SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การยกระดับ
คุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็ม
ตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถ
ในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่าง
หลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความ
เข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการ
ทาให้การเรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน
ให้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษา
ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ
เรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผล
ประกอบการอธิบาย
• โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
• โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ
เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ
เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
ข้อ 1
“ยุคปฏิรูปการศึกษามีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุก
เวลา”
เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีที่มี
บทบาทสาคัญต่อการศึกษาประกอบด้วย
เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่
ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มี
ระบบมัลติมีเดีย (Multimedia) และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต้น
ระบบเหล่านี้เป็นระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสารและการค้นหาข้อมูลข่าวสาร
เพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในการจัดการศึกษาสมัยใหม่
จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ การติดตามและ
ประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมเข้ามามีบทบาทที่สาคัญ
ในเรื่องนี้
เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยในการสื่อสารระหว่างบุคคล ทางด้านการศึกษา
จาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เขียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ซึ่งจะช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และการดาเนินงานในหลายด้าน
โดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร และการดาเนินงานในหลายด้านโดยอาศัย
เทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอนเฟอ
เรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ข้อ 2
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้(Learning environment) นาทฤษฎีการ
เรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับสื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ชนิด
ต่างๆ ที่เตรียมไว้สาหรับให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอย
สนับสนุนผู้เรียน ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่สนับสนุนให้
ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ
การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม
ความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียน จะถูกส่งไปยัง
ผู้เรียนผ่านเว็บเบราว์เซอร์(Web Browser) โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อน
ร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน
ได้ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้
ได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere
and anytime)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มีลักษณะ
คล้ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตัล โดยแสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์
เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บ
ข้อมูลได้จานวนมากทั้งในรูปแบบของตัวอักษร ลักษณะภาพ ดิจิตอล วิดีโอ
เสียงดนตรี และอื่นๆ
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้
ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุด
อัตโนมัติห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน เทคโนโลยีของห้องห้องสมุด
อิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้
1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บ
สารสนเทศและสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ทรัยพากรสารสนเทศ
2. ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่งสารสนเทศ
อื่น ๆทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆได้ทั่วโลก
3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ต้องการโดยไม่
ต้องมายังห้องสมุด
4. แผนการจัดการเรียนรู้เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ
ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญโดยใช้
เทคโนโลยีเข้ามาสร้างเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ข้อ 3
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี
คอมพิวเตอร์3เครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
ตอบ จากคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียนมีอยู่อย่างจากัด จึงไม่สามารถใช้สื่อแหล่งเรียนรู้ที่
ร่วมกับอินเตอร์เน็ตให้แก่ผู้เรียนได้ ดังนั้นผู้สอนควรเตรียม วีดีทัศน์ หรือ
power point ซึ่งวีดีทัศน์ที่จัดทาขึ้นมาควรมีความน่าสนใจ มีภาพ เสียง
กราฟฟิกประกอบ ไม่ใช่เน้นแต่เนื้อหาและบททดสอบ และโทรทัศน์ที่สามารถ
ใช้งานได้ ก็สามารถนามาเป็นสื่อการสอนโดยเปิดช่องที่เกี่ยวกับการศึกษา และ
สร้างสรรค์แนวคิดของผู้เรียน โดยมีครูคอยอธิบายและให้คาแนะนาอยู่เสมอ
นอกจากนี้ควรจัดให้มีกิจกรรมหรือเกมที่สอดแทรกเนื้อหาที่จะสอนเข้าไปด้วย
เพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายในสื่อ
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้าน
สื่อ เทคโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง แต่มีครูไม่
เพียงพอ เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
ตอบ โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง มีความพร้อมด้านสื่อการเรียนรู้ค่อนข้างสูง แต่
ขาดผู้ที่จานาสื่อการเรียนรู้นามาสู่ผู้เรียน ดังนั้นควรจัดโครงการที่จะนาครูไปสู้
โรงเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่ความไม่สงบ และจากครูที่มีไม่เพียงพอตารางเรียนใน
แต่ละสัปดาห์ ควรจัดให้มีคาบที่นักเรียนสามารถหาความรู้จากสื่อแหล่งเรียนรู้ที่
จัดให้ แต่จะสามารถใช้อินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้เท่านั้น
นอกจากนี้ครูยังสามารถเลือกใช้สื่อแหล่งเรียนรู้ได้อย่างมากมาย เช่น การเรียนรู้
ออนไลน์(E-learning) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-book) ห้องสมุด
อิเล็กทรอนิกส์(E-library) วีดีทัศน์(Power point) เป็นต้น

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Fern's Supakyada
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
Zhao Er
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Pypaly Pypid
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Thamonwan Kottapan
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Prakaidao Suebwong
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
ukbass13
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
janepi49
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Pari Za
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 new
boomakung
 

What's hot (16)

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 6 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
Chapter 06
Chapter 06Chapter 06
Chapter 06
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 new
 

Viewers also liked

Wireless Platforms
Wireless PlatformsWireless Platforms
Wireless Platforms
Manas Rai
 
Trustfusion Presentation Ru&En
Trustfusion Presentation Ru&EnTrustfusion Presentation Ru&En
Trustfusion Presentation Ru&En
Daniil Pavlenko
 
Prezi electricidad
Prezi electricidadPrezi electricidad
Prezi electricidad
nelsonuriel
 
Trustfusion Presentation
Trustfusion PresentationTrustfusion Presentation
Trustfusion Presentation
Daniil Pavlenko
 
Wireless Personal Area Networks – Bluetooth, UWB and Sensor Networks
Wireless Personal Area  Networks – Bluetooth, UWB  and Sensor Networks Wireless Personal Area  Networks – Bluetooth, UWB  and Sensor Networks
Wireless Personal Area Networks – Bluetooth, UWB and Sensor Networks
Manas Rai
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
A'Aea Eykol
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
A'Aea Eykol
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
A'Aea Eykol
 

Viewers also liked (17)

Wireless Platforms
Wireless PlatformsWireless Platforms
Wireless Platforms
 
Trustfusion Presentation Ru&En
Trustfusion Presentation Ru&EnTrustfusion Presentation Ru&En
Trustfusion Presentation Ru&En
 
Ensalada rusa
Ensalada rusaEnsalada rusa
Ensalada rusa
 
Razvoj procesora
Razvoj procesoraRazvoj procesora
Razvoj procesora
 
Network administration and support
Network administration and supportNetwork administration and support
Network administration and support
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Prezi electricidad
Prezi electricidadPrezi electricidad
Prezi electricidad
 
Trustfusion Presentation
Trustfusion PresentationTrustfusion Presentation
Trustfusion Presentation
 
Network Interface Card (NIC) AND NETWORKING DEVICES
Network Interface Card (NIC) AND NETWORKING DEVICESNetwork Interface Card (NIC) AND NETWORKING DEVICES
Network Interface Card (NIC) AND NETWORKING DEVICES
 
Wireless Personal Area Networks – Bluetooth, UWB and Sensor Networks
Wireless Personal Area  Networks – Bluetooth, UWB  and Sensor Networks Wireless Personal Area  Networks – Bluetooth, UWB  and Sensor Networks
Wireless Personal Area Networks – Bluetooth, UWB and Sensor Networks
 
08 segmentation
08 segmentation08 segmentation
08 segmentation
 
OBJECT ORIENTED ROGRAMMING With Question And Answer Full
OBJECT ORIENTED ROGRAMMING With Question And Answer  FullOBJECT ORIENTED ROGRAMMING With Question And Answer  Full
OBJECT ORIENTED ROGRAMMING With Question And Answer Full
 
General knowledge hindi 500 QUESTION ANS प्रतियोगी परीक्षाओ के लिये ५००० प्रश...
General knowledge hindi 500 QUESTION ANS प्रतियोगी परीक्षाओ के लिये ५००० प्रश...General knowledge hindi 500 QUESTION ANS प्रतियोगी परीक्षाओ के लिये ५००० प्रश...
General knowledge hindi 500 QUESTION ANS प्रतियोगी परीक्षाओ के लिये ५००० प्रश...
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 

Similar to งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)

เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
Chanaaun Ying
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6
tross999
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
pompompam
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
chatruedi
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Teerasak Nantasan
 

Similar to งานนำเสนอบทท 6จ_า (1) (17)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
บทท 6..
บทท  6..บทท  6..
บทท 6..
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
 
Powerpoint6
Powerpoint6Powerpoint6
Powerpoint6
 
Innovation chapter 6
Innovation chapter 6Innovation chapter 6
Innovation chapter 6
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)

  • 2. ภายหลังที่รัฐบาลได้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การยกระดับ คุณภาพประชากรของประเทศให้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เต็ม ตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถ ในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยี สารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่าง หลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความ เข้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการ ทาให้การเรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์
  • 3. 1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษา ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ เรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผล ประกอบการอธิบาย • โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ • โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
  • 4. ข้อ 1 “ยุคปฏิรูปการศึกษามีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได้ทุกที่ทุก เวลา” เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะ เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีที่มี บทบาทสาคัญต่อการศึกษาประกอบด้วย เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มี ระบบมัลติมีเดีย (Multimedia) และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต้น ระบบเหล่านี้เป็นระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสารและการค้นหาข้อมูลข่าวสาร เพื่อการเรียนรู้
  • 5. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในการจัดการศึกษาสมัยใหม่ จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ การติดตามและ ประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมเข้ามามีบทบาทที่สาคัญ ในเรื่องนี้ เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยในการสื่อสารระหว่างบุคคล ทางด้านการศึกษา จาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เขียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ซึ่งจะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และการดาเนินงานในหลายด้าน โดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร และการดาเนินงานในหลายด้านโดยอาศัย เทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอนเฟอ เรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
  • 6. ข้อ 2 สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้(Learning environment) นาทฤษฎีการ เรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับสื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ชนิด ต่างๆ ที่เตรียมไว้สาหรับให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอย สนับสนุนผู้เรียน ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่สนับสนุนให้ ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม ความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียน จะถูกส่งไปยัง ผู้เรียนผ่านเว็บเบราว์เซอร์(Web Browser) โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อน ร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน ได้ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ ได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime)
  • 7. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตัล โดยแสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บ ข้อมูลได้จานวนมากทั้งในรูปแบบของตัวอักษร ลักษณะภาพ ดิจิตอล วิดีโอ เสียงดนตรี และอื่นๆ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทางานของระบบห้องสมุด อัตโนมัติห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน เทคโนโลยีของห้องห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้
  • 8. 1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมและจัดเก็บ สารสนเทศและสะดวกในการบริการส่งสารสนเทศแก่ผู้ใช้ทรัยพากรสารสนเทศ 2. ระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดกับผู้ใช้และแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อื่น ๆได้ทั่วโลก 3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ต้องการโดยไม่ ต้องมายังห้องสมุด 4. แผนการจัดการเรียนรู้เป็นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดหลักการบูรณาการที่เน้นผู้เป็นสาคัญโดยใช้ เทคโนโลยีเข้ามาสร้างเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • 9. ข้อ 3 โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี คอมพิวเตอร์3เครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ ตอบ จากคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียนมีอยู่อย่างจากัด จึงไม่สามารถใช้สื่อแหล่งเรียนรู้ที่ ร่วมกับอินเตอร์เน็ตให้แก่ผู้เรียนได้ ดังนั้นผู้สอนควรเตรียม วีดีทัศน์ หรือ power point ซึ่งวีดีทัศน์ที่จัดทาขึ้นมาควรมีความน่าสนใจ มีภาพ เสียง กราฟฟิกประกอบ ไม่ใช่เน้นแต่เนื้อหาและบททดสอบ และโทรทัศน์ที่สามารถ ใช้งานได้ ก็สามารถนามาเป็นสื่อการสอนโดยเปิดช่องที่เกี่ยวกับการศึกษา และ สร้างสรรค์แนวคิดของผู้เรียน โดยมีครูคอยอธิบายและให้คาแนะนาอยู่เสมอ นอกจากนี้ควรจัดให้มีกิจกรรมหรือเกมที่สอดแทรกเนื้อหาที่จะสอนเข้าไปด้วย เพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายในสื่อ
  • 10. โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร้อมทางด้าน สื่อ เทคโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง แต่มีครูไม่ เพียงพอ เนื่องจากย้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ ตอบ โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง มีความพร้อมด้านสื่อการเรียนรู้ค่อนข้างสูง แต่ ขาดผู้ที่จานาสื่อการเรียนรู้นามาสู่ผู้เรียน ดังนั้นควรจัดโครงการที่จะนาครูไปสู้ โรงเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่ความไม่สงบ และจากครูที่มีไม่เพียงพอตารางเรียนใน แต่ละสัปดาห์ ควรจัดให้มีคาบที่นักเรียนสามารถหาความรู้จากสื่อแหล่งเรียนรู้ที่ จัดให้ แต่จะสามารถใช้อินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้เท่านั้น นอกจากนี้ครูยังสามารถเลือกใช้สื่อแหล่งเรียนรู้ได้อย่างมากมาย เช่น การเรียนรู้ ออนไลน์(E-learning) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-book) ห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์(E-library) วีดีทัศน์(Power point) เป็นต้น