิดีโอของตน ไป
เผยแพรในเว็บไซตได ซึ่งเมื่อมีการสืบคนขอมูลวิดีโอ จะพบวานอกจากวิดีโอที่ถูกสืบคนแลว วิดีโอเรื่อง
อื่นๆ ที่เกี่ยวของ หรือมีเนื้อหาที่สอดคลองกับวิดีโอหลักถูกนําเสนอมาใหเปนทางเลือกพรอมๆ กัน
นอกจากนั้น ในวิดีโอแตละเรื่องที่ดู จะพบวาผูเขาชมสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน หรือ
สอบถามเพิ่มเติมได และยังสามารถนําวิดีโอที่ดูนั้น ไปเผยแพรตอในที่อื่นๆ ได ทําใหเกิดรูปแบบของการ
ประชาสัมพันธแบบปากตอปากบนเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดการเขาถึงสื่อวิดีโอเรื่องนั้นเพิ่มมาก
ขึ้น และมีการแลกเปลี่ยนความรูมากขึ้นตามไปดวย นอกจากประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับผูเขาชมแลว ผูที่
เปนเจาของขอมูลยังสามารถเขาถึงวิดีโอเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ตนสนใจไดอีกดวย
๓. วิธีการในการจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล
     วิธีการในการจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคลตอไปนี้ ผูเขียนจะนําเสนอเทคนิคในการใช
ประโยชนจากเว็บไซตที่มีลักษณะเปนเครือขายสังคม โดยใชเครื่องมืองายๆ ไดแก กลองถายภาพ หรือ
กลองถายวิดีโอ สําหรับการแปลงขอมูลใหเปนภาพนิ่งดิจิทัล หรือวิดีโอดิจิทัล และใชเครื่องคอมพิวเตอร
ที่ตอเชื่อมกับระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ในการตอเชื่อมเขาสู เว็บไซตสําหรับการจัดเก็บสื่อในบักษณะ
ตางๆ ที่มีใหบริการฟรีอยูในเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งเว็บไซตตางๆ เหลานี้มีคุณสมบัติเปนเว็บไซต
เครือขายสังคมอยูแลว ซึ่งจากขั้นตอนงายๆ เพียงไมกี่ขั้นตอน ทําใหสามารถจัดทําคลังจดหมายเหตุ
ดิจิทัลสวนบุคคล ที่พรอมเผยแพร แลกเปลี่ยน เชื่อมโยง และเรียนรู ในโลกของการแลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารดิจิทัลในปจจุบัน ซึ่งกระบวนการตางๆ สําหรับการทํางานดังกลาวขางตน ดังแสดงในรูปที่ ๓.




        รูปที่ ๓ กระบวนการในการจัดทําจดหมายเหตุดิจทัลบนเครือขายอินเทอรเน็ตและเครือขายสังคม
                                                  ิ


๓.๑ แบงกลุมเอกสารจดหมายเหตุ
       สิ่งแรกที่ตองทําเมื่อคิดวาจะทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล ก็คือ การสํารวจขอมูลตนฉบับที่มีอยู
และขอมูลตนฉบับในอนาคตที่จะนําเขาสูคลังจดหมายเหตุดิจิทัล วาขอมูลตางๆ นั้นอยูในรูปแบบใด เพื่อ
จะใชขอมูลตางๆนี้ ในการวางแผน หรือเลือกเทคนิคในการแปลงขอมูล ใหอยูในรูปแบบดิจิทัลที่
เหมาะสม และนําไปใชในการเลือกเว็บไซตที่จะใชในการจัดเก็บขอมูลในขั้นตอนตอไป
       นอกจากนั้นการสํารวจและแบงกลุมจะทําใหสามารถกําหนดไดวารูปแบบของไฟลดิจิทัลที่จะ
เกิดขึ้น หลังจากการแปลงนั้น จะมีรูปแบบ หรือคุณลักษณะเปนอยางไร ซึ่งควรจะทําเปนตารางการ
สํารวจที่จะใชเปนวัตถุดิบสําหรับขั้นตอนถัดไป ดังตัวอยางในตารางที่ ๑.

               ตารางที่ ๑ ตัวอยางตารางการสํารวจประเภทของเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล
                            ชนิดของตนฉบับ              รูปแบบของขอมูล
                                                            ตนฉบับ
                         เรื่องราวใน                - ความทรงจํา
                         ชีวิตประจําวัน             - ภาพถายดิจิทัล

                         ภาพถายเกาๆ               - ภาพสีและขาวดํา
                         ในอัลบั้ม                    ที่ถูกอัดลงในกระดาษ

                         ภาพนิ่งดิจิทัล             - ไฟลภาพดิจิทล
                                                                  ั

                         วิดีโอที่อัดไวในมือถือ    - ไฟลวิดีโอดิจทัล
                                                                   ิ

                         ไฟลนําเสนอ                - Powerpoint file
                         (presentation)
๓.๒ แปลงขอมูลใหอยูในรูปดิจิทัล
       การแปลงขอมูล (Digitization) คือ การแปลงขอมูลจากตนฉบับ ใหเปนขอมูลดิจิทัลโดยการใช
เครื่องมือตางๆ ในการแปลง เชน ใชเครื่องสแกนเนอรแบบตั้งโตะในการสแกนเอกสารหรือภาพถายที่อยู
ในรูปของกระดาษ ใชกลองถายภาพนิ่งดิจิทัลในการถายภาพเหตุการณประจําวัน ใชกลองวิดีโอ หรือมือ
ถือ หรือกลอง Webcam ในการถายวิดีโอ ดังตัวอยางที่แสดงในรูปที่ ๔




     รูปที่ ๔ ผังภาพแสดงกระบวนการในการแปลงขอมูลจากตนฉบับในรูปแบบตางๆ ใหอยูในรูปแบบดิจทัล
                                                                                          ิ


      หลังจากทําการสํารวจ และทําตารางการสํารวจในขั้นตอนแรกเสร็จเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไป คือ
การเลือกวิธีการที่จะใชในการแปลงขอมูล ซึ่งขึ้นอยูกับอุปกรณสําหรับการแปลงขอมูลที่มีอยู นอกจาก
การเลือกเทคนิคที่เหมาะสมแลว ควรจะตองระบุไวดวยวาไฟลดิจิทัลที่ไดจากการแปลงขอมูลนั้นจะเปน
ไฟลที่มีคุณลักษณะอยางไร เพื่อใหเปนมาตรฐานในการทํางานในแบบเดียวกันทั้งระบบ ซึ่งรายละเอียด
ขอมูลตางๆ ในขั้นตอนนี้จะถูกบันทึกเพิ่มลงในตาราง ดังตัวอยางที่แสดงในตารางที่ ๒

             ตารางที่ ๒ ตัวอยางตารางกําหนดเทคนิคในการแปลงขอมูล และรูปแบบไฟลผลลัพธ
  ชนิดของตนฉบับ            รูปแบบของขอมูล           วิธีการแปลงขอมูล         คุณลักษณะของ
                                ตนฉบับ                                           ไฟลผลลัพธ
เรื่องราวใน               - ความทรงจํา             พิมพพรอมใสภาพประกอบ      - Text file
ชีวิตประจําวัน            - ภาพถายดิจิทัล                                     - jpg

ภาพถายเกาๆ              - ภาพสีและขาวดํา         สแกนดวยสแกนเนอร (ถา      - jpg
ในอัลบั้ม                   ที่ถูกอัดลงในกระดาษ    ไมมีใชกลองดิจิทัลถาย)

ภาพนิ่งดิจิทัล            - ไฟลภาพดิจิทล
                                        ั          ไมตองแปลงขอมูล           - jpg

วิดีโอที่อัดไวในมือถือ   - ไฟลวิดีโอดิจทัล
                                         ิ         ไมตองแปลงขอมูล           - flv, avi

ไฟลนําเสนอ               - Powerpoint file        ไมตองแปลงขอมูล           - ppt
(presentation)
เมื่อไดแนวทางที่ใชในการแปลงขอมูลแลว สิ่งที่ตองทําตอไปก็คือ การแปลงขอมูลตนฉบับดวย
วิธีการ เพื่อใหไดผลลัพธตามที่ไดกําหนดไวในตาราง ซึ่งขั้นตอนในการทําตารางกําหนดวิธีการและ
รูปแบบของผลลัพธนั้น จะทําเฉพาะการเริ่มการแปลงขอมูลในครั้งแรกเทานั้น ในการแปลงขอมูลครั้ง
ตอไป ก็สามารถดําเนินการตามวิธีการและรูปแบบที่กําหนดไวไดเลย จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ทํา
ใหตองเปลี่ยนวิธีการ เชน ตองเปลี่ยนอุปกรณใหม หรือมาตรฐานในการนําเสนอขอมูลที่ตองการ
เปลี่ยนแปลงไป เปนตน

๓.๓ นําขอมูลดิจิทัลเขาสูเว็บไซตที่เกี่ยวของ
        หลังจากการแปลงขอมูลตนฉบับใหอยูในรูปแบบดิจิทัลเรียบรอยแลว ขั้นตอนถัดไป คือ การนํา
ขอมูลดิจิทัลนี้เขาสูเว็บไซตตางๆ โดยแยกตามประเภทของขอมูลดิจิทัล ซึ่งผูเขียนไดนําเสนอแนวคิดใน
การใชประโยชนจากเทคโนโลยีเครือขายสังคม ในการสรางเครือขายคลังจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล
ที่เชื่อมโยงขอมูลจดหมายเหตุประเภทตางๆ ของแตละบุคคลเขาดวยกัน ซึ่งแนวคิดดังกลาวนี้ ดังแสดง
เปนตัวอยางในรูปที่ ๕




 รูปที่ ๕ ผังภาพแสดงแนวคิดในการสรางระบบคลังจดหมายเหตุดิจทัลสวนบุคคลโดยใชเครือขายสังคมชนิดตางๆ
                                                         ิ


       จากผังภาพขางตน จะพบวาแนวคิดของการสรางเครือขายคลังจดหมายเหตุสวนบุคคล ทําโดยการ
นําสื่อดิจิทัลแตละประเภทจัดเก็บไวในเว็บไซตเครือขายสังคมที่แตกตางกัน เหตุผลที่ผูเขียนเห็นวาควร
จะแยกการจัดเก็บสื่อตางชนิดกันในเว็บไซตที่แตกตางกัน เนื่องจากแตละเว็บไซตจะถูกออกแบบมาเพื่อ
จัดเก็บขอมูลชนิดนั้นๆ โดยเฉพาะ และจะมีเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ที่สามารถใชในการจัดการกับสื่อ
ชนิดนั้นจัดเตรียมไวให อีกทั้งกลุมผูใชในแตละเว็บไซต ก็จะเปนกลุมที่สนใจในสื่อประเภทนั้นๆ เหมือนๆ
กัน ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ในสังคมของความสนใจเดียวกันอีกดวย
       นอกจากนั้น จะพบวาผูเขียนไดใชเว็บไซตทวิตเตอร (Twitter) เปนเสมือนดัชนี หรือแผนที่ที่นํา
ทางไปสูขอมูลที่ถูกบรรจุไวในเว็บไซตตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวก ใหเกิดการเขาถึงสื่อตางๆ ไดอยาง
ทั่วถึง ดังนั้น เว็บไซตทวิตเตอร เปนเสมือนบทสรุปเรื่องราวตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน และนําทาง
ไปสูรายละเอียดของแตละชวง ที่ถูกอธิบายโดยแตละสื่อที่แตกตางกัน
       จากแนวคิดนี้ผูอานสามารถนําไปประยุกตใชกับการจัดเก็บขอมูลโดยใชเว็บไซตอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติ
เหมือนกับเว็บไซตในตัวอยางดังกลาวขางตน หรือสามารถนําไปประยุกตใชกับการจัดเก็บสื่อดิจิทัล
รูปแบบอื่นๆ ที่แตกตางไปจากตัวอยาง เชน สําหรับผูที่ชอบการถายภาพพาโนรามา อาจจะแยกเก็บภาพ
พาโนรามาไวที่เว็บไซต http://www.360cities.net/
จากแนวคิดในการนําขอมูลแยกจัดเก็บไวในเว็บไซตดังทีกลาวมาแลวนี้ ในการทํางานจริงไมไดเปน
เรื่องที่ยุงยากแตประการใด สิ่งที่ตองทําเริ่มตนที่การสมัครเปนสมาชิกของแตละเว็บไซตโดยไมเสีย
คาใชจายใดๆ เมื่อระบบตอบรับ จากนั้นก็สามารถนําขอมูลเขาสูระบบไดทันที ซึ่งเครือขายสังคมที่ใชใน
การจัดเก็บขอมูลแตละประเภทนั้นมีรายละเอียดขั้นตอนดังตอไปนี้

๓.๓.๑ จัดเก็บเรื่องราวดวยเว็บไซตที่ใหบริการสรางบล็อก
         บล็อก (Blog) หรือ Web log คือ การบันทึกเรื่องราวหรือบทความสวนบุคคลลงบนเว็บไซต โดย
ไมจํากัดประเภทของเนื้อหา ทั้งเรื่องราวชีวิตประจําวัน ความสนใจ ความคิด แนวคิด ความรู ความเห็น
ทัศนคติ และประสบการณ สามารถใชในการเผยแพรเนื้อหาเฉพาะกลุม เชน เฉพาะในกลุมเพื่อน ชมรม
สมาคม หรือเผยแพรไปยังทุกคน ผูเปนเจาของบล็อกสามารถบันทึกเรื่องราวในรูปแบบตัวอักษร พรอม
ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหว ทําใหเนื้อหาที่นําเสนอนั้นเกิดความนาสนใจ เขาใจไดงาย
         ในปจจุบัน เว็บไซตที่ใหบริการสรางบล็อกฟรีมีอยูเปนจํานวนมาก แตละที่จะมีเงื่อนไขในการ
สมัคร และเงื่อนไขในการใชงาน ความสามารถ และเครื่องมืออํานวยความสะดวกที่แตกตางกัน
นอกจากนั้น สําหรับผูที่มีความรูทางเทคนิค ที่เกี่ยวของกับการเชาพื้นที่เว็บไซต การจดทะเบียนชื่อ
โดเมน เพื่อการสรางเว็บไซตดวยตัวเอง สามารถดาวนโหลดเว็บไซตสําหรับการสรางบล็อกโดยเฉพาะ
ไปติดตั้ง และใชงานเองได หรืออาจจะเขียนโปรแกรมขึ้นมาใชงานเอง ก็สามารถทําไดเชนเดียวกัน
         สําหรับการใชงานในระดับเริ่มตน ผูเขียนขอแนะนําใหใชบริการเปนสมาชิก ในเว็บไซตที่
ใหบริการสรางบล็อกฟรี ซึ่งมีอยูมากมาย เว็บไซตที่ผูเขียนขอแนะนําก็คือ เว็บไซตเวิรดเพรส
(Wordpress, http://www.wordpress.com/) เนื่องจากสามารถสมัครชิกไดงาย ใชเวลาเพียงไมก่นาที        ี
ก็สามารถใชบริการไดทันที และเวิรดเพรสยังเปนบล็อกที่มีความสามารถใชการทําอันดับในเว็บไซต
สําหรับการคนหาขอมูล (Search Engine) ซึ่งจะทําใหบล็อกที่ถูกสรางขึ้นถูกคนหาเจอไดอยางรวดเร็ว




        รูปที่ ๖ ภาพแสดงหนาจอสําหรับการสมัครสมาชิกของเว็บไซต http://www.wordpress.com/
รูปที่ ๗ ภาพแสดงหนาจอบล็อกที่เปนสมาชิกของเว็บไซต http://www.wordpress.com/


๓.๓.๒ จัดเก็บภาพนิ่งดวยเว็บไซตที่ใหบริการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนภาพถาย
        เอกสารจดหมายเหตุนอกจากจะเปนการบันทึกเรื่องราว โดยใชเทคโนโลยีบล็อก ดังที่กลาวไวแลว
ในหัวขอที่ผานมา เอกสารจดหมายเหตุอาจจะอยูในรูปของภาพถาย หรือแมแตการบันทึกความทรงจํา
ของหลายๆ คน ก็ใชภาพถายเปนสื่อในการจัดเก็บความทรงจําของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในปจจุบัน
ที่กลองถายภาพดิจิทัล ไดรบการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีเครื่องมืออํานวยความสะดวกใหกับผู
                              ั
ที่ชื่นชอบการถายภาพทั้งมือใหม และมืออาชีพมากมาย ในราคาที่ไมแพง ทําใหการถายภาพไดรับความ
สนใจ หรือไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น ดังจะเห็นไดจาก ความนิยมใชมือถือ หรือกลองถายภาพในการ
บันทึกภาพในชีวิตประจําวันเพิ่มมากขึ้น และมีการแลกเปลี่ยนรูปภาพผานเว็บไซตตางๆ มากมาย
        ในการจัดเก็บขอมูลจดหมายเหตุชนิดภาพถายบนเว็บไซต ผูเขียนแนะนําเว็บไซตฟลิกเกอร
(Flickr, http://www.flickr.com/) ที่ใหบริการจัดเก็บขอมูลภาพนิ่งดิจิทัล พรอมกับเครื่องมือสําหรับการ
บริหารจัดการ การใหคําอธิบายภาพตามความสนใจของผูที่เปนเจาของ และมีคุณสมบัติของการเปน
เครือขายสังคมของสมาชิกที่ชอบการสะสมหรือสื่อสารผานภาพนิ่ง เว็บไซตดังกลาวนี้จะมีความสามารถ
ในการสรางการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนองคความรูผานภาพนิ่งที่เปนขอมูลหลัก
                                                         
        และยังมีเครื่องมือที่สรางใหเกิดการมีสวนรวม ระหวางเจาของขอมูล และผูเขาชม เชน ผูเขาชม
สามารถแสดงความคิดเห็น หรือใหขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพนั้นๆ ได หรือสามารถใหความคิดเห็นบน
ภาพ โดยเชื่อมโยงความคิดเห็น หรือคําอธิบายกับเฉพาะสวนของภาพนิ่งได เปนตน ในการสมัครสมาชิก
ของเว็บไซตฟลิกเกอร นั้นมีเงื่อนไขวาผูสมัครจะตองเปนสมาชิก หรือสมัครสมาชิกของเว็บไซต Yahoo
(http://www.yahoo.com) ดวย ซึ่งการสมัครเปนสมาชิกอีเมลของ Yahoo ไมมีคาใชจายในการสมัคร
แตอยางใด
รูปที่ ๘ ภาพแสดงหนาจอแรกของเว็บไซต http://www.flickr.com/ ที่มปุมสมัครสมาชิกอยูที่มุมบนดานขวา
                                                                ี




        รูปที่ ๙ ภาพแสดงหนาจอแสดงคลังภาพของสมาชิกในเว็บไซต http://www.flickr.com/
๓.๓.๓ จัดเก็บวิดีโอดวยเว็บไซตที่ใหบริการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนวิดีโอ
        นอกจากการเก็บเอกสารจดหมายเหตุในรูปแบบของเรื่องราวและรูปภาพแลว สื่อวิดีโอดิจิทัลก็เปน
สื่อที่ไดรับความนิยมในการนํามาประยุกตใชในการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ เนืองจากสื่อวิดีโอ มี
                                                                                    ่
คุณสมบัติในการแสดงความตอเนื่องของขอมูลที่นําเสนอ อีกทั้งการถายวิดีโอในปจจุบันไมใชเรื่องที่ตอง
ใชทักษะเฉพาะในการใชงานอุปกรณเหมือนในอดีต ซึ่งจะพบวาทุกคนสามารถใชมือถือในการถายวิดีโอ
สั้นๆ ที่เรียกวาคลิปวิดีโอ และอีกหลายๆ คนใชกลองถายวิดีโอขนาดเล็ก ในการถายวิดีโอ ซึ่งจะไดวิดีโอ
อยูในรูปของไฟลดิจิทัล พรอมที่จะถูกนําไปใชงานไดทันที และอีกหลายๆ คนที่มีงบประมาณไมมาก ก็
สามารถใชกลองถายวิดีโอที่ติดอยูกับคอมพิวเตอร หรือ Webcam ในการถายวิดีโอ ก็สามารถทําได
เชนเดียวกัน ดังนั้น การผลิตสื่อวิดีโอสําหรับการจัดเก็บเรื่องราวความทรงจํา หรือการนํามาประยุกตใชใน
การเก็บขอมูลจดหมายเหตุ จึงไมใชเรื่องที่ยากอีกตอไป
        ในสวนของเว็บไซตที่ใชสําหรับการจัดเก็บขอมูลวิดีโอ ที่ผูเขียนแนะนําก็คือ เว็บไซตยูทูป
(Youtube, http://www.youtube.com/) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ ๑๐ โดยผูที่เปนสมาชิกสามารถ
สมัครสมาชิกไดโดยใชระยะเวลาอันสั้น แลวจึงสามารถจัดเก็บและเผยแพรวิดีโอไดทันที ในการบันทึก
วิดีโอเขาสูเว็บไซตยูทูปนั้น ควรที่จะตองใสคําอธิบายที่เหมาะสมกับวิดีโอเรื่องนั้นๆ พรอมกับการใสคํา
สําคัญ ที่หลายๆ ที่อาจจะใชคําวา keyword และอีกหลายๆ ที่ที่อาจจะใชคําวา tag ซึ่งขอมูลตางๆ นี้จะ
เปนประโยชนอยางยิ่งตอระบบในการนําไปใชในการสืบคน และจัดหาวิดีโอที่สัมพันธกันขึ้นมาแสดง
ประกอบเปนขอมูลเพิ่มเติม




  รูปที่ ๑๐ ภาพแสดงหนาจอสมัครสมาชิกและหนาจอวิดีโอของสมาชิกในเว็บไซต http://www.youtube.com/
๓.๓.๔ จัดเก็บไฟลเอกสารดวยเว็บไซตที่ใหบริการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนไฟลเอกสาร
     สําหรับเอกสารจดหมายเหตุที่อยูในรูปแบบของไฟลเอกสารประเภท ไฟลขอความที่ถูกเก็บบันทึก
โดยใชโปรแกรมประมวลผลขอความ เชน โปรแกรม Microsoft Word เอกสารที่อยูในรูปแบบไฟล PDF
หรือเอกสารที่ใชเปนสื่อในการนําเสนอ เชน สื่อนําเสนอที่ถูกสรางจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint
หรือขอมูลเอกสารประเภทอื่นๆ ที่ถูกสรางโดยโปรแกรมที่แตกตางกันออกไป
     ในระบบเครือขายอินเทอรเน็ต มีเว็บไซตที่ใหบริการในการจัดเก็บ และเผยแพรเอกสารตางๆ เหลานี้
อยูมากมาย เชน เว็บไซต Scribd (http://www.scribd.com/) ที่เปนชุมชนแหงการแบงปนงานเขียน
หรือเอกสารตางๆ ที่เราสามารถใชในการจัดเก็บเอกสารที่อยูในรูปแบบ Microsoft Word, Microsoft
Excel, Microsoft PowerPoint, PDF, Open Office และไฟลเอกสารชนิด Text file (ดูรายละเอียด
เพิ่มเติมไดที่ http://www.scribd.com/upload)
     อีกเว็บไซตหนึ่งที่ผูเขียนใชในการเก็บเอกสาร โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดเก็บ และเผยแพรไฟล
นําเสนอ ที่ใชในการนําเสนอในวาระตางๆ สําหรับผูที่เขารวมฟงสัมมนา และผูอื่นที่สนใจ สามารถดูและ
ดาวนโหลดไฟลเอกสารตางๆ นี้ไปใชในการอางอิงได เว็บไซตดังกลาวนี้คือ เว็บไซต SlideShare
(http://www.slideshare.net/) ดังแสดงในรูปที่ ๑๑




   รูปที่ ๑๑ ภาพหนาจอรายการไฟลนําเสนอ และการดูไฟลนําเสนอในเว็บไซต http://www.slideshare.net/
๓.๓.๕ สรางดัชนีสําหรับการเขาถึงขอมูล
     จากกระบวนการตางๆ ที่ผานมา ทําใหเกิดการบันทึกขอมูลเอกสารจดหมายเหตุรปแบบตางๆ ไวใน
                                                                                    ู
เว็บไซตที่แตกตางกัน ในขั้นตอนตอไปจะเปนกระบวนการในการสรางเครือขายของเอกสารจดหมายเหตุ
สวนบุคคล โดยการสรางดัชนี ที่จะเปนผูนําทางไปสูการเขาถึงเอกสารประเภทตางๆ ซึ่งเทคนิคดังกลาวนี้
จะตองอาศัยเว็บไซตตัวกลาง ที่จะทําหนาที่เสมือนดัชนีเอกสารจดหมายเหตุ หรือเสมือนกับบอรดในการ
ประชาสัมพันธเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล เพื่อการประชาสัมพันธวาในขณะนั้นเกิดอะไรขึ้น หรือมี
อะไรใหม มีอะไรที่นาสนใจ
     เว็บไซตที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะทําหนาที่เปนตัวกลางดังกลาวนี้ ก็คือเว็บไซตที่มีลักษณะเปน
เครือขายทางสังคม ทีมีชื่อวา ทวิตเตอร (Twitter, http://www.twitter.com/) ที่จะใชในการสรางดัชนี
และการเชื่อมโยงไปยังขอมูลแตละสวนในแตละเว็บไซตจดหมายเหตุ ดวยขอความสั้นๆ เพื่อตอบคําถาม
วา “What are you doing?” และในขอความสั้นๆ นั้น สามารถทําการสรางการเชือมโยงระหวางเว็บไซต
                                                                                 ่
ได ดังแสดงในรูปที่ ๑๒




      รูปที่ ๑๒ แผนภาพแสดงการเชื่อมโยงระหวางเว็บไซตทวิตเตอรกับเอกสารจดหมายเหตุประเภทตางๆ
๔. บทสรุป
      ในบทความนี้ไดนําเสนอแนวทางในการจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล โดยใชเครื่องมืองายๆ
เชน กลองดิจิทัลหรือกลองวิดีโอ พรอมกับเครื่องคอมพิวเตอรที่ตอเชื่อมเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ต ใน
การแปลงขอมูลที่จับตองได และขอมูลที่จับตองไมได ใหอยูในรูปของขอมูลดิจิทัล และไดอธิบายถึง
วิธีการในการบริหารจัดการขอมูล ที่จะตองเขาใจถึงความสําคัญของการใหคําอธิบายประกอบขอมูลที่
เหมาะสม รวมถึงการนําขอมูลเขาสูระบบเครือขายอินเทอรเน็ต และสรางเครือขายสังคมของตนเองเพื่อ
เชื่อมโยงขอมูลในรูปแบบตางๆ เขาดวยกัน เพื่อการเผยแพรขอมูลไปสูสาธารณะอยางมีประสิทธิภาพ ทํา
ใหเกิดกระบวนการในการแลกเปลี่ยนและเรียนรูรวมกัน ระหวางเจาของขอมูล และผูเขาชม
      อยางไรก็ตาม สิ่งที่สําคัญที่สุดนอกเหนือจากความรูความเขาใจในเทคโนโลยี หรือวิธีการตางๆ ที่
เกี่ยวของ ก็คือ “ขอมูล” ซึ่งผูที่จัดทําจดหมายเหตุดิจทัลของตนเอง ควรจะตองเลือกสรรขอมูลที่มี
                                                       ิ
ความสําคัญ โดยคํานึงถึงประโยชนของการจัดเก็บขอมูลนั้นๆ วาจะกอใหเกิดประโยชนตอตัวเองและ
ผูอื่นไดอยางไร รวมไปถึงกระบวนการในการจัดกลุมขอมูล การคัดแยกขอมูล เพื่อใหเกิดการจัดเก็บที่มี
ประสิทธิภาพ การใหคําอธิบายของขอมูลแตละชิ้นที่จะเปนประโยชนตอการเขาถึงขอมูล การสืบคน และ
การสรางความเชื่อมโยงระหวางขอมูล ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ ไมใชกระบวนการทางเทคโนโลยี แตเปน
กระบวนการในการทําความเขาใจ และวางแผนในการจัดเก็บขอมูลที่มีอยูมากกวา
      ที่สําคัญการที่ผูเปนเจาของขอมูลเขาใจ และตระหนักรูถึงความสําคัญของการแลกเปลี่ยน และเรียนรู
โดยใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือ และไดเคยทดลองเปนผูใชงานเครื่องมือตางๆ ในการขุดคุยหาความรูใน
ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ผูเขียนเชื่อเปนอยางยิ่งวา ทานจะสามารถประสบความสําเร็จในการใช
เทคโนโลยีเพื่อสรางคลังจดหมายเหตุสวนบุคคลของทานไดอยางมีประสิทธิภาพ

๕. บรรณานุกรม
   ๑. กรมศิลปากร. “คูมือการอนุรักษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรักษเอกสารจดหมายเหตุโดยการ
      แปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล”, ๒๕๕๑
   ๒. มร. เดอะ ลา ลูแบร. “จดหมายเหตุ ลา ลูแบร ราชอาณาจักรสยาม” แปลโดยสันต ท. โกมลบุตร,
      นนทบุรี: ศรีปญญา, ๒๕๔๘
   ๓. พุทธทาส อินทปญโญ. “ชวยเขาหนอย...อยาเพอคิดตาย หัวใจนิพพาน”, กรุงเทพฯ: มติชน,
       ๒๕๔๙
   ๔. Bradley, Phil. “How to use web 2.0 in your library/Phil Bradley”, London : Facet,
       ๒๐๐๗
   ๕. Jones, Bradley. “Web 2.0 heroes: interviews with 21 Web 2.0 influencers /Bradley L.
       Jones [interviewer]”, Indianapolis, IN : Wiley : Wiley , c๒๐๐๘
   ๖. Shuen, Amy . “Web 2.0 : a strategy guide /Amy Shuen”, Beijing ; Cambridge :
       O'Reilly, c๒๐๐๘
   ๗. Smith, Gene. “Tagging : people-powered metadata for the social web /Gene
       Smith”,Berkeley, CA. : New Riders, c๒๐๐๘
   ๘. http://th.wikipedia.org/wiki/จดหมายเหตุ
   ๙. http://en.wikipedia.org/wiki/Digital_preservation

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document Preservation
 
Technology For Museum
Technology For MuseumTechnology For Museum
Technology For Museum
 
Personal Digital Archive Development
Personal Digital Archive DevelopmentPersonal Digital Archive Development
Personal Digital Archive Development
 
Technologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and LibrariesTechnologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and Libraries
 
Digital Photo Archive
Digital Photo ArchiveDigital Photo Archive
Digital Photo Archive
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
 
Electronic Museum
Electronic MuseumElectronic Museum
Electronic Museum
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
 
Rarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICTRarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICT
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
Internet 2000
Internet 2000Internet 2000
Internet 2000
 

Viewers also liked

VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08
VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08
VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08
internationalvr
 
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
internationalvr
 
The Mall
The MallThe Mall
The Mall
dboling
 
如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌
如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌
如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌
gctarng gctarng
 
A dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógica
A dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógicaA dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógica
A dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógica
sergio_chumbinho
 
Donne Al Volante
Donne Al VolanteDonne Al Volante
Donne Al Volante
markokr007
 
Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009
Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009
Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009
internationalvr
 

Viewers also liked (20)

Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectSummary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
 
Just in time
Just in timeJust in time
Just in time
 
VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08
VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08
VietRees_Newsletter_28_Week4_Month04_Year08
 
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
 
Moral Psychology
Moral PsychologyMoral Psychology
Moral Psychology
 
Presentation on Instant page speed optimization
Presentation on Instant page speed optimizationPresentation on Instant page speed optimization
Presentation on Instant page speed optimization
 
Introduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual TourIntroduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual Tour
 
Como cambiar en 30 dias
Como cambiar en 30 diasComo cambiar en 30 dias
Como cambiar en 30 dias
 
The Mall
The MallThe Mall
The Mall
 
e-Museum of Wat Makutkasattriyaram
e-Museum of Wat Makutkasattriyarame-Museum of Wat Makutkasattriyaram
e-Museum of Wat Makutkasattriyaram
 
18 De Diciembre Bocetos
18 De Diciembre Bocetos18 De Diciembre Bocetos
18 De Diciembre Bocetos
 
如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌
如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌
如何運用網路自媒體全方位傳播展現學校品牌形象 --唐國昌
 
Ole Dppt
Ole DpptOle Dppt
Ole Dppt
 
A dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógica
A dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógicaA dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógica
A dinâmica discursiva no contexto do ensino da evolução bilógica
 
Donne Al Volante
Donne Al VolanteDonne Al Volante
Donne Al Volante
 
Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009
Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009
Bản Tin BĐS Việt Nam Số 67 Tuần 4 Tháng 1 Năm 2009
 
Tmi (recuperado)
Tmi (recuperado)Tmi (recuperado)
Tmi (recuperado)
 
Presentation on basics of Registry Editor
Presentation on basics of Registry EditorPresentation on basics of Registry Editor
Presentation on basics of Registry Editor
 
Diseño plan estrategico de rrhh
Diseño plan estrategico de rrhhDiseño plan estrategico de rrhh
Diseño plan estrategico de rrhh
 
Social Business Conference 2013 - Brand Page SEO for Facebook Graph Search
Social Business Conference 2013 - Brand Page SEO for Facebook Graph SearchSocial Business Conference 2013 - Brand Page SEO for Facebook Graph Search
Social Business Conference 2013 - Brand Page SEO for Facebook Graph Search
 

Similar to Personal Digital Archives Development

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
Chaiwit Khempanya
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Tarinee Bunkloy
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
keatsunee.b
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
Boonlert Aroonpiboon
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
sawitri555
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Ariya Soparux
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Theerapat Nilchot
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
Warakon Phommanee
 

Similar to Personal Digital Archives Development (20)

Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from Rachabodin Suwannakanthi

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
Rachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 

More from Rachabodin Suwannakanthi (20)

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing files
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing files
 
Camera RAW Workflow
Camera RAW WorkflowCamera RAW Workflow
Camera RAW Workflow
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
 
How to Create an Educational Media
How to Create an Educational MediaHow to Create an Educational Media
How to Create an Educational Media
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
Digital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course OutlineDigital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course Outline
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
General Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package ToolGeneral Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package Tool
 
Basic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic PhotographyBasic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic Photography
 
Multi-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic PhotographyMulti-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic Photography
 

Personal Digital Archives Development

  • 1. การจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษเชิงดิจิทัล หนวยปฏิบัติการวิจัยคลังอนุพันธความรู ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ rachy@nectec.or.th บทคัดยอ เอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล เปนแหลงขอมูลชั้นตนที่สําคัญตอการเรียนรูของชุมชน สังคม ประเทศ และโลก ผานบันทึกเหตุการณ ความทรงจํา ความคิด ความรู หรือประสบการณของบุคคล ซึ่ง การจัดทําจดหมายเหตุสวนบุคคลนั้น เปนการจัดเก็บองคความรูที่เปนรูปธรรม ที่ทําใหคนทั่วไป สามารถ เขาถึงขอมูล หรือองคความรูไดโดยสะดวก และมีประสิทธิภาพ เปนผลใหเกิดประโยชนตอสวนรวม ดัง จะเห็นไดจากจดหมายเหตุของบุคคลสําคัญหลายๆ ทาน ที่ไดบันทึก และถูกเผยแพรสูสาธารณะใน รูปแบบตางๆ เชน จดหมายเหตุของทานพุทธทาสภิกขุ ที่รวบรวมผลงานจากการศึกษา ปฏิบัติ และ เผยแพรความรูทางพุทธศาสนาตลอดชวงชีวิต ๘๗ ป ซึ่งเอกสารและบันทึกตางๆ เหลานี้ถือเปนมรดก ทางปญญาที่สําคัญ ที่จะเปนประโยชนกับมวลมนุษยชาติใหหลุดพนจากทุกข ดวยการเขาใจ และนํา หลักธรรมคําสั่งสอนทางพุทธศาสนาไปเปนแนวคิด และแนวปฏิบัติ หรือเอกสารจดหมายเหตุลาลูแบร ซึ่งเปนบันทึกของ มองซิเออร เดอ ลาลูแบร ที่ไดบันทึกสภาพบานเมืองของราชอาณาจักรสยามในสมัย สมเด็จพระนารายณมหาราช ทําใหคนรุนหลังไดเรียนรูถึงสภาพทางภูมิศาสตร ขนบธรรมเนียมประเพณี  วิถีชีวิต และจารีตของคนในสมัยนั้น ดังนั้น จะเห็นไดวาการจัดทําเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคลนั้น มี ความสําคัญ และมีคุณคาตอการเรียนรูของคนทั่วไป ไมยิ่งหยอนไปกวา การจัดทําจดหมายเหตุ ที่เปน บันทึก หรือรายงานเหตุการณขององคกรหรือหนวยงาน ในปจจุบัน ที่วิทยาการ และเทคโนโลยีไดรับการพัฒนาจนกาวหนาไปจากอดีตมาก ดังจะเห็นได จากในชีวิตประจําวัน ไดมีการนําเทคโนโลยี และเครื่องมือที่ทันสมัยตางๆ มาใชเพื่อใหเกิดความ สะดวกสบายในการดํารงชีวต เปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวัน ซึ่ง ิ การเขาใจถึงกระบวนการ การรูเทาทันเทคโนโลยี และการเลือกใชเทคโนโลยี หรือเครื่องมือในปจจุบันที่ เหมาะสมกับงาน ในการจัดทํา จัดเก็บ จัดการ เผยแพร และแลกเปลี่ยนจดหมายเหตุสวนบุคคล เปนเรื่อง ที่สําคัญ ในบทความนี้ จะอธิบายถึงเทคโนโลยีตางๆ ที่เกี่ยวของกับ 3 กระบวนการหลัก สําหรับการ จัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล นั่นคือ เทคโนโลยีในการแปลงขอมูล หรือองคความรู ใหอยูใน รูปแบบดิจิทัล เทคโนโลยีในการจัดเก็บและบริหารจัดการขอมูลจดหมายเหตุที่อยูในรูปแบบของตัวอักษร รูปภาพ เสียง วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว หรือสื่อชนิดตางๆ และเทคโนโลยีในการเชื่อมโยง แลกเปลี่ยน และ เผยแพรขอมูลจดหมายเหตุดิจิทัลผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต นอกจากนั้น ในบทความนี้ จะไดนําเสนอแนวทาง และวิธีการใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีตางๆ ที่ เกี่ยวของ ในการจัดทําจดหมายเหตุสวนบุคคลในรูปแบบดิจิทัล เพื่อใหผูอานเขาใจ เห็นประโยชน สามารถเลือกใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม ตลอดจนสามารถนําวิธีการตางๆ จากการนําเสนอใน บทความไปปฏิบัติไดจริง เพื่อใหเกิดการสรางคลังจดหมายเหตุดิจิทลสวนบุคคล เพื่อการจัดเก็บ จัดการ ั และเผยแพรความรู ประสบการณ เหตุการณ และภูมิปญญา เพื่อการเผยแพร และแลกเปลี่ยนกับบุคคล อื่นๆ ในสังคมแหงการแลกเปลี่ยนและเรียนรู ไดอยางมีประสิทธิภาพ คําสําคัญ - Digital Archive, Personal Archive, Digital Content, Digitization, Metadata, Web 2.0, Social Network, Information Sharing, Knowledge Management, จดหมายเหตุ, ดิจิทัล, จดหมายเหตุสวนบุคคล, เครือขายสังคม, แลกเปลี่ยน, เชื่อมโยง, การมีสวนรวม
  • 2. ๑. บทนํา เอกสารจดหมายเหตุ หมายถึงขอมูลทุกรูปแบบที่หนวยงานผลิตขึ้นใชในการปฏิบัติงานแตสิ้นกระแส การปฏิบัติงานแลว และไดรับการประเมินวามีคุณคาในฐานะเปนขอมูลชั้นตนที่แสดงถึงการดําเนินงาน และพัฒนาการของหนวยงานนั้น ๆ ซึ่งมีความสําคัญตอประวัติศาสตรของประเทศ ทั้งนี้หมายรวมถึง เอกสาร สวนบุคคลที่รับมอบจากบุคคลสําคัญหรือทายาทดวย [๑] เอกสารจดหมายเหตุ เปนหลักฐาน หรือแหลงขอมูลชั้นตนที่สําคัญ ที่เก็บขอมูลอันทรงคุณคาทาง ประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม ความทรงจํา ภูมิปญญา ความรู และประสบการณ ที่ถือวาเปนคลังความรู ที่สําคัญของประเทศ อีกทั้งยังเปนหลักฐานอางอิงที่สําคัญในสาขาวิชาตางๆ และเปนกลไกสําคัญในการ พัฒนาบุคคลากรของประเทศใหมีความรู ความสามารถ ที่จะนําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และ ยังเปนการสรางความสามารถในการแขงขันในยุคที่ฐานความรูเขามามีบทบาทสําคัญ ดังจะเห็นไดจาก การใหความสําคัญในเรื่องของการจัดการความรูของบุคคลและหนวยงานตางๆ และดวยความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบัน ทําใหการประยุกตใชเทคโนโลยีในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานจดหมายเหตุ เปนประเด็นที่ไดรับความสนใจจากบุคคล และหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งทําใหเกิดความสนใจในการ จัดทําคลังจดหมายเหตุทั้งสวนบุคคล และจดหมายเหตุของหนวยงาน ในรูปแบบดิจิทัลเพิ่มมากยิ่งขึ้น ๑.๑ ความสําคัญของการจัดทําจดหมายเหตุสวนบุคคล นอกจากจดหมายเหตุที่เปนเอกสารของหนวยงานแลว เอกสารจดหมายเหตุยังมีความหมาย ครอบคลุมรวมไปถึงเอกสารของบุคคล ซึ่งตัวอยางเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล ที่ถูกบันทึกเอาไวใน อดีต และมีคุณคาอยางสูงตอการศึกษาประวัติศาสตร และวัฒนธรรมของไทยในอดีต ไดแก จดหมาย เหตุลาลูแบร ซึ่งเปนบันทึกของ มองซิเออร เดอ ลาลูแบร ที่ไดบันทึกสภาพบานเมืองของราชอาณาจักร สยามในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ทําใหคนรุนหลังไดเรียนรูถึงสภาพทางภูมิศาสตร วิถีชีวิต  ขนบธรรมเนียม ประเพณี และจารีตของคนในสมัยนั้น รูปที่ ๑ ภาพแสดงวิถชีวิตในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช จากเอกสารจดหมายเหตุลาลูแบร [๒] ี
  • 3. อีกตัวอยางหนึ่งที่เปนเอกสารจดหมายเหตุที่มีคุณประโยชน ไมเพียงตอคนไทย แตเปนประโยชนตอ มวลมนุษยชาติก็คือ เอกสารจดหมายเหตุของทานพุทธทาสภิกขุ ที่รวบรวมผลงานจากการศึกษา ปฏิบัติ และเผยแพรความรูทางพุทธศาสนาตลอดชวงชีวิต ๘๗ ป ซึ่งเอกสารและบันทึกตางๆ เหลานี้ถือเปน มรดกทางปญญาที่สําคัญ ที่จะทําใหหลุดพนจากทุกข ดวยการเขาใจ และนําหลักธรรมคําสั่งสอนทาง พุทธศาสนาไปเปนแนวคิด และแนวปฏิบัติ รูปที่ ๒ เอกสารจดหมายเหตุของทานพุทธทาสภิกขุที่กลาวถึงเรื่องนิพพาน และชีวิตคือความสําราญบานใจในความถูกตอง ถูกบันทึกบนดานหลังของ กระดาษปฏิทินแขวนรายวัน ทีถูกฉีกออกจากเลม เมื่อผานพนวันนั้นแลว ่ เปนการบันทึกพรอมวันที่กํากับ ถือเปนปจฉิมลิขิตของทานพุทธทาสภิกขุ [๓] ความสําคัญของจดหมายเหตุสวนบุคคล เนื่องจาก แตละบุคคล ยอมมีความเกี่ยวของ สัมพันธกับ บุคคลอื่น สัมพันธกับเวลา สถานที่ เหตุการณ ซึ่งขอมูลแตละชิ้นนั้น อาจจะเปนขอมูลที่มีลักษณะเปน รูปธรรม หรือขอมูลที่สามารถจับตองได เชน เอกสาร บันทึกประจําวัน บทความ หนังสือ เปนตน หรือ อาจจะเปนขอมูลที่ไมไดเปนรูปธรรม ที่ไมสามารถจับตองได หรือไมไดมีการบันทึกเอาไว เชน ความทรง จํา ความรู ประสบการณ ความคิด ความเชื่อ เปนตน ดังนั้น ถาสามารถจัดเก็บขอมูลของแตละบุคคล ทั้งสวนของขอมูลที่สามารถจับตองได และขอมูล สวนที่ไมสามารถจับตองได จะทําใหเกิดการสรางคลังปญญาขนาดใหญ ที่เปนคลังปญญาที่สําคัญของ ประเทศ และถาสามารถจัดการใหเกิดการเขาถึงไดโดยบุคคลอื่นๆ จะทําใหเกิดกระบวนการในการ แลกเปลี่ยนองคความรู การวิเคราะห และเชื่อมโยงองคความรู กับองคความรูอื่นๆ ซึ่งจะทําใหเกิดเปน องคความรูใหม เปนการเรียนรูแบบตอยอด ที่สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนไดตอไป
  • 4. ๑.๒ เอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล เอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล คือ เอกสารจดหมายเหตุทมีการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการ ี่ จัดเก็บ จัดการ และทําใหเกิดกระบวนการในการใชงาน หรือเขาถึงขอมูลไดโดยสะดวก ซึ่งการนํา เทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการจัดเก็บขอมูลนั้น ถือวาเปนการอนุรักษขอมูลแบบระยะยาว (Long-term Preservation) ที่จะตองรับรองทั้งความถูกตองของขอมูลที่เหมือนกับตนฉบับทุกประการ และรับรองวา ผูใชจะยังตองสามารถเขาถึงขอมูลไดทั้งหมด ไมวาเทคโนโลยีจะเปลี่ยนไปในรูปแบบใด ซึ่งเทคโนโลยี ที่เกี่ยวของกับการจัดทําเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล ประกอบดวย ๒ เทคโนโลยีที่สําคัญ คือ ๑. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และ อิเล็กทรอนิกส ทั้งสวนที่เปนอุปกรณ (Hardware) และสวนที่เปนชุดคําสั่งหรือโปรแกรม (Software) ซึ่งจะเปนเครื่องมือที่สําคัญสําหรับการแปลงขอมูลใหอยูในรูปดิจิทัล และการ จัดเก็บ การบริหารจัดการขอมูล เชน กลองดิจิทัลและสแกนเนอร เปนเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส ที่ใชในการแปลงขอมูลใหเปนภาพดิจิทัล คอมพิวเตอรคือเครื่องมือที่ใชในการจัดเก็บขอมูล หลังจากการแปลงขอมูลดวยกลองดิจิทัลหรือสแกนเนอร โดยมีซอฟตแวรเปนเครื่องมือที่ทํา ใหสามารถสืบคนหาขอมูลที่ตองการ ไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และมีประสิทธิภาพ ๒. เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) เปนเทคโนโลยีที่ทําใหเกิด กระบวนการในการเผยแพรขอมูล แลกเปลี่ยนขอมูล และเชื่อมโยงขอมูลกับขอมูลอื่นจากที่ ตางๆ ที่เกี่ยวของ ตัวอยางเชน เครื่อขายอินเทอรเน็ตถือเปนเทคโนโลยีการสื่อสาร ที่เปน เครื่องมือสําคัญในการเผยแพร แลกเปลี่ยนขอมูลกับทั่วโลกโดยใชเวลาเพียงเสี้ยววินาที นอกจากนั้น เครือขายอินเทอรเน็ต ยังเปนเครื่องมือสําคัญในการเขาถึง หรือสืบคนขอมูลที่ ตองการ จากคลังขอมูลขนาดใหญไดอยางมีประสิทธิภาพ เหตุผลที่สําคัญในการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการทําจดหมายเหตุ เนื่องจากเทคโนโลยีดิจิทัล มีประสิทธิภาพสูงในการจัดการกับขอมูลจํานวนมาก สามารถสืบคน และเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว นอกจากนั้น เทคโนโลยีดิจิทัลยังสามารถนํามาใชในการจัดเก็บขอมูลไดหลายรูปแบบ เชน ตัวอักษร รูปภาพ เสียง วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ที่สําคัญเทคโนโลยีดิจิทัล เปนเทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนาอยาง ตอเนื่อง ดังนั้น สามารถนํามาใชในการจัดเก็บขอมูล และสงตอขอมูลจากเทคโนโลยีปจจุบันไปสู เทคโนโลยีใหมไดโดยสะดวก ทําใหเกิดรูปแบบของการอนุรักษขอมูลแบบระยะยาวในรูปแบบดิจิทัล ในปจจุบัน เครือขายอินเทอรเน็ตเปนเครื่องมือทางการสื่อสารที่สําคัญ ที่สามารถใชในการเผยแพร ขอมูลจดหมายเหตุ ทําใหคนจากทุกมุมโลกที่อยูในเครือขาย สามารถเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว รวม ไปถึงการประยุกตใชเทคโนโลยีเครือขายสังคม (Social Network) ที่ทําใหเกิดการเชื่อมโยงขอมูลที่มี ความสัมพันธกัน ทําใหเกิดการเรียนรูแบบตอเนื่อง ขุดลึก เปนการตอยอดการเรียนรูที่จะเกิดประโยชนตอ ผูเขาชม นอกจากนั้นเทคโนโลยีเครือขายสังคม ยังทําใหเกิดการมีสวนรวมระหวางเจาของขอมูลกับผู เขาชม นั่นคือ ผูเขาชมสามารถแสดงความเห็น หรือใหขอมูลเพิ่มเติม ทําใหเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยน และเรียนรูไปพรอมๆ กัน ที่นอกจากจะเปนประโยชนตอผูเขาชมแลว ก็จะเปนประโยชนตอผูเปนเจาของ ขอมูลอีกดวย ตัวอยางของการใชงานเครือขายสังคมในการเผยแพรและแลกเปลี่ยนขอมูลบนอินเทอรเน็ต เชน เว็บไซตยูป (Youtube, http://www.youtube.com/) อนุญาตใหสมาชิกสามารถนําวิดีโอของตน ไป เผยแพรในเว็บไซตได ซึ่งเมื่อมีการสืบคนขอมูลวิดีโอ จะพบวานอกจากวิดีโอที่ถูกสืบคนแลว วิดีโอเรื่อง อื่นๆ ที่เกี่ยวของ หรือมีเนื้อหาที่สอดคลองกับวิดีโอหลักถูกนําเสนอมาใหเปนทางเลือกพรอมๆ กัน นอกจากนั้น ในวิดีโอแตละเรื่องที่ดู จะพบวาผูเขาชมสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน หรือ สอบถามเพิ่มเติมได และยังสามารถนําวิดีโอที่ดูนั้น ไปเผยแพรตอในที่อื่นๆ ได ทําใหเกิดรูปแบบของการ ประชาสัมพันธแบบปากตอปากบนเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดการเขาถึงสื่อวิดีโอเรื่องนั้นเพิ่มมาก ขึ้น และมีการแลกเปลี่ยนความรูมากขึ้นตามไปดวย นอกจากประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับผูเขาชมแลว ผูที่ เปนเจาของขอมูลยังสามารถเขาถึงวิดีโอเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ตนสนใจไดอีกดวย
  • 5. ๓. วิธีการในการจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล วิธีการในการจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคลตอไปนี้ ผูเขียนจะนําเสนอเทคนิคในการใช ประโยชนจากเว็บไซตที่มีลักษณะเปนเครือขายสังคม โดยใชเครื่องมืองายๆ ไดแก กลองถายภาพ หรือ กลองถายวิดีโอ สําหรับการแปลงขอมูลใหเปนภาพนิ่งดิจิทัล หรือวิดีโอดิจิทัล และใชเครื่องคอมพิวเตอร ที่ตอเชื่อมกับระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ในการตอเชื่อมเขาสู เว็บไซตสําหรับการจัดเก็บสื่อในบักษณะ ตางๆ ที่มีใหบริการฟรีอยูในเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งเว็บไซตตางๆ เหลานี้มีคุณสมบัติเปนเว็บไซต เครือขายสังคมอยูแลว ซึ่งจากขั้นตอนงายๆ เพียงไมกี่ขั้นตอน ทําใหสามารถจัดทําคลังจดหมายเหตุ ดิจิทัลสวนบุคคล ที่พรอมเผยแพร แลกเปลี่ยน เชื่อมโยง และเรียนรู ในโลกของการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารดิจิทัลในปจจุบัน ซึ่งกระบวนการตางๆ สําหรับการทํางานดังกลาวขางตน ดังแสดงในรูปที่ ๓. รูปที่ ๓ กระบวนการในการจัดทําจดหมายเหตุดิจทัลบนเครือขายอินเทอรเน็ตและเครือขายสังคม ิ ๓.๑ แบงกลุมเอกสารจดหมายเหตุ สิ่งแรกที่ตองทําเมื่อคิดวาจะทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล ก็คือ การสํารวจขอมูลตนฉบับที่มีอยู และขอมูลตนฉบับในอนาคตที่จะนําเขาสูคลังจดหมายเหตุดิจิทัล วาขอมูลตางๆ นั้นอยูในรูปแบบใด เพื่อ จะใชขอมูลตางๆนี้ ในการวางแผน หรือเลือกเทคนิคในการแปลงขอมูล ใหอยูในรูปแบบดิจิทัลที่ เหมาะสม และนําไปใชในการเลือกเว็บไซตที่จะใชในการจัดเก็บขอมูลในขั้นตอนตอไป นอกจากนั้นการสํารวจและแบงกลุมจะทําใหสามารถกําหนดไดวารูปแบบของไฟลดิจิทัลที่จะ เกิดขึ้น หลังจากการแปลงนั้น จะมีรูปแบบ หรือคุณลักษณะเปนอยางไร ซึ่งควรจะทําเปนตารางการ สํารวจที่จะใชเปนวัตถุดิบสําหรับขั้นตอนถัดไป ดังตัวอยางในตารางที่ ๑. ตารางที่ ๑ ตัวอยางตารางการสํารวจประเภทของเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล ชนิดของตนฉบับ รูปแบบของขอมูล ตนฉบับ เรื่องราวใน - ความทรงจํา ชีวิตประจําวัน - ภาพถายดิจิทัล ภาพถายเกาๆ - ภาพสีและขาวดํา ในอัลบั้ม ที่ถูกอัดลงในกระดาษ ภาพนิ่งดิจิทัล - ไฟลภาพดิจิทล ั วิดีโอที่อัดไวในมือถือ - ไฟลวิดีโอดิจทัล ิ ไฟลนําเสนอ - Powerpoint file (presentation)
  • 6. ๓.๒ แปลงขอมูลใหอยูในรูปดิจิทัล การแปลงขอมูล (Digitization) คือ การแปลงขอมูลจากตนฉบับ ใหเปนขอมูลดิจิทัลโดยการใช เครื่องมือตางๆ ในการแปลง เชน ใชเครื่องสแกนเนอรแบบตั้งโตะในการสแกนเอกสารหรือภาพถายที่อยู ในรูปของกระดาษ ใชกลองถายภาพนิ่งดิจิทัลในการถายภาพเหตุการณประจําวัน ใชกลองวิดีโอ หรือมือ ถือ หรือกลอง Webcam ในการถายวิดีโอ ดังตัวอยางที่แสดงในรูปที่ ๔ รูปที่ ๔ ผังภาพแสดงกระบวนการในการแปลงขอมูลจากตนฉบับในรูปแบบตางๆ ใหอยูในรูปแบบดิจทัล ิ หลังจากทําการสํารวจ และทําตารางการสํารวจในขั้นตอนแรกเสร็จเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไป คือ การเลือกวิธีการที่จะใชในการแปลงขอมูล ซึ่งขึ้นอยูกับอุปกรณสําหรับการแปลงขอมูลที่มีอยู นอกจาก การเลือกเทคนิคที่เหมาะสมแลว ควรจะตองระบุไวดวยวาไฟลดิจิทัลที่ไดจากการแปลงขอมูลนั้นจะเปน ไฟลที่มีคุณลักษณะอยางไร เพื่อใหเปนมาตรฐานในการทํางานในแบบเดียวกันทั้งระบบ ซึ่งรายละเอียด ขอมูลตางๆ ในขั้นตอนนี้จะถูกบันทึกเพิ่มลงในตาราง ดังตัวอยางที่แสดงในตารางที่ ๒ ตารางที่ ๒ ตัวอยางตารางกําหนดเทคนิคในการแปลงขอมูล และรูปแบบไฟลผลลัพธ ชนิดของตนฉบับ รูปแบบของขอมูล วิธีการแปลงขอมูล คุณลักษณะของ ตนฉบับ ไฟลผลลัพธ เรื่องราวใน - ความทรงจํา พิมพพรอมใสภาพประกอบ - Text file ชีวิตประจําวัน - ภาพถายดิจิทัล - jpg ภาพถายเกาๆ - ภาพสีและขาวดํา สแกนดวยสแกนเนอร (ถา - jpg ในอัลบั้ม ที่ถูกอัดลงในกระดาษ ไมมีใชกลองดิจิทัลถาย) ภาพนิ่งดิจิทัล - ไฟลภาพดิจิทล ั ไมตองแปลงขอมูล - jpg วิดีโอที่อัดไวในมือถือ - ไฟลวิดีโอดิจทัล ิ ไมตองแปลงขอมูล - flv, avi ไฟลนําเสนอ - Powerpoint file ไมตองแปลงขอมูล - ppt (presentation)
  • 7. เมื่อไดแนวทางที่ใชในการแปลงขอมูลแลว สิ่งที่ตองทําตอไปก็คือ การแปลงขอมูลตนฉบับดวย วิธีการ เพื่อใหไดผลลัพธตามที่ไดกําหนดไวในตาราง ซึ่งขั้นตอนในการทําตารางกําหนดวิธีการและ รูปแบบของผลลัพธนั้น จะทําเฉพาะการเริ่มการแปลงขอมูลในครั้งแรกเทานั้น ในการแปลงขอมูลครั้ง ตอไป ก็สามารถดําเนินการตามวิธีการและรูปแบบที่กําหนดไวไดเลย จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ทํา ใหตองเปลี่ยนวิธีการ เชน ตองเปลี่ยนอุปกรณใหม หรือมาตรฐานในการนําเสนอขอมูลที่ตองการ เปลี่ยนแปลงไป เปนตน ๓.๓ นําขอมูลดิจิทัลเขาสูเว็บไซตที่เกี่ยวของ หลังจากการแปลงขอมูลตนฉบับใหอยูในรูปแบบดิจิทัลเรียบรอยแลว ขั้นตอนถัดไป คือ การนํา ขอมูลดิจิทัลนี้เขาสูเว็บไซตตางๆ โดยแยกตามประเภทของขอมูลดิจิทัล ซึ่งผูเขียนไดนําเสนอแนวคิดใน การใชประโยชนจากเทคโนโลยีเครือขายสังคม ในการสรางเครือขายคลังจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล ที่เชื่อมโยงขอมูลจดหมายเหตุประเภทตางๆ ของแตละบุคคลเขาดวยกัน ซึ่งแนวคิดดังกลาวนี้ ดังแสดง เปนตัวอยางในรูปที่ ๕ รูปที่ ๕ ผังภาพแสดงแนวคิดในการสรางระบบคลังจดหมายเหตุดิจทัลสวนบุคคลโดยใชเครือขายสังคมชนิดตางๆ ิ จากผังภาพขางตน จะพบวาแนวคิดของการสรางเครือขายคลังจดหมายเหตุสวนบุคคล ทําโดยการ นําสื่อดิจิทัลแตละประเภทจัดเก็บไวในเว็บไซตเครือขายสังคมที่แตกตางกัน เหตุผลที่ผูเขียนเห็นวาควร จะแยกการจัดเก็บสื่อตางชนิดกันในเว็บไซตที่แตกตางกัน เนื่องจากแตละเว็บไซตจะถูกออกแบบมาเพื่อ จัดเก็บขอมูลชนิดนั้นๆ โดยเฉพาะ และจะมีเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ที่สามารถใชในการจัดการกับสื่อ ชนิดนั้นจัดเตรียมไวให อีกทั้งกลุมผูใชในแตละเว็บไซต ก็จะเปนกลุมที่สนใจในสื่อประเภทนั้นๆ เหมือนๆ กัน ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ในสังคมของความสนใจเดียวกันอีกดวย นอกจากนั้น จะพบวาผูเขียนไดใชเว็บไซตทวิตเตอร (Twitter) เปนเสมือนดัชนี หรือแผนที่ที่นํา ทางไปสูขอมูลที่ถูกบรรจุไวในเว็บไซตตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวก ใหเกิดการเขาถึงสื่อตางๆ ไดอยาง ทั่วถึง ดังนั้น เว็บไซตทวิตเตอร เปนเสมือนบทสรุปเรื่องราวตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน และนําทาง ไปสูรายละเอียดของแตละชวง ที่ถูกอธิบายโดยแตละสื่อที่แตกตางกัน จากแนวคิดนี้ผูอานสามารถนําไปประยุกตใชกับการจัดเก็บขอมูลโดยใชเว็บไซตอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติ เหมือนกับเว็บไซตในตัวอยางดังกลาวขางตน หรือสามารถนําไปประยุกตใชกับการจัดเก็บสื่อดิจิทัล รูปแบบอื่นๆ ที่แตกตางไปจากตัวอยาง เชน สําหรับผูที่ชอบการถายภาพพาโนรามา อาจจะแยกเก็บภาพ พาโนรามาไวที่เว็บไซต http://www.360cities.net/
  • 8. จากแนวคิดในการนําขอมูลแยกจัดเก็บไวในเว็บไซตดังทีกลาวมาแลวนี้ ในการทํางานจริงไมไดเปน เรื่องที่ยุงยากแตประการใด สิ่งที่ตองทําเริ่มตนที่การสมัครเปนสมาชิกของแตละเว็บไซตโดยไมเสีย คาใชจายใดๆ เมื่อระบบตอบรับ จากนั้นก็สามารถนําขอมูลเขาสูระบบไดทันที ซึ่งเครือขายสังคมที่ใชใน การจัดเก็บขอมูลแตละประเภทนั้นมีรายละเอียดขั้นตอนดังตอไปนี้ ๓.๓.๑ จัดเก็บเรื่องราวดวยเว็บไซตที่ใหบริการสรางบล็อก บล็อก (Blog) หรือ Web log คือ การบันทึกเรื่องราวหรือบทความสวนบุคคลลงบนเว็บไซต โดย ไมจํากัดประเภทของเนื้อหา ทั้งเรื่องราวชีวิตประจําวัน ความสนใจ ความคิด แนวคิด ความรู ความเห็น ทัศนคติ และประสบการณ สามารถใชในการเผยแพรเนื้อหาเฉพาะกลุม เชน เฉพาะในกลุมเพื่อน ชมรม สมาคม หรือเผยแพรไปยังทุกคน ผูเปนเจาของบล็อกสามารถบันทึกเรื่องราวในรูปแบบตัวอักษร พรอม ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหว ทําใหเนื้อหาที่นําเสนอนั้นเกิดความนาสนใจ เขาใจไดงาย ในปจจุบัน เว็บไซตที่ใหบริการสรางบล็อกฟรีมีอยูเปนจํานวนมาก แตละที่จะมีเงื่อนไขในการ สมัคร และเงื่อนไขในการใชงาน ความสามารถ และเครื่องมืออํานวยความสะดวกที่แตกตางกัน นอกจากนั้น สําหรับผูที่มีความรูทางเทคนิค ที่เกี่ยวของกับการเชาพื้นที่เว็บไซต การจดทะเบียนชื่อ โดเมน เพื่อการสรางเว็บไซตดวยตัวเอง สามารถดาวนโหลดเว็บไซตสําหรับการสรางบล็อกโดยเฉพาะ ไปติดตั้ง และใชงานเองได หรืออาจจะเขียนโปรแกรมขึ้นมาใชงานเอง ก็สามารถทําไดเชนเดียวกัน สําหรับการใชงานในระดับเริ่มตน ผูเขียนขอแนะนําใหใชบริการเปนสมาชิก ในเว็บไซตที่ ใหบริการสรางบล็อกฟรี ซึ่งมีอยูมากมาย เว็บไซตที่ผูเขียนขอแนะนําก็คือ เว็บไซตเวิรดเพรส (Wordpress, http://www.wordpress.com/) เนื่องจากสามารถสมัครชิกไดงาย ใชเวลาเพียงไมก่นาที ี ก็สามารถใชบริการไดทันที และเวิรดเพรสยังเปนบล็อกที่มีความสามารถใชการทําอันดับในเว็บไซต สําหรับการคนหาขอมูล (Search Engine) ซึ่งจะทําใหบล็อกที่ถูกสรางขึ้นถูกคนหาเจอไดอยางรวดเร็ว รูปที่ ๖ ภาพแสดงหนาจอสําหรับการสมัครสมาชิกของเว็บไซต http://www.wordpress.com/
  • 9. รูปที่ ๗ ภาพแสดงหนาจอบล็อกที่เปนสมาชิกของเว็บไซต http://www.wordpress.com/ ๓.๓.๒ จัดเก็บภาพนิ่งดวยเว็บไซตที่ใหบริการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนภาพถาย เอกสารจดหมายเหตุนอกจากจะเปนการบันทึกเรื่องราว โดยใชเทคโนโลยีบล็อก ดังที่กลาวไวแลว ในหัวขอที่ผานมา เอกสารจดหมายเหตุอาจจะอยูในรูปของภาพถาย หรือแมแตการบันทึกความทรงจํา ของหลายๆ คน ก็ใชภาพถายเปนสื่อในการจัดเก็บความทรงจําของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในปจจุบัน ที่กลองถายภาพดิจิทัล ไดรบการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีเครื่องมืออํานวยความสะดวกใหกับผู ั ที่ชื่นชอบการถายภาพทั้งมือใหม และมืออาชีพมากมาย ในราคาที่ไมแพง ทําใหการถายภาพไดรับความ สนใจ หรือไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น ดังจะเห็นไดจาก ความนิยมใชมือถือ หรือกลองถายภาพในการ บันทึกภาพในชีวิตประจําวันเพิ่มมากขึ้น และมีการแลกเปลี่ยนรูปภาพผานเว็บไซตตางๆ มากมาย ในการจัดเก็บขอมูลจดหมายเหตุชนิดภาพถายบนเว็บไซต ผูเขียนแนะนําเว็บไซตฟลิกเกอร (Flickr, http://www.flickr.com/) ที่ใหบริการจัดเก็บขอมูลภาพนิ่งดิจิทัล พรอมกับเครื่องมือสําหรับการ บริหารจัดการ การใหคําอธิบายภาพตามความสนใจของผูที่เปนเจาของ และมีคุณสมบัติของการเปน เครือขายสังคมของสมาชิกที่ชอบการสะสมหรือสื่อสารผานภาพนิ่ง เว็บไซตดังกลาวนี้จะมีความสามารถ ในการสรางการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนองคความรูผานภาพนิ่งที่เปนขอมูลหลัก  และยังมีเครื่องมือที่สรางใหเกิดการมีสวนรวม ระหวางเจาของขอมูล และผูเขาชม เชน ผูเขาชม สามารถแสดงความคิดเห็น หรือใหขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพนั้นๆ ได หรือสามารถใหความคิดเห็นบน ภาพ โดยเชื่อมโยงความคิดเห็น หรือคําอธิบายกับเฉพาะสวนของภาพนิ่งได เปนตน ในการสมัครสมาชิก ของเว็บไซตฟลิกเกอร นั้นมีเงื่อนไขวาผูสมัครจะตองเปนสมาชิก หรือสมัครสมาชิกของเว็บไซต Yahoo (http://www.yahoo.com) ดวย ซึ่งการสมัครเปนสมาชิกอีเมลของ Yahoo ไมมีคาใชจายในการสมัคร แตอยางใด
  • 10. รูปที่ ๘ ภาพแสดงหนาจอแรกของเว็บไซต http://www.flickr.com/ ที่มปุมสมัครสมาชิกอยูที่มุมบนดานขวา ี รูปที่ ๙ ภาพแสดงหนาจอแสดงคลังภาพของสมาชิกในเว็บไซต http://www.flickr.com/
  • 11. ๓.๓.๓ จัดเก็บวิดีโอดวยเว็บไซตที่ใหบริการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนวิดีโอ นอกจากการเก็บเอกสารจดหมายเหตุในรูปแบบของเรื่องราวและรูปภาพแลว สื่อวิดีโอดิจิทัลก็เปน สื่อที่ไดรับความนิยมในการนํามาประยุกตใชในการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ เนืองจากสื่อวิดีโอ มี ่ คุณสมบัติในการแสดงความตอเนื่องของขอมูลที่นําเสนอ อีกทั้งการถายวิดีโอในปจจุบันไมใชเรื่องที่ตอง ใชทักษะเฉพาะในการใชงานอุปกรณเหมือนในอดีต ซึ่งจะพบวาทุกคนสามารถใชมือถือในการถายวิดีโอ สั้นๆ ที่เรียกวาคลิปวิดีโอ และอีกหลายๆ คนใชกลองถายวิดีโอขนาดเล็ก ในการถายวิดีโอ ซึ่งจะไดวิดีโอ อยูในรูปของไฟลดิจิทัล พรอมที่จะถูกนําไปใชงานไดทันที และอีกหลายๆ คนที่มีงบประมาณไมมาก ก็ สามารถใชกลองถายวิดีโอที่ติดอยูกับคอมพิวเตอร หรือ Webcam ในการถายวิดีโอ ก็สามารถทําได เชนเดียวกัน ดังนั้น การผลิตสื่อวิดีโอสําหรับการจัดเก็บเรื่องราวความทรงจํา หรือการนํามาประยุกตใชใน การเก็บขอมูลจดหมายเหตุ จึงไมใชเรื่องที่ยากอีกตอไป ในสวนของเว็บไซตที่ใชสําหรับการจัดเก็บขอมูลวิดีโอ ที่ผูเขียนแนะนําก็คือ เว็บไซตยูทูป (Youtube, http://www.youtube.com/) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ ๑๐ โดยผูที่เปนสมาชิกสามารถ สมัครสมาชิกไดโดยใชระยะเวลาอันสั้น แลวจึงสามารถจัดเก็บและเผยแพรวิดีโอไดทันที ในการบันทึก วิดีโอเขาสูเว็บไซตยูทูปนั้น ควรที่จะตองใสคําอธิบายที่เหมาะสมกับวิดีโอเรื่องนั้นๆ พรอมกับการใสคํา สําคัญ ที่หลายๆ ที่อาจจะใชคําวา keyword และอีกหลายๆ ที่ที่อาจจะใชคําวา tag ซึ่งขอมูลตางๆ นี้จะ เปนประโยชนอยางยิ่งตอระบบในการนําไปใชในการสืบคน และจัดหาวิดีโอที่สัมพันธกันขึ้นมาแสดง ประกอบเปนขอมูลเพิ่มเติม รูปที่ ๑๐ ภาพแสดงหนาจอสมัครสมาชิกและหนาจอวิดีโอของสมาชิกในเว็บไซต http://www.youtube.com/
  • 12. ๓.๓.๔ จัดเก็บไฟลเอกสารดวยเว็บไซตที่ใหบริการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนไฟลเอกสาร สําหรับเอกสารจดหมายเหตุที่อยูในรูปแบบของไฟลเอกสารประเภท ไฟลขอความที่ถูกเก็บบันทึก โดยใชโปรแกรมประมวลผลขอความ เชน โปรแกรม Microsoft Word เอกสารที่อยูในรูปแบบไฟล PDF หรือเอกสารที่ใชเปนสื่อในการนําเสนอ เชน สื่อนําเสนอที่ถูกสรางจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint หรือขอมูลเอกสารประเภทอื่นๆ ที่ถูกสรางโดยโปรแกรมที่แตกตางกันออกไป ในระบบเครือขายอินเทอรเน็ต มีเว็บไซตที่ใหบริการในการจัดเก็บ และเผยแพรเอกสารตางๆ เหลานี้ อยูมากมาย เชน เว็บไซต Scribd (http://www.scribd.com/) ที่เปนชุมชนแหงการแบงปนงานเขียน หรือเอกสารตางๆ ที่เราสามารถใชในการจัดเก็บเอกสารที่อยูในรูปแบบ Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint, PDF, Open Office และไฟลเอกสารชนิด Text file (ดูรายละเอียด เพิ่มเติมไดที่ http://www.scribd.com/upload) อีกเว็บไซตหนึ่งที่ผูเขียนใชในการเก็บเอกสาร โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดเก็บ และเผยแพรไฟล นําเสนอ ที่ใชในการนําเสนอในวาระตางๆ สําหรับผูที่เขารวมฟงสัมมนา และผูอื่นที่สนใจ สามารถดูและ ดาวนโหลดไฟลเอกสารตางๆ นี้ไปใชในการอางอิงได เว็บไซตดังกลาวนี้คือ เว็บไซต SlideShare (http://www.slideshare.net/) ดังแสดงในรูปที่ ๑๑ รูปที่ ๑๑ ภาพหนาจอรายการไฟลนําเสนอ และการดูไฟลนําเสนอในเว็บไซต http://www.slideshare.net/
  • 13. ๓.๓.๕ สรางดัชนีสําหรับการเขาถึงขอมูล จากกระบวนการตางๆ ที่ผานมา ทําใหเกิดการบันทึกขอมูลเอกสารจดหมายเหตุรปแบบตางๆ ไวใน ู เว็บไซตที่แตกตางกัน ในขั้นตอนตอไปจะเปนกระบวนการในการสรางเครือขายของเอกสารจดหมายเหตุ สวนบุคคล โดยการสรางดัชนี ที่จะเปนผูนําทางไปสูการเขาถึงเอกสารประเภทตางๆ ซึ่งเทคนิคดังกลาวนี้ จะตองอาศัยเว็บไซตตัวกลาง ที่จะทําหนาที่เสมือนดัชนีเอกสารจดหมายเหตุ หรือเสมือนกับบอรดในการ ประชาสัมพันธเอกสารจดหมายเหตุสวนบุคคล เพื่อการประชาสัมพันธวาในขณะนั้นเกิดอะไรขึ้น หรือมี อะไรใหม มีอะไรที่นาสนใจ เว็บไซตที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะทําหนาที่เปนตัวกลางดังกลาวนี้ ก็คือเว็บไซตที่มีลักษณะเปน เครือขายทางสังคม ทีมีชื่อวา ทวิตเตอร (Twitter, http://www.twitter.com/) ที่จะใชในการสรางดัชนี และการเชื่อมโยงไปยังขอมูลแตละสวนในแตละเว็บไซตจดหมายเหตุ ดวยขอความสั้นๆ เพื่อตอบคําถาม วา “What are you doing?” และในขอความสั้นๆ นั้น สามารถทําการสรางการเชือมโยงระหวางเว็บไซต ่ ได ดังแสดงในรูปที่ ๑๒ รูปที่ ๑๒ แผนภาพแสดงการเชื่อมโยงระหวางเว็บไซตทวิตเตอรกับเอกสารจดหมายเหตุประเภทตางๆ
  • 14. ๔. บทสรุป ในบทความนี้ไดนําเสนอแนวทางในการจัดทําจดหมายเหตุดิจิทัลสวนบุคคล โดยใชเครื่องมืองายๆ เชน กลองดิจิทัลหรือกลองวิดีโอ พรอมกับเครื่องคอมพิวเตอรที่ตอเชื่อมเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ต ใน การแปลงขอมูลที่จับตองได และขอมูลที่จับตองไมได ใหอยูในรูปของขอมูลดิจิทัล และไดอธิบายถึง วิธีการในการบริหารจัดการขอมูล ที่จะตองเขาใจถึงความสําคัญของการใหคําอธิบายประกอบขอมูลที่ เหมาะสม รวมถึงการนําขอมูลเขาสูระบบเครือขายอินเทอรเน็ต และสรางเครือขายสังคมของตนเองเพื่อ เชื่อมโยงขอมูลในรูปแบบตางๆ เขาดวยกัน เพื่อการเผยแพรขอมูลไปสูสาธารณะอยางมีประสิทธิภาพ ทํา ใหเกิดกระบวนการในการแลกเปลี่ยนและเรียนรูรวมกัน ระหวางเจาของขอมูล และผูเขาชม อยางไรก็ตาม สิ่งที่สําคัญที่สุดนอกเหนือจากความรูความเขาใจในเทคโนโลยี หรือวิธีการตางๆ ที่ เกี่ยวของ ก็คือ “ขอมูล” ซึ่งผูที่จัดทําจดหมายเหตุดิจทัลของตนเอง ควรจะตองเลือกสรรขอมูลที่มี ิ ความสําคัญ โดยคํานึงถึงประโยชนของการจัดเก็บขอมูลนั้นๆ วาจะกอใหเกิดประโยชนตอตัวเองและ ผูอื่นไดอยางไร รวมไปถึงกระบวนการในการจัดกลุมขอมูล การคัดแยกขอมูล เพื่อใหเกิดการจัดเก็บที่มี ประสิทธิภาพ การใหคําอธิบายของขอมูลแตละชิ้นที่จะเปนประโยชนตอการเขาถึงขอมูล การสืบคน และ การสรางความเชื่อมโยงระหวางขอมูล ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ ไมใชกระบวนการทางเทคโนโลยี แตเปน กระบวนการในการทําความเขาใจ และวางแผนในการจัดเก็บขอมูลที่มีอยูมากกวา ที่สําคัญการที่ผูเปนเจาของขอมูลเขาใจ และตระหนักรูถึงความสําคัญของการแลกเปลี่ยน และเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือ และไดเคยทดลองเปนผูใชงานเครื่องมือตางๆ ในการขุดคุยหาความรูใน ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ผูเขียนเชื่อเปนอยางยิ่งวา ทานจะสามารถประสบความสําเร็จในการใช เทคโนโลยีเพื่อสรางคลังจดหมายเหตุสวนบุคคลของทานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๕. บรรณานุกรม ๑. กรมศิลปากร. “คูมือการอนุรักษเอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรักษเอกสารจดหมายเหตุโดยการ แปลงรูปแบบขอมูลเขาสูระบบดิจิตอล”, ๒๕๕๑ ๒. มร. เดอะ ลา ลูแบร. “จดหมายเหตุ ลา ลูแบร ราชอาณาจักรสยาม” แปลโดยสันต ท. โกมลบุตร, นนทบุรี: ศรีปญญา, ๒๕๔๘ ๓. พุทธทาส อินทปญโญ. “ชวยเขาหนอย...อยาเพอคิดตาย หัวใจนิพพาน”, กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๙ ๔. Bradley, Phil. “How to use web 2.0 in your library/Phil Bradley”, London : Facet, ๒๐๐๗ ๕. Jones, Bradley. “Web 2.0 heroes: interviews with 21 Web 2.0 influencers /Bradley L. Jones [interviewer]”, Indianapolis, IN : Wiley : Wiley , c๒๐๐๘ ๖. Shuen, Amy . “Web 2.0 : a strategy guide /Amy Shuen”, Beijing ; Cambridge : O'Reilly, c๒๐๐๘ ๗. Smith, Gene. “Tagging : people-powered metadata for the social web /Gene Smith”,Berkeley, CA. : New Riders, c๒๐๐๘ ๘. http://th.wikipedia.org/wiki/จดหมายเหตุ ๙. http://en.wikipedia.org/wiki/Digital_preservation