SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
Download to read offline
บทที่ 1
การสร้ างงานโปรแกรมด้ วย
   ภาษาคอมพิวเตอร์
1. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์

              ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็ นสัญลักษณ์ ท่ผ้ พัฒนาภาษา
                                                                          ี ู
  กาหนดรหัสคาสั่งขึนมา ใช้ ควบคุมการทางานอุปกรณ์ ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการ
                      ้
  ภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่ มจากรหัสคาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนันพัฒนารูปแบบ
                                                                        ้
  เป็ นข้ อความภาษาอังกฤษในยุคปั จจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์ มีมากมายหลายภาษาให้
  เลือกใช้ งาน มีจุดเด่ นด้ านประสิทธิภาพคาสั่งแตกต่ างกันไป ดังนันผู้สร้ างงานโปรแกรม
                                                                  ้
  ต้ องศึกษาว่ าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามความต้ องการ เพื่อ
  เลือกไปใช้ สร้ างโปรแกรมประยุกต์ งานตามที่ได้ กาหนดจุดประสงค์ ไว้
1.1 พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
          ช่ วงที่ 1 คอมพิวเตอร์ จัดเป็ นเครื่องคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์
  จึงทางานลักษณะวงจรเปิ ด-ปิ ด แทนค่ าด้ วย 0 กับ 1 ผู้สร้ างภาษาจึง
  ออกแบบรหัสคาสั่งเป็ นชุดเลขฐานสอง เรียกว่ าภาษาเครื่อง (Machine
  Language) ผู้ท่ ีจะเขียนรหัสคาสั่งควบคุมระบบได้ จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม
  และใช้ ในห้ องปฏิบัติการทดลองดาเนินงาน
1.1 พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
           ช่ วงที่ 2 จากช่ วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็ นชุดเลขฐานสองมีความ
  ยุ่งยากในการจาชุดรหัสของรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน จึงมีผ้ ูพฒนารหัส
                                                                 ั
  คาสั่งเป็ นอักษรภาษาอังกฤษร่ วมกับเลขฐานอื่น เช่ น เลขฐานสิบหก
  เพื่อให้ เขียนคาสั่งควบคุมงานง่ ายขึน ตังชื่อภาษาว่ า ภาษาแอสเซมบลีหรือ
                                      ้ ้
  ภาษาสัญลักษณ์ (Assembly/Symbolic Language) พร้ อมกันนีต้องพัฒนา
                                                             ้
  โปรแกรมแปลภาษาขึนมาด้ วย (Translator Program) คือโปรแกรมแอสเซม
                         ้
  เบลอร์ (Assembler) ใช้ แปลรหัสคาสั่งกลับมาเป็ นเลขฐานสอง เพื่อให้
  ระบบสามารถประมวลผลได้
1.1 พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
            ช่ วงที่ 3      เป็ นช่ วงที่บริ ษัทหลายแห่ งสร้ างภาษาคอมพิวเตอร์ หลากหลาย
  ภาษา เน้ นให้ ใช้ งานง่ ายขึน โดยรหัสคาสั่งเป็ นข้ อความใกล้ เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ ใน
                               ้
  การสื่อสารกันอยู่แล้ ว จัดให้ เป็ นกลุ่มภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่ น ภาษา
  เบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่ วนของโปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะคือ อินเทอร์
  พรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
            ช่ วงที่ 4 เน้ นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ ให้ นาไปใช้ ควบคุมการ
  ทางานระบบคอมพิวเตอร์ ท่ใช้ งานร่ วมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการ
                                 ี
  เขียนรหัสคาสั่งเป็ นงานโปรแกรมเชิงวัตถุ
1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง
            ภาษาระดับสูงที่ได้ รับความนิยมใช้ งานมีดังนี ้
            1.2.1 ภาษาเบสิก (BASIC) เป็ นภาษาในเริ่มแรกที่พัฒนาขึนมาเพื่อใช้ ใน
                                                                     ้
 ห้ องปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึ กทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของ
 คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กคือ “ไมโครคอมพิวเตอร์ ”
 ข้ อดี คือ รูปแบบคาสั่งใช้ งานสัน มีจานวนคาสั่งไม่ มาก กฎเกณฑ์ การใช้ คาสั่งน้ อย ใช้
                                    ้
               ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สัน เหมาะสมที่จะใช้ ในการเรี ยนการสอน เพื่อฝึ กทักษะ
                                      ้
               การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบ
 ข้ อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย เป็ นภาษาที่ไม่ มีรูปแบบโครงสร้ าง จึงไม่
               เหมาะสมในการนาไปใช้ สร้ างโปรแกรมประยุกต์ งานในองค์ กร
1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง
             1.2.2 ภาษาโคบอล (COBOL) เป็ นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิง
   โครงสร้ าง ช่ วงต้ นของภาษาได้ รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อควบคุมการทางาน
   คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่ อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ ใช้ กบ        ั
   ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้
   ข้ อดี    คือ ให้ ผ้ ูเรียนได้ ฝึกทักษะเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
                  ก่ อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่งควบคุมคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ในการทางานจริง
   ข้ อจากัด คือ โครงสร้ างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัส
                  คาสั่งมีความยาว จดจาคาสั่งได้ ยาก ไม่ เหมาะกับผู้เริ่ มฝึ กทักษะสร้ างงาน
                  โปรแกรม
1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง
           1.2.3 ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้ าง ได้ รับการ
  ออกแบบมาเพื่อใช้ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
  ข้ อดี    คือ แต่ ละส่ วนของโครงสร้ างกาหนดหน้ าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงาน
                ชัดเจนคาสั่งสัน สื่อความหมายดี จึงจดจาได้ ง่าย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมี
                              ้
                เลือกใช้ งาน หลากหลายรูปแบบ ใช้ ระยะเวลาสันในการเรียนรู้ เหมาะสม
                                                              ้
                นาไปใช้ ในกลักสูตรการเรี ยนการสอน
  ข้ อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่ สามารถใช้ ควบคุมการทางานในลักษณะระบบงาน
                แบบฐานข้ อมูลหรื อแบบเครือข่ ายได้ แต่ อาจใช้ เป็ นพืนฐานความรู้ สาหรั บ
                                                                     ้
                ภาษาอื่นได้ เช่ น ภาษาเดลไฟ ที่คาสั่งคล้ ายภาษาปาสคาล
1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง
             1.2.4 ภาษาซี (C) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้ าง เน้ นให้ คาสั่งมี
   ประสิทธิภาพการคานวณที่รวดเร็ ว เข้ าถึงอุปกรณ์ ในระบบร่ วมกับภาษาแอสเซมบลีได้
   ใช้ ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
   ข้ อดี คือ ภาษาได้ รับการพัฒนามาอย่ างต่ อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมี
                 มาตรฐานร่ วมกัน ถึงแม้ จะเป็ นภาษาซีต่างบริษัทก็ใช้ งานในส่ วนคาสั่ง
                 พืนฐานร่ วมกันได้ ใช้ ระยะเวลาสันในการเรี ยนรู้ จึงเหมาะสมนาไปใช้ ใน
                   ้                              ้
                 หลักสูตรการเรียนการสอนและนาไปสร้ างงานโปรแกรมในระบบงาน
                 ขนาดใหญ่ ได้
   ข้ อจากัด คือ อยู่ในส่ วนของรุ่ นภาษาซีมากกว่ า เช่ น เทอร์ โบซีจะไม่ สามารถนาไปสร้ าง
                 ระบบงานแบบฐานข้ อมูลได้ แต่ หากต้ องการนาไปสร้ างแบบโปรแกรม
                 แบบฐานข้ อมูลต้ องใช้ วิชวลซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็ นต้ น
1.3 ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์
             การเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานระบบด้ วยภาษาคอมพิวเตอร์ ใดๆก็ตาม ที่มิใช่
                             ่
  ภาษาเครื่อง ระบบจะไม่สามารถประมวลผลได้ ในทันที เพราะการทางานของระบบเป็ นรหัส
  เลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ดังนันผู้สร้ างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้ องสร้ างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสให้
                               ้
  เป็ นรหัสเลขฐานสองด้ วย โปรแกรมแปลรหัสคาสังภาษาคอมพิวเตอร์ มีการทางาน 3 ลักษณะ
                                              ่
  คือ
             1.3.1 โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสเซมเบลอร์ (Assembler)
  ใช้ แปลรหัสคาสังเฉพาะภาษาแอสเซมบลีให้ เป็ นเลขฐานสอง
                 ่
1.3 ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์
             1.3.2 โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์                 (Compiler) ลักษณะการแปล
  คือ แปลคาสังทังโครงสร้ างโปรแกรมแล้ วจึงแจ้ งข้ อผิดพลาดทังหมดเพื่อแก้ ไข จากนันต้ อง
               ่ ้                                           ้                        ้
  ประมวลผลใหม่ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะสร้ างแฟ้ มโปรแกรมใหม่อตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่อง
                                                                  ั
  ภายหลังเมื่อเรียกใช้ โปรแกรมนี ้ เครื่องจะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้ างไว้ นน จึงไม่ต้องเริ่มแปล
                                                                            ั้
  รหัสใหม่
  ข้ อดี คือ ทางานได้ รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสใหม่ทกครัง ุ ้
  ข้ อจากัด คือ ต้ องเขียนโปรแกรมให้ ครบทุกส่วนของโครงสร้ างภาษาคอมพิวเตอร์ จึงจะสามารถ
                คอมไพล์และประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
1.3 ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์
            1.3.3 โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอร์ พรี ตเทอร์             (Interpreter)
  ลักษณะการแปลคือ แปลรหัสทีละคาสัง เมื่อพบข้ อผิดพลาดจะหยุดทางาน แล้ วแจ้ งข้ อผิดพลาด
                                         ่
  ให้ ทราบ เพื่อแก้ ไข จากนันประมวลผลใหม่ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้ างแฟม
                            ้                                                        ้
  โปรแกรมใหม่เพื่อเก็บรหัสคาสัง ่
  ข้ อดี คือ สังให้ ประมวลผลรหัสคาสังเพื่อดูผลการทางานได้ ทนทีที่ต้องการ โดยไม่ต้องเขียน
                    ่                      ่                     ั
                 โปรแกรมถึงบรรทัดสุดท้ าย
  ข้ อจากัด คือ หารโปรแกรมมีบรรทัดคาสังจานวนมากจะประมวลผลช้ า เพราะต้ องเริ่มแปลรหัส
                                             ่
                 คาสังใหม่ที่บรรทัดคาสังแรกทุกครังที่สงให้ ประมวลผล
                       ่               ่         ้ ั่
1.4 เลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์
               การเลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ มีแนวทางพิจารณาเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี ้
 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสังงานของแต่ละภาษา เปรี ยบเทียบกับลักษณะงาน
                                           ่
    เช่น สร้ างโปรแกรมระบบงานคานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจเลือกใช้ ภาษาซี ภาษา
    ปาสคาล
 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้ องประมวลผลบนเครื อข่ายอาจเลือกใช้
    ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคาสังควบคุมการทางานได้
                                                ่
 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่ องคอมพิวเตอร์ และรุ่นของระบบปฏิบติการทีใช้ ควบคุม เพื่อเลือก
                                                              ั      ่
    ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้ งานร่วมกันกับระบบได้
 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยูแล้ ว เพื่อไม่ต้องเสียเวลา
                                                                       ่
    เริ่ มต้ นการศึกษาเรียนรู้ภาษาใหม่ หรือหากเป็ นภาษาใหม่ ควรเป็ นภาษาทีมีลกษณะใกล้ เคียงกับ
                                                                          ่ ั
    ความรู้เดิม
1.4 เลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์
   5. ควรเป็ นภาษาที่มีลกษณะเป็ นโครงสร้ าง มีความยืดหยุนสูง เอื ้ออานวยสะดวกในการ
                        ั                               ่
      ปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต
   6. หากระบบงานต้ องการความปลอดภัยเรื่ องการเข้ าถึงข้ อมูล ต้ องคัดเลือกภาษาคอมพิวเตอร์
      ที่มีประสิทธิภาพในเรื่องนี ้ด้ วย
   7. พิจารณางบประมาณ ใช้ จดหาภาษาคอมพิวเตอร์ ที่มีลิขสิทธิ์ถกต้ องมาใช้ งาน เพื่อปองกัน
                                   ั                              ู                      ้
      ปั ญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปั ญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม
      มากขึ ้นในอนาคต
   8. เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ได้ รับความนิยมใช้ งานทัวไปเพื่อศึกษารวบรวมข้ อมูล และปองกัน
                                                      ่                                    ้
      ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ ้นได้ ในอนาคต และมีความเชื่อมันว่าจะมีผ้ เู ชี่ยวชาญให้ คาปรึกษาหาก
                                                         ่
      เกิดปั ญหาได้
2. การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
               การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็ นกระบวนการพัฒนา
  ระบบงานเดิม ให้ เป็ นระบบการทางานแบบใหม่ มีจดประสงค์ให้ ระบบการทางานมีประสิทธิภาพ
                                                   ุ
  มากขึ ้น สาหรับการพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่อง
  คอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้ งานแล้ วยังต้ องจัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ ในการดาเนินงานอีก
  ด้ วย
               ขันตอนการสร้ างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ ตามความเหมาะสม ใน
                 ้
  ที่นี ้มีแนวทางดาเนินงาน ดังต่อไปนี ้
2.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา
             เริ่มต้ นด้ วยการวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาเป็ นระบบงานใหม่ อาจวิเคราะห์
  งานจากผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์สวนทีเกี่ยวข้ องต่อไป เช่น สมการที่ใช้
                                                     ่
  คานวณ การนาเข้ าข้ อมูล ที่ใช้ ประมวลผล
             กรณีเป็ นระบบงานใหญ่ ความซับซ้ อนของงานย่อมมากขึ ้น อาจเริ่มจากศึกษาสภาพ
  ปั ญหา โดยรวบรวมข้ อมูลปั ญหาและ ความต้องการ ต่างๆ จากผู้ที่เกี่ยวข้ อง เช่น ผู้บริหาร
  ผู้ปฏิบติงาน เพื่อสรุปและศึกษา ความเป็ นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานใหม่
         ั
2.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา
                 การกาหนดความต้ องการ (Requirements Specification) เป็ นความ
  ต้ องการประสิทธิภาพการทางานจากระบบงานใหม่ รวบรวมข้ อมูลความต้ องการโดยใช้
  เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้ อสรุปร่วมกันที่ชดเจน
                                                                                       ั
  ระหว่างผู้พฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกาหนดความต้ องการนันมีแนวทางดาเนินงาน ดังนี ้
               ั                                               ้
  1. ประสานงานรวบรวมข้ อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้ องกับระบบ เพื่อประมวลความต้ องการทังหมด ้
  2. จัดทาข้ อสรุปความต้ องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง เพื่อปองกันข้ อ
                                                                                   ้
      ขัดแย้ งที่อาจเกิดขึ ้นในขันตอนรับมอบระบบงาน
                                 ้
  3. การให้ คาจากัดความต่างๆ ในเอกสาร ต้ องมีความชัดเจน ไม่กากวม
2.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา
               การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวข้ องกับ
  ระบบงานที่เป็ นปั จจัยเอื ้อต่อการทางาน หรืออุปสรรคในการทางานมีแนวทางศึกษาดังนี ้
  1. ศึกษาความเป็ นไปได้ ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ
     คอมพิวเตอร์ ที่มีอยูเ่ ดิมต้ องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบ้ าง
  2. ศึกษาความเป็ นไปได้ เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้ นทุน
     ค่าใช้ จายในการดาเนินงานระบบงานใหม่ หรือด้ านงบประมาณที่ได้ รับการจัดสรร
             ่
  3. ศึกษาความเป็ นไปได้ ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะ
     เดิมของผู้ใช้ ระบบงานใหม่ การยอมรับระบบใหม่ที่ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน
2.2 ขั้นการวางแผนและออกแบบ
               ขันตอนการวางแผนวิเคราะห์ลาดับการทางานมีหลายวิธีให้ เลือกใช้ เช่น วิธี
                 ้
  อัลกอริทม (Algorithm) วิธีซโดโคด (Pseudocode) วิธีผงงาน (Flowchart) สาหรับขันตอน
           ึ                    ู                        ั                             ้
  การออกแบบระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบ
  รูปแบบการนาเข้ าข้ อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี ้
  1. จานวนและประเภทเนือหาของข้ อมูล (Content) ต้ องมีเพียงพอ ครบถ้ วนสมบูรณ์
                             ้
     นาเสนอเฉพาะข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกันและแยกเป็ นระบบงานย่อย
  2. รู ปแบบ (Form) การนาเสนอข้ อมูลต้ องอยูในรูปแบบที่ผ้ ใช้ ระบบเข้ าใจง่าย เช่น การ
                                              ่            ู
     นาเสนอข้ อมูลสรุปด้ วยกราฟดีกว่าการนาเสนอข้ อมูลสรุปในรูปแบบตาราง
  3. รู ปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็ นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ
     หรือเครื่องพิมพ์ เพราะการกาหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกต่างกัน
2.3 ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน
            เป็ นขันตอนเขียนคาสังควบคุมงาน ด้ วยภาษาคอมพิวเตอร์ ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่
                   ้              ่
   กาหนดไว้ ต้ องลาดับคาสังตามขันตอนที่วิเคราะห์ไว้ สาหรับขันตอนการเขียนคาสังงาน มี
                          ่     ้                           ้               ่
   แนวทางดาเนินงานดังนี ้

   1. จัดทีมงานในองค์ กรวิเคราะห์ และพัฒนาระบบงานเอง
            ข้ อดี คือ ปรับแก้ ไขโปรแกรมได้ ตามต้ องการ ได้ รับความร่วมมือจากคนในองค์กรใน
                         ระดับดี เพราะเป็ นกลุมบุคคลในองค์การเดียวกัน
                                              ่
            ข้ อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็ นการทางานเฉพาะกิจ จะเกิด
                         ความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานล่าช้ า หรืองานไม่เสร็จสิ ้นตามกาหนด
2.3 ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน
   2. จัดซือโปรแกรมสาเร็ จรู ป
           ้
              ข้ อดี คือ มีโปรแกรมที่นามาใช้ กบงานได้ ทนที งานขององค์กรไม่หยุดชะงัก และมี
                                                  ั         ั
                           บริการอบรมการใช้ โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้ งานง่าย
              ข้ อเสีย คือ โปรแกรมสาเร็จรูปมีข้อจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความต้ องการ
                           ผู้ใช้ ระบบได้ ครอบคลุมทุกด้ าน และผู้ใช้ ไม่สามารถแก้ ไขข้ อจากัดต่างๆ ของ
                           โปรแกรมได้ ด้วยตนเอง
   3. จัดจ้ าบริ ษัทพัฒนาระบบ
              ข้ อดี คือ พัฒนาระบบงานได้ รวดเร็วเพราะมีทีมงานที่มีความชานาญงาน ระบบงาน
                           ตรงตามความต้ องการของผู้ใช้ ระบบ
              ข้ อเสีย คือ ค่าจ้ างการพัฒนามีราคาสูง เพราะต้ องวิเคราะห์ระบบงานใหม่ และรวมราคา
                           การบารุงรักษาโปรแกรมในอนาคตไว้ แล้ ว
2.4 ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม

                 ข้ อผิดพลาดที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ
  1. ข้ อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ คาสังผิดรูปแบบไวยากรณ์ทภาษากาหนดไว้ (Syntax Errors)
                                        ่                  ี่
  2. ข้ อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Errors)
                 มีแนวทางจัดฝึ กอบรมการใช้ โปรแกรม ดังนี ้
  1. ฝึ กอบรมโดยวิทยากร ใช้ วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้ อมูลนาเข้ า เพื่อทดสอบระบบ
  2. เรี ยนรู้ด้วยตนเอง ผู้ใช้ ระบบศึกษาอ่านจากคูมือระบบงาน หรื อใช้ ซีดีรอมเรี ยนรู้ด้วยตนเอง
                                                 ่
2.5 ขั้นจัดทาคู่มือระบบ

              เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พฒนาระบบจะต้ องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคูมือ
                                                 ั                                ่
   การใช้ ระบบงาน คูมือระบบงานมีหลายแบบ เช่น
                         ่
   1. คู่มือสาหรั บผู้ใช้ ระบบ (User Documentation) เป็ นส่วนอธิบายขันตอนการทางานของ
                                                                              ้
      ระบบ เพื่อให้ ผ้ ใช้ ระบบเรียนรู้การทางาน เช่น วิธีกรอกข้ อมูลในส่วนต่างๆ
                       ู
   2. คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผู้ดแลระบบ เช่น ขันตอนการ
                                                                         ู      ้
      ติดตังโปรแกรม การแก้ ปัญหาระบบงานขันพื ้นฐาน
            ้                                      ้
2.6 ขั้นการติดตั้ง
                    เป็ นขันตอนนาระบบใหม่ทผ่านการทดสอบ และได้ รับการยอมรับจากกลุมตัวแทน
                           ้                 ี่                                        ่
   ผู้ใช้ ระบบว่าสามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ ระบบงานใหม่ดงนี ้          ั
   1. ติดตังระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทังหมด และใช้ ระบบงานใหม่ ทันที (Direct
                ้                                   ้
        Changeover) วิธีนี ้สะดวกกับผู้ใช้ คือ ทางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก
        ระบบงานใหม่มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ งานระบบใดได้ เลย
   2. ติดตังระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็ นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน
                  ้
        เพื่อปองกันปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นกับระบบงานใหม่ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาด
              ้
        ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ ้นได้ แต่เป็ นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ ระบบที่ต้องทางานทัง้ 2 ระบบ
        จนกว่าจะแน่ใจว่าระบบงานใหม่ สามารถใช้ รองรับการทางานได้ โดยไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ
2.6 ขั้นการติดตั้ง

   3. ติดตังระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็ นการติดตังระบบย่อยทีละระบบ
             ้                                                ้
      จากระบบงานทังหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ
                       ้
      ดาเนินการแก้ ไขเฉพาะเฟสนันก่อน จากนันจึงขยายจนครบทังระบบ
                                ้         ้               ้
   4. ติดตังระบบแบบโครงการนาร่ อง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของ
               ้
       หน่วยงานในองค์กรที่มีความสาคัญและความจาเป็ น พิจารณาผลงานทีได้ หากไม่มีปัญหา
                                                                  ่
       เรื่องใด จึงขยายระบบงานต่อไป
2.7 ขั้นการบารุงรักษา
               เป็ นการดูแลระบบงานหลังติดตังระบบ ให้ อยูในสภาพร้ อมใช้ งานได้ ตลอดเวลา
                                                ้          ่
   สาเหตุที่ต้องบารุงรักษา มีดงนี ้
                                ั
   1. การบารุ งรั กษาด้ วยการแก้ ไขระบบให้ ถกต้ อง (Corrective Maintenance) เป็ น
                                                     ู
      ข้ อผิดพลาดที่เกิดขึ ้นหลังจากมีการใช้ ข้อมูลจริงในระบบงาน ซึงตรวจสอบไม่พบในขันการ
                                                                   ่                ้
      ทดสอบระบบ
   2. การบารุ งรั กษาด้ วยการปรั บปรุ งให้ ดีขน (Perfective Maintenance) เป็ นการปรับ
                                                  ึ้
      ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
      นโยบายของรัฐ
   3. การบารุ งรั กษาด้ วยการปองกัน (Preventive Maintenance) เช่น ปองกันการเกิด
                                  ้                                        ้
      ความสูญหายของข้ อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟา การทาระบบสารองข้ อมูล การปองกัน
                                                        ้                         ้
      ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้ อมูล (Hacker)
3. แนวทางสร้ างโปรแกรมประยุกต์ งาน

               กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็ นงานโปรแกรมเพื่อใช้ แก้ ปัญหางานคานวณในสาย
  วิชาชีพเฉพาะสาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนันหากผู้สร้ างงานโปรแกรม
                                                                    ้
  เป็ นผู้อยูในสายวิชาชีพนันย่อมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสัง
             ่              ้                                                     ่
  ควบคุมการทางานได้ ดี ถูกต้ องกว่าให้ ผ้ อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลกษณะตอบสนองความ
                                          ู                           ั
  ต้ องการของผู้ใช้ ระบบได้ มากที่สด และสามารถปรับระบบงานได้ ด้วยตนเอง มีแนวทาง
                                   ุ
  ดาเนินงานสร้ างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี ้
3.1 ขั้นวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น
                            ้
               อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนัน เพื่อ
                                                                              ้
   วิเคราะห์ย้อนกลับไปถึงที่มาของข้ อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้ อมูลที่ต้องปอนเข้ าระบบเพื่อ
                                                                          ้
   ใช้ ในสมการ แนวทางการวิเคราะห์ระบบงานเบื ้องต้ นโดยสรุปมีขนตอนย่อยดังนี ้
                                                             ั้
                         1) สิ่งที่ต้องการ
                         2) สมการคานวณ
                         3) ข้ อมูลนาเข้ า
                         4) การแสดงผล
                         5) กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                                             ั
                         6) ลาดับขันตอนการทางาน
                                       ้
3.2 ขั้นวางแผนลาดับการทางาน

           มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขันตอน
                                   ึ                       ุ                       ้
  กระบวนการแก้ ปัญหางานเพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ตามต้ องการ ก่อนไปสูขนตอนการเขียนคาสังงาน
                                                               ่ ั้              ่
  และกรณีโปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้ อนกลับมาตรวจสอบที่ขนตอนนี ้ได้
                                                                 ั้
3.3 ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม

              เป็ นขันตอนเขียนคาสังควบคุยตามลาดับการทางานที่ได้ วิเคราะห์ไว้ ในกระบวนการ
                     ้            ่
  วางแผนลาดับการทางาน ขันตอนนี ้ต้ องใช้ คาสังให้ ถกต้ องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การ
                              ้              ่ ู
  ใช้ งานคาสัง ทีแต่ละภาษาได้ กาหนดได้
             ่ ่
3.4 ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม

                กรณีผ้ สร้ างระบบงานและผู้ใช้ ระบบงานเป็ นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขนตอน
                       ู                                                             ั้
  เดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสังงาน และทดสอบโดยใช้ ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่
                                   ่
  กรณีที่ผ้ สร้ างระบบงานและผู้ใช้ ระบบงานมิใช่คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ
            ู
  ทดสอบโดยผู้สร้ างระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ ผ้ ใช้ ระบบงานเป็ นผู้ทดสอบ หากมี
                                                                ู
  ข้ อผิดพลาดใดจะถูกส่งกลับไปให้ ผ้ สร้ างระบบงานแก้ ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้ องแล้ วจึง
                                      ู
  ส่งมอบระบบงาน
3.5 ขั้นเขียนเอกสารประกอบ
              เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ ผลลัพธ์การทางานถูกต้ อง ต้ องจัดทาเอกสาร
  ประกอบการใช้ โปรแกรมด้ วย คูมือระบบงานที่งายที่สดคือ รวบรวมเอกสารที่จดทาจาก
                                  ่           ่    ุ                      ั
  3.1-3.4 มารวมเล่ม นอกนันอาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้ โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอน
                               ้                                                     ้
  ข้ อมูล หรืออาจมีวิธีติดตังโปรแกรมระบบงาน รวมทังคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถนา
                            ้                    ้
  โปรแกรมไปใช้ งาน เป็ นต้ น
4. การลาดับขั้นตอนงานด้ วยผังงาน

              ผังงานเป็ นขันตอนการทางานทางคอมพิวเตอร์ อย่างหนึ่ง มีจดประสงค์เพื่อแสดง
                           ้                                        ุ
   ลาดับการควบคุมการทางาน โดยใช้ สญลักษณ์ที่กาหนดความหมายใช้ งานเป็ นมาตรฐาน
                                         ั
   เชื่อมโยงการทางานด้ วยลูกศร ในที่นี ้กล่าวถึงการลาดับขันตอนการทางานด้ วยผังงานประเภท
                                                          ้
   ผังงานโปรแกรม ดังนี ้
4.1 สัญลักษณ์ ของผังงาน
4.1 สัญลักษณ์ ของผังงาน
4.2 หลักในการเขียนผังงาน
              ข้ อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ ผ้ อานระบบงาน ใช้ ศกษา ตรวจสอบลาดับการ
                                                   ู่                ึ
  ทางานได้ งาย ไม่สบสน มีแนวทางปฏิบติ ดังนี ้
            ่             ั               ั
              1. ทิศทางการทางานต้ องเรี ยงลาดับตามขันตอนที่ได้ วิเคราะห์ไว้
                                                        ้
              2. ใช้ ชื่อหน่วยความจา เช่น ตัวแปร ให้ ตรงกับขันตอนที่ได้ วิเคราะห์ไว้
                                                             ้
              3. ลูกศรกากับทิศทางใช้ หวลูกศรตรงปลายทางเท่านัน
                                        ั                        ้
              4. เส้ นทางการทางานห้ ามมีจดตัดการทางาน
                                            ุ
              5. ต้ องไม่มีลกศรลอยๆ โดยไม่มีการต่อจุดการทางานใดๆ
                             ู
              6. ใช่สญลักษณ์ให้ ตรงกับความหมายการใช้ งาน
                        ั
              7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้ เขียนไว้ ด้านขวาของสัญลักษณ์นน    ั้
4.3 ประโยชน์ ของผังงาน

         การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ นนมีประโยชน์ ดังนี ้
                                               ั้
         1. ทาให้ มองเห็นรูปแบบของงานได้ ทงหมด โดยใช้ เวลาไม่มาก
                                          ั้
         2. การเขียนผังงานเป็ นสากล สามารถนาไปเขียนคาสังได้ ทกภาษา
                                                         ่ ุ
         3. สามารถตรวจสอบข้ อผิดพลาดของโปรแกรมได้ อย่างรวดเร็ ว
4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน

           การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานขอบ
  ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว ในส่วนนี ้เป็ นการ
  นาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี ้
           4.4.1 การเขียนผังงานแบบเรี ยงลาดับ แสดง
  ขันตอนการทางานตามลาดับ เช่น
    ้
4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน

  4.4.2 การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน
  แสดงขันตอนการทางานที่มลกษณะกาหนดเงื่อนไขทาง
        ้                   ี ั
  ตรรกะ ให้ ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทาง
  ประมวลผลคาสังที่ได้ กาหนดไว้ เช่น
                ่
4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน

4.4.3 การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขก่ อนวนซา
                                              ้
แสดงขันตอนการทางานที่มลกษณะ กาหนดเงื่อนไขทาง
      ้                  ี ั
ตรรกะให้ ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ ้า
หรือออกจากการวนซ ้า เช่น
4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน

 4.4.4 การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซา  ้
 แสดงขันตอนการทางานที่มลกษณะทางานก่อน 1 รอบ แล้ ว
       ้               ี ั
 จึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ
 ทางการวนซ ้า หรือออกจากการวนซ ้า เช่น
5. กรณีศึกษาการวิเคราะห์ ระบบงานและผังงาน

                ในที่นี ้ยกตัวอย่างแสดงการวิเคราะห์ระบบงานเบื ้องต้ น และเขียนลาดับการ
   ทางานด้ วยผังงานโปรแกรม เพื่อใช้ ประมวลผลระบบงานระดับพื ้นฐานคือ ประมวลผลแบบ
   ไม่มีเงื่อนไข ประมวลผลแบบมีเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจเลือกทางทางาน ประมวลผลลักษณะวน
   ซ ้า อธิบายการทางานเรื่องต่างๆเหล่านี ้ด้ วยกรณีศกษาในลาดับต่อไป
                                                     ึ
5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข
                                        ่
              หมายถึงการทางานที่เรียงลาดับตามคาสังงานโดยรับค่าข้ อมูล เพื่อบันทึกลง
                                                    ่
   หน่วยความจา ซึงอาจเป็ นค่าคงที่หรือตัวแปร เพื่อนาไปประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนด แล้ ว
                   ่
   อ่านค่าจากหน่วยความจาตัวแปรทีดาเนินการประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนดไว้ เพื่อแสดงผล
                                   ่
   ทางอุปกรณ์ที่ระบุ ยกตัวอย่างงานดังนี ้
   โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณยอดขายเฉลี่ยพนักงานขายแต่ละราย กาหนดการแสดงผล
   ดังนี ้
5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข
                                        ่

           แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม
                        ้
   1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น
                             ้
       1.1 สิงที่ต้องการ
              ่           ค่าเฉลียยอดขาย
                                 ่
       1.2 สมการคานวณ     ค่าเฉลียยอดขาย = ยอดขาย / จานวนสินค้ า
                                   ่
       1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย จานวนสินค้ า
       1.4 การแสดงผล      ตามโจทย์กาหนด
5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข
                                        ่
   1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                      ั




   1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action)
              ้
                     1) พิมพ์หวข้ อรายงาน
                              ั
                     2) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย(sum)
                         ้
                        จานวนสินค้ า (num)
                     3) คานวณค่าเฉลี่ยยอดขาย (avg) = sum/num
                     4) พิมพ์ avg
                     5) จบการทางาน
5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข
                                        ่
        2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน
                                    ่
                การทางานแบบมีเงื่อนไขเลือกทางาน มีลกษณะการทางานทีต้องกาหนดเงื่อนไข
                                                    ั              ่
    แบบตรรกะไว้ ลวงหน้ าเมื่อมีข้อมูลตรงตามที่กาหนด ระบบจะเลือกทางประมวลผลตามคาสัง
                   ่                                                              ่
    ทางใดทางหนึ่งเท่านัน ยกตัวอย่างดังนี ้
                       ้
    โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไขดังนี ้
            ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขายนอกเหนือจากนี ้ให้
            โบนัส 10% ของยอดขาบ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน
                                    ่

                  แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม
                          ้
    1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น
                                 ้
    1.1 สิ่งที่ต้องการ   โบนัสพนักงาน
    1.2 สมการคานวณ เลือกคานวณค่าโบนัสตามเงื่อนไขดังนี ้
                         ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย * 30/100
                         นอกเหนือจากนี ้     คานวณโบนัส = ยอดขาย * 10/100
    1.3 ข้ อมูลนาเข้ า   รหัสพนักงาน
    1.4 การแสดงผล        ตามโจทย์กาหนด
5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน
                                    ่
    1.5   กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                         ั


    1.6   ลาดับขันตอนการทางาน (action)
                  ้
               1) พิมพ์หวข้ อรายงาน
                         ั
               2) ปอนข้ อมูล รหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)
                    ้
               3) คานวณ โบนัส (bonus) ตามเงื่อนไขดังนี ้
                           ถ้ า sum > 50000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100
                           นอกเหนือจากนี ้ ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100
               4) พิมพ์ bonus
               5) จบการทางาน
5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน
                                    ่
    2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม
                                       ่
             การควบคุมการวนซ ้าหมายถึง การทางานที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อวนซ ้าการ
   ทางาน หรือออกจากระบบการทางาน
             แนวคิด การให้ ระบบนับจานวนเพิ่มค่าทีละ 1
                      เช่น ให้ หน่วยความจาชื่อ num เป็ นตัวแปรนับจานวนพนักงาน
                                  ใช้ สมการ num = num + 1
                      อธิบาย รอบการทางานที่ 1 num = num + 1

                                 รอบการทางานที่ 2 num = num + 1

             ดังนันหากวนซ ้า 2 รอบ num จึงมีคาเป็ น 2 หมายถึงพนักงานมี 2 คนนันเอง
                  ้                          ่                               ่
5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม
                                       ่
   โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงานกาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อไขดังนี ้
              - ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย
              - นอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาย
              กาหนดเงื่อนไขการวนซ ้า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึงการเลิกวนซ ้า และ
   ให้ แสดงตัวเลขผลรวมจานวนพนักงานทังหมดที่คานวณในครังนี ้
                                          ้               ้
   กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม
                                       ่
              แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม
                           ้
   1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น้
   1.1 สิงที่ต้องการ โบนัสพนักงาน จานวนพนักงาน
           ่
   1.2 สมการคานวณ
              1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้
                        ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย *30/100
                        นอกเหนือจากนี ้      คานวณโบนัส = ยอดขาย *10/100
              2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี ้
                        จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน +1
   1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
   1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม
                                       ่
      1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                         ั




      1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action)
                 ้
           1) พิมพ์หวข้ อรายงาน
                    ั
           2) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
               ้
           3) ตรวจสอบค่าของ no
                      ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 3.1 – 3.6
                      นอกจากนี ้ ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 4
5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม
                                       ่
          3.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)
                ้
          3.2) คานวณโบนัส (bonus)
                 ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100
                 นอกเหนือจากนี ้   ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100
          3.3) พิมพ์ bonus
          3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num)
                num = num + 1
          3.5) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
                ้
          3.6) วนกลับไปข้ อ 3
       4) พิมพ์คา num
                ่
       5) จบการทางาน
5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม
                                       ่
   2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม




                                        อธิบาย ( no != 0 ) หมายถึงหน่วย
                                        ความทรงจาของตัวแปรชื่อ no มีคา่
                                        ไม่เท่ากับ 0
5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย
                                       ่          ่
    แนวคิด   1. การหาค่าเฉลี่ยมาจาก ผลรวมของค่าค่าหนึ่ง / จานวน
             2. การให้ ระบบเก็บข้ อมูลในลักษณะสะสมเพิ่มค่า
                เช่น ให้ หน่วยความจาชื่อ sum เป็ นตัวแปรเก็บสะสมค่าโบนัสรวม ที่ใช้ ตวแปรชื่อ
                                                                                    ั
                     bonus ใช้ สมการ sum = sum + bonus
                กาหนดข้ อมูลสมมติ เช่น คานวณโบนัสรอบการทางานที่ 1 ได้ 3000 รอบการ
                ทางานที่ 2 ได้ 2000
                อธิบาย รอบการทางานที่ 1 sum =             sum     + bonus


                       รอบการทางานที่ 2 sum =              sum     + bonus


      ดังนันหากวนซ ้า 2 รอบ sum จึงมีคาเป็ น 5000 นันเอง
           ้                          ่             ่
5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย
                                       ่          ่
    โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี ้
            ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย นอกเหนือจากนี ้ให้
            โบนัส 10% ของยอดขาย
            กาหนดเงื่อนไขการวนซ ้า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ ้า และแสดง
            ข้ อมูลโบนัสรวม ค่าโบนัสเฉลี่ย และจานวนพนักงาน
    กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย
                                       ่          ่
    แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม
              ้
    1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น    ้
                1.1 สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสเฉลี่ย จานวนพนักงาน
                1.2 สมการคานวณ
                              1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้
                                  ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100
                                  นอกเหนือจากนี ้        คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100
                              2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี ้
                                          จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน + 1
                              3) โบนัสพนักงานทุกราย คานวณสมการดังนี ้
                                          โบนัสรวม = โบนัสรวม + โบนัส
                              4) ค่าเฉลี่ยโบนัส คานวณสมการดังนี ้
                                          โบนัสเฉลี่ย = โบนัสรวม / จานวนพนักงาน
5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย
                                       ่          ่
         1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
         1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
         1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                            ั
5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย
                                       ่          ่

       1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action)
                  ้
                 1) พิมพ์หวข้ อรายงาน
                            ั
                 2) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
                     ้
                 3) ตรวจสอบค่าของ no
                              ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 3.1 -3.7
                              นอกจากนี ้ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 4
                    3.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)
                          ้
                    3.2) คานวณโบนัส (bonus)
                              ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100
                              นอกเหนือจากนี ้ ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100
5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย
                                       ่          ่

                 3.3) พิมพ์ bonus
                 3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num)
                        num = num + 1
                 3.5) คานวณโบนัสรวม (sum_bonus)
                         sum_bonus = sum_bonus + bonus
                 3.6) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
                       ้
                 3.7) วนกลับไปข้ อ 3
               4) คานวณโบนัสเฉลี่ย (avg_bonus) = sum_bonus/num
               5) พิมพ์คา num sum_bonus, avg_bonus, num
                        ่
               6) จบการทางาน
5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย
                                       ่          ่
    2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด
                                       ่

    แนวคิด การหาค่ามากที่สด    ุ
           1. ใช้ วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่ามากที่สด (max_bonus) เริ่มต้ นมีคา 0
                                                         ุ                     ่
           2. ปอนค่าตัวเลขที่ต้องการนามาเปรียบเทียบ (max_bonus)
               ้
           3. เปรียบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า
                 3.1) max_bonus > bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ max_bonus = bonus
                                   (นาค่า bonus ไปไว้ ใน max_bonus)
                 3.2) max_bonus <= bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ max_bonus = max_bonus
                                   (เก็บค่าเดิม)
           * เมื่อค่าสิ ้นสุดการวนซ ้า ค่าที่อยูใน max_bonus คือค่าที่มากที่สด
                                               ่                             ุ
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด
                                       ่
    โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี ้
               - ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย
               - นอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาย
    กำหนดเงือนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ ้า และแสดงตัวเลข
             ่
    โบนัสค่ามากที่สด ของพนักงานกลุมนี ้
                     ุ                ่
               กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด
                                       ่
                แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม
                              ้
    1.   การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น   ้
                1.1 สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่ามากที่สด      ุ
                1.2 สมการคานวณ
                                1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้
                                           ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100
                                           นอกเหนือจากนี ้       คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100
                                2) โบนัสค่ามากที่สด คานวณสมการดังนี ้
                                                    ุ
                                           ถ้ าโบนัส > ค่าโบนัสมากที่สดให้ ค่าโบนัสมากที่สด = โบนัส
                                                                      ุ                   ุ
                                           นอกเหนือจากนี ้ โบนัสค่ามากที่สด = โบนัสค่ามากที่สด
                                                                            ุ                  ุ
                1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
                1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด
                                       ่
    1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                       ั




    1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action)
               ้
              1) พิมพ์หวข้ อรายงาน
                       ั
              2) กาหนดโบนัสค่ามากที่สด (max_bonus) = 0
                                          ุ
              3) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
                  ้
              4) ตรวจสอบค่าของ no
                         ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 4.1 -4.6
                         นอกจากนี ้ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 5
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด
                                       ่
            4.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)
                  ้
            4.2) คานวณโบนัส (bonus)
                       ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100
                       นอกเหนือจากนี ้    ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100
             4.3) พิมพ์ bonus
             4.4) คานวณ max_bonus
                       ถ้ าbonus > max_bonus ประมวลสมการ max_bonus = bonus
                       นอกเหนือจากนี ้         ประมวลสมการ max_bonus = max_bonus
             4.5) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
                   ้
             4.6) วนกลับไปข้ อ 4
          5) พิมพ์คา max_bonus
                     ่
          6) จบการทางาน
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด
                                       ่
    2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
5.6 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด
                                       ่

    แนวคิด การหาค่ามากที่สด    ุ
           1. ใช้ วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่ามากที่สด (min_bonus) เริ่มต้ นมีคา 0
                                                         ุ                     ่
           2. ปอนค่าตัวเลขที่ต้องการนามาเปรียบเทียบ (min_bonus)
               ้
           3. เปรียบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า
                 3.1) min_bonus > bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ min_bonus = bonus
                                   (นาค่า bonus ไปไว้ ใน min_bonus)
                 3.2) min_bonus <= bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ min_bonus = min_bonus
                                   (เก็บค่าเดิม)
           * เมื่อค่าสิ ้นสุดการวนซ ้า ค่าที่อยูใน min_bonus คือค่าที่มากที่สด
                                               ่                             ุ
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด
                                       ่
    โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี ้
               - ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย
               - นอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาย
    กำหนดเงือนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ ้า และแสดงตัวเลข
             ่
    โบนัสค่ามากที่สด ของพนักงานกลุมนี ้
                     ุ                ่
               กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด
                                       ่
                แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม
                              ้
    1.   การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น   ้
                1.1 สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่าน้ อยที่สด      ุ
                1.2 สมการคานวณ
                                1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้
                                           ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100
                                           นอกเหนือจากนี ้         คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100
                                2) โบนัสค่ามากที่สด คานวณสมการดังนี ้
                                                    ุ
                                           ถ้ าโบนัส > ค่าโบนัสน้ อยที่สดให้ ค่าโบนัสมากที่สด = โบนัส
                                                                        ุ                   ุ
                                           นอกเหนือจากนี ้ โบนัสค่าน้ อยที่สด = โบนัสค่าน้ อยที่สด
                                                                              ุ                  ุ
                1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
                1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด
                                       ่
    1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                       ั




    1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action)
               ้
              1) พิมพ์หวข้ อรายงาน
                       ั
              2) กาหนดโบนัสค่าน้ อยที่สด (min_bonus) = 0
                                          ุ
              3) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
                  ้
              4) ตรวจสอบค่าของ no
                         ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 4.1 -4.6
                         นอกจากนี ้ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 5
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด
                                       ่
            4.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)
                  ้
            4.2) คานวณโบนัส (bonus)
                       ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100
                       นอกเหนือจากนี ้    ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100
             4.3) พิมพ์ bonus
             4.4) คานวณ min_bonus
                       ถ้ าbonus > min_bonus ประมวลสมการ min_bonus = bonus
                       นอกเหนือจากนี ้         ประมวลสมการ min_bonus = min_bonus
             4.5) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no)
                   ้
             4.6) วนกลับไปข้ อ 4
          5) พิมพ์คา min_bonus
                     ่
          6) จบการทางาน
5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด
                                       ่
    2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
จัดทาโดย
1.นายนราธิป              โรจนสุ วรพงค์        เลขที่ 1
2. นายจักรินทร์          จันทร์ แย้ม          เลขที่ 4
3. นายปัญญา              จันทยา               เลขที่ 11
4. น.ส.นาฏอนงค์          พลอยงาม              เลขที่ 21
5. น.ส.ไพลิน             สื บเรือง            เลขที่ 22
6. น.ส.นารีรัตน์         ณรงค์ วงศ์ วฒนา
                                     ั        เลขที่ 30
7. น.ส.เมธาวี            เงินยวง              เลขที่ 40
                 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์   กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Primprapa Palmy Eiei
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา Chanikan Kongkaew
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 

What's hot (19)

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 

Viewers also liked

Media Studies-magazine cover
 Media Studies-magazine cover Media Studies-magazine cover
Media Studies-magazine coverEllieanEllie
 
Music magazine contents page
Music magazine contents pageMusic magazine contents page
Music magazine contents pageEllieanEllie
 
Music magazine contents page
Music magazine contents pageMusic magazine contents page
Music magazine contents pageEllieanEllie
 
Magazine type faces
Magazine type facesMagazine type faces
Magazine type facesEllieanEllie
 
Genre of my music magazine
Genre of my music magazineGenre of my music magazine
Genre of my music magazineEllieanEllie
 
Double page analyse
Double page analyseDouble page analyse
Double page analyseEllieanEllie
 
Media Studies Music magazine double page analysis
Media Studies Music magazine double page analysisMedia Studies Music magazine double page analysis
Media Studies Music magazine double page analysisEllieanEllie
 
As media studies course work evaluation
As media studies course work evaluationAs media studies course work evaluation
As media studies course work evaluationEllieanEllie
 
Contents Page Analyze
Contents Page AnalyzeContents Page Analyze
Contents Page AnalyzeEllieanEllie
 
Genre of my music magazine
Genre of my music magazine Genre of my music magazine
Genre of my music magazine EllieanEllie
 
An insight into wage incentives
An insight into wage incentivesAn insight into wage incentives
An insight into wage incentivesPique Rcb
 

Viewers also liked (16)

Media Studies-magazine cover
 Media Studies-magazine cover Media Studies-magazine cover
Media Studies-magazine cover
 
Music magazine contents page
Music magazine contents pageMusic magazine contents page
Music magazine contents page
 
Music magazine contents page
Music magazine contents pageMusic magazine contents page
Music magazine contents page
 
Pm1709
Pm1709Pm1709
Pm1709
 
Magazine type faces
Magazine type facesMagazine type faces
Magazine type faces
 
Cover schemes
Cover schemesCover schemes
Cover schemes
 
Genre of my music magazine
Genre of my music magazineGenre of my music magazine
Genre of my music magazine
 
Media fonts
Media fontsMedia fonts
Media fonts
 
Double page analyse
Double page analyseDouble page analyse
Double page analyse
 
Mast head fonts
Mast head fontsMast head fonts
Mast head fonts
 
Media Studies Music magazine double page analysis
Media Studies Music magazine double page analysisMedia Studies Music magazine double page analysis
Media Studies Music magazine double page analysis
 
As media studies course work evaluation
As media studies course work evaluationAs media studies course work evaluation
As media studies course work evaluation
 
Contents Page Analyze
Contents Page AnalyzeContents Page Analyze
Contents Page Analyze
 
Genre of my music magazine
Genre of my music magazine Genre of my music magazine
Genre of my music magazine
 
Scheme
SchemeScheme
Scheme
 
An insight into wage incentives
An insight into wage incentivesAn insight into wage incentives
An insight into wage incentives
 

Similar to งานนำเสนอ

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31Starng Sathiankhetta
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
สอบ
สอบสอบ
สอบRewTD89
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์bpatra
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxssuser07f67b
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 

Similar to งานนำเสนอ (18)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
สอบ
สอบสอบ
สอบ
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 

งานนำเสนอ

  • 1. บทที่ 1 การสร้ างงานโปรแกรมด้ วย ภาษาคอมพิวเตอร์
  • 2. 1. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็ นสัญลักษณ์ ท่ผ้ พัฒนาภาษา ี ู กาหนดรหัสคาสั่งขึนมา ใช้ ควบคุมการทางานอุปกรณ์ ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการ ้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่ มจากรหัสคาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนันพัฒนารูปแบบ ้ เป็ นข้ อความภาษาอังกฤษในยุคปั จจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์ มีมากมายหลายภาษาให้ เลือกใช้ งาน มีจุดเด่ นด้ านประสิทธิภาพคาสั่งแตกต่ างกันไป ดังนันผู้สร้ างงานโปรแกรม ้ ต้ องศึกษาว่ าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการทางานตามความต้ องการ เพื่อ เลือกไปใช้ สร้ างโปรแกรมประยุกต์ งานตามที่ได้ กาหนดจุดประสงค์ ไว้
  • 3. 1.1 พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ช่ วงที่ 1 คอมพิวเตอร์ จัดเป็ นเครื่องคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางานลักษณะวงจรเปิ ด-ปิ ด แทนค่ าด้ วย 0 กับ 1 ผู้สร้ างภาษาจึง ออกแบบรหัสคาสั่งเป็ นชุดเลขฐานสอง เรียกว่ าภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ท่ ีจะเขียนรหัสคาสั่งควบคุมระบบได้ จึงจากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ ในห้ องปฏิบัติการทดลองดาเนินงาน
  • 4. 1.1 พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ช่ วงที่ 2 จากช่ วงแรกที่รหัสคาสั่งเป็ นชุดเลขฐานสองมีความ ยุ่งยากในการจาชุดรหัสของรหัสคาสั่งควบคุมการทางาน จึงมีผ้ ูพฒนารหัส ั คาสั่งเป็ นอักษรภาษาอังกฤษร่ วมกับเลขฐานอื่น เช่ น เลขฐานสิบหก เพื่อให้ เขียนคาสั่งควบคุมงานง่ ายขึน ตังชื่อภาษาว่ า ภาษาแอสเซมบลีหรือ ้ ้ ภาษาสัญลักษณ์ (Assembly/Symbolic Language) พร้ อมกันนีต้องพัฒนา ้ โปรแกรมแปลภาษาขึนมาด้ วย (Translator Program) คือโปรแกรมแอสเซม ้ เบลอร์ (Assembler) ใช้ แปลรหัสคาสั่งกลับมาเป็ นเลขฐานสอง เพื่อให้ ระบบสามารถประมวลผลได้
  • 5. 1.1 พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ช่ วงที่ 3 เป็ นช่ วงที่บริ ษัทหลายแห่ งสร้ างภาษาคอมพิวเตอร์ หลากหลาย ภาษา เน้ นให้ ใช้ งานง่ ายขึน โดยรหัสคาสั่งเป็ นข้ อความใกล้ เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ ใน ้ การสื่อสารกันอยู่แล้ ว จัดให้ เป็ นกลุ่มภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่ น ภาษา เบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่ วนของโปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะคือ อินเทอร์ พรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์ ช่ วงที่ 4 เน้ นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ ให้ นาไปใช้ ควบคุมการ ทางานระบบคอมพิวเตอร์ ท่ใช้ งานร่ วมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการ ี เขียนรหัสคาสั่งเป็ นงานโปรแกรมเชิงวัตถุ
  • 6. 1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง ภาษาระดับสูงที่ได้ รับความนิยมใช้ งานมีดังนี ้ 1.2.1 ภาษาเบสิก (BASIC) เป็ นภาษาในเริ่มแรกที่พัฒนาขึนมาเพื่อใช้ ใน ้ ห้ องปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึ กทักษะการเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กคือ “ไมโครคอมพิวเตอร์ ” ข้ อดี คือ รูปแบบคาสั่งใช้ งานสัน มีจานวนคาสั่งไม่ มาก กฎเกณฑ์ การใช้ คาสั่งน้ อย ใช้ ้ ระยะเวลาศึกษาเรียนรู้สัน เหมาะสมที่จะใช้ ในการเรี ยนการสอน เพื่อฝึ กทักษะ ้ การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานระบบ ข้ อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งงานมีน้อย เป็ นภาษาที่ไม่ มีรูปแบบโครงสร้ าง จึงไม่ เหมาะสมในการนาไปใช้ สร้ างโปรแกรมประยุกต์ งานในองค์ กร
  • 7. 1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง 1.2.2 ภาษาโคบอล (COBOL) เป็ นภาษาในยุคแรกที่มีลักษณะโปรแกรมเชิง โครงสร้ าง ช่ วงต้ นของภาษาได้ รับการออกแบบรหัสคาสั่งเพื่อควบคุมการทางาน คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่ อมาจึงปรับรูปแบบคาสั่งให้ ใช้ กบ ั ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้ ข้ อดี คือ ให้ ผ้ ูเรียนได้ ฝึกทักษะเขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ก่ อนที่จะไปเขียนรหัสคาสั่งควบคุมคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ในการทางานจริง ข้ อจากัด คือ โครงสร้ างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสั่งงานมาก รูปแบบรหัส คาสั่งมีความยาว จดจาคาสั่งได้ ยาก ไม่ เหมาะกับผู้เริ่ มฝึ กทักษะสร้ างงาน โปรแกรม
  • 8. 1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง 1.2.3 ภาษาปาสคาล (PASCAL) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้ าง ได้ รับการ ออกแบบมาเพื่อใช้ เขียนรหัสคาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้ อดี คือ แต่ ละส่ วนของโครงสร้ างกาหนดหน้ าที่การเขียนรหัสคาสั่งควบคุมงาน ชัดเจนคาสั่งสัน สื่อความหมายดี จึงจดจาได้ ง่าย ประสิทธิภาพคาสั่งงานมี ้ เลือกใช้ งาน หลากหลายรูปแบบ ใช้ ระยะเวลาสันในการเรียนรู้ เหมาะสม ้ นาไปใช้ ในกลักสูตรการเรี ยนการสอน ข้ อจากัด คือ ประสิทธิภาพของคาสั่งไม่ สามารถใช้ ควบคุมการทางานในลักษณะระบบงาน แบบฐานข้ อมูลหรื อแบบเครือข่ ายได้ แต่ อาจใช้ เป็ นพืนฐานความรู้ สาหรั บ ้ ภาษาอื่นได้ เช่ น ภาษาเดลไฟ ที่คาสั่งคล้ ายภาษาปาสคาล
  • 9. 1.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูง 1.2.4 ภาษาซี (C) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้ าง เน้ นให้ คาสั่งมี ประสิทธิภาพการคานวณที่รวดเร็ ว เข้ าถึงอุปกรณ์ ในระบบร่ วมกับภาษาแอสเซมบลีได้ ใช้ ควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ข้ อดี คือ ภาษาได้ รับการพัฒนามาอย่ างต่ อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสั่งมี มาตรฐานร่ วมกัน ถึงแม้ จะเป็ นภาษาซีต่างบริษัทก็ใช้ งานในส่ วนคาสั่ง พืนฐานร่ วมกันได้ ใช้ ระยะเวลาสันในการเรี ยนรู้ จึงเหมาะสมนาไปใช้ ใน ้ ้ หลักสูตรการเรียนการสอนและนาไปสร้ างงานโปรแกรมในระบบงาน ขนาดใหญ่ ได้ ข้ อจากัด คือ อยู่ในส่ วนของรุ่ นภาษาซีมากกว่ า เช่ น เทอร์ โบซีจะไม่ สามารถนาไปสร้ าง ระบบงานแบบฐานข้ อมูลได้ แต่ หากต้ องการนาไปสร้ างแบบโปรแกรม แบบฐานข้ อมูลต้ องใช้ วิชวลซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็ นต้ น
  • 10. 1.3 ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ การเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานระบบด้ วยภาษาคอมพิวเตอร์ ใดๆก็ตาม ที่มิใช่ ่ ภาษาเครื่อง ระบบจะไม่สามารถประมวลผลได้ ในทันที เพราะการทางานของระบบเป็ นรหัส เลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ดังนันผู้สร้ างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้ องสร้ างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสให้ ้ เป็ นรหัสเลขฐานสองด้ วย โปรแกรมแปลรหัสคาสังภาษาคอมพิวเตอร์ มีการทางาน 3 ลักษณะ ่ คือ 1.3.1 โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ใช้ แปลรหัสคาสังเฉพาะภาษาแอสเซมบลีให้ เป็ นเลขฐานสอง ่
  • 11. 1.3 ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ 1.3.2 โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปล คือ แปลคาสังทังโครงสร้ างโปรแกรมแล้ วจึงแจ้ งข้ อผิดพลาดทังหมดเพื่อแก้ ไข จากนันต้ อง ่ ้ ้ ้ ประมวลผลใหม่ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะสร้ างแฟ้ มโปรแกรมใหม่อตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่อง ั ภายหลังเมื่อเรียกใช้ โปรแกรมนี ้ เครื่องจะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้ างไว้ นน จึงไม่ต้องเริ่มแปล ั้ รหัสใหม่ ข้ อดี คือ ทางานได้ รวดเร็ว เพราะไม่ต้องแปลรหัสใหม่ทกครัง ุ ้ ข้ อจากัด คือ ต้ องเขียนโปรแกรมให้ ครบทุกส่วนของโครงสร้ างภาษาคอมพิวเตอร์ จึงจะสามารถ คอมไพล์และประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
  • 12. 1.3 ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ 1.3.3 โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอร์ พรี ตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปลคือ แปลรหัสทีละคาสัง เมื่อพบข้ อผิดพลาดจะหยุดทางาน แล้ วแจ้ งข้ อผิดพลาด ่ ให้ ทราบ เพื่อแก้ ไข จากนันประมวลผลใหม่ จนกว่าจะไม่มีข้อผิดพลาด แต่ไม่มีการสร้ างแฟม ้ ้ โปรแกรมใหม่เพื่อเก็บรหัสคาสัง ่ ข้ อดี คือ สังให้ ประมวลผลรหัสคาสังเพื่อดูผลการทางานได้ ทนทีที่ต้องการ โดยไม่ต้องเขียน ่ ่ ั โปรแกรมถึงบรรทัดสุดท้ าย ข้ อจากัด คือ หารโปรแกรมมีบรรทัดคาสังจานวนมากจะประมวลผลช้ า เพราะต้ องเริ่มแปลรหัส ่ คาสังใหม่ที่บรรทัดคาสังแรกทุกครังที่สงให้ ประมวลผล ่ ่ ้ ั่
  • 13. 1.4 เลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ การเลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ มีแนวทางพิจารณาเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี ้ 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสังงานของแต่ละภาษา เปรี ยบเทียบกับลักษณะงาน ่ เช่น สร้ างโปรแกรมระบบงานคานวณทางวิศวกรรมศาสตร์ อาจเลือกใช้ ภาษาซี ภาษา ปาสคาล 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้ องประมวลผลบนเครื อข่ายอาจเลือกใช้ ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่นของโปรแกรมที่มีคาสังควบคุมการทางานได้ ่ 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่ องคอมพิวเตอร์ และรุ่นของระบบปฏิบติการทีใช้ ควบคุม เพื่อเลือก ั ่ ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้ งานร่วมกันกับระบบได้ 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยูแล้ ว เพื่อไม่ต้องเสียเวลา ่ เริ่ มต้ นการศึกษาเรียนรู้ภาษาใหม่ หรือหากเป็ นภาษาใหม่ ควรเป็ นภาษาทีมีลกษณะใกล้ เคียงกับ ่ ั ความรู้เดิม
  • 14. 1.4 เลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ 5. ควรเป็ นภาษาที่มีลกษณะเป็ นโครงสร้ าง มีความยืดหยุนสูง เอื ้ออานวยสะดวกในการ ั ่ ปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต 6. หากระบบงานต้ องการความปลอดภัยเรื่ องการเข้ าถึงข้ อมูล ต้ องคัดเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพในเรื่องนี ้ด้ วย 7. พิจารณางบประมาณ ใช้ จดหาภาษาคอมพิวเตอร์ ที่มีลิขสิทธิ์ถกต้ องมาใช้ งาน เพื่อปองกัน ั ู ้ ปั ญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะไม่ก่อปั ญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม มากขึ ้นในอนาคต 8. เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ได้ รับความนิยมใช้ งานทัวไปเพื่อศึกษารวบรวมข้ อมูล และปองกัน ่ ้ ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ ้นได้ ในอนาคต และมีความเชื่อมันว่าจะมีผ้ เู ชี่ยวชาญให้ คาปรึกษาหาก ่ เกิดปั ญหาได้
  • 15. 2. การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็ นกระบวนการพัฒนา ระบบงานเดิม ให้ เป็ นระบบการทางานแบบใหม่ มีจดประสงค์ให้ ระบบการทางานมีประสิทธิภาพ ุ มากขึ ้น สาหรับการพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้ งานแล้ วยังต้ องจัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ ในการดาเนินงานอีก ด้ วย ขันตอนการสร้ างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ ตามความเหมาะสม ใน ้ ที่นี ้มีแนวทางดาเนินงาน ดังต่อไปนี ้
  • 16. 2.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา เริ่มต้ นด้ วยการวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาเป็ นระบบงานใหม่ อาจวิเคราะห์ งานจากผลลัพธ์ เช่น รูปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์สวนทีเกี่ยวข้ องต่อไป เช่น สมการที่ใช้ ่ คานวณ การนาเข้ าข้ อมูล ที่ใช้ ประมวลผล กรณีเป็ นระบบงานใหญ่ ความซับซ้ อนของงานย่อมมากขึ ้น อาจเริ่มจากศึกษาสภาพ ปั ญหา โดยรวบรวมข้ อมูลปั ญหาและ ความต้องการ ต่างๆ จากผู้ที่เกี่ยวข้ อง เช่น ผู้บริหาร ผู้ปฏิบติงาน เพื่อสรุปและศึกษา ความเป็ นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานใหม่ ั
  • 17. 2.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา การกาหนดความต้ องการ (Requirements Specification) เป็ นความ ต้ องการประสิทธิภาพการทางานจากระบบงานใหม่ รวบรวมข้ อมูลความต้ องการโดยใช้ เครื่องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้ อสรุปร่วมกันที่ชดเจน ั ระหว่างผู้พฒนาระบบและผู้ใช้ ระบบ การกาหนดความต้ องการนันมีแนวทางดาเนินงาน ดังนี ้ ั ้ 1. ประสานงานรวบรวมข้ อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้ องกับระบบ เพื่อประมวลความต้ องการทังหมด ้ 2. จัดทาข้ อสรุปความต้ องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง เพื่อปองกันข้ อ ้ ขัดแย้ งที่อาจเกิดขึ ้นในขันตอนรับมอบระบบงาน ้ 3. การให้ คาจากัดความต่างๆ ในเอกสาร ต้ องมีความชัดเจน ไม่กากวม
  • 18. 2.1 ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวข้ องกับ ระบบงานที่เป็ นปั จจัยเอื ้อต่อการทางาน หรืออุปสรรคในการทางานมีแนวทางศึกษาดังนี ้ 1. ศึกษาความเป็ นไปได้ ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบ คอมพิวเตอร์ ที่มีอยูเ่ ดิมต้ องปรับปรุง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่องอย่างไรบ้ าง 2. ศึกษาความเป็ นไปได้ เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้ นทุน ค่าใช้ จายในการดาเนินงานระบบงานใหม่ หรือด้ านงบประมาณที่ได้ รับการจัดสรร ่ 3. ศึกษาความเป็ นไปได้ ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะ เดิมของผู้ใช้ ระบบงานใหม่ การยอมรับระบบใหม่ที่ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน
  • 19. 2.2 ขั้นการวางแผนและออกแบบ ขันตอนการวางแผนวิเคราะห์ลาดับการทางานมีหลายวิธีให้ เลือกใช้ เช่น วิธี ้ อัลกอริทม (Algorithm) วิธีซโดโคด (Pseudocode) วิธีผงงาน (Flowchart) สาหรับขันตอน ึ ู ั ้ การออกแบบระบบ เช่น การออกแบบรูปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบ รูปแบบการนาเข้ าข้ อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี ้ 1. จานวนและประเภทเนือหาของข้ อมูล (Content) ต้ องมีเพียงพอ ครบถ้ วนสมบูรณ์ ้ นาเสนอเฉพาะข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกันและแยกเป็ นระบบงานย่อย 2. รู ปแบบ (Form) การนาเสนอข้ อมูลต้ องอยูในรูปแบบที่ผ้ ใช้ ระบบเข้ าใจง่าย เช่น การ ่ ู นาเสนอข้ อมูลสรุปด้ วยกราฟดีกว่าการนาเสนอข้ อมูลสรุปในรูปแบบตาราง 3. รู ปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็ นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ หรือเครื่องพิมพ์ เพราะการกาหนดรูปแบบ และรายละเอียดมีความแตกต่างกัน
  • 20. 2.3 ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน เป็ นขันตอนเขียนคาสังควบคุมงาน ด้ วยภาษาคอมพิวเตอร์ ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่ ้ ่ กาหนดไว้ ต้ องลาดับคาสังตามขันตอนที่วิเคราะห์ไว้ สาหรับขันตอนการเขียนคาสังงาน มี ่ ้ ้ ่ แนวทางดาเนินงานดังนี ้ 1. จัดทีมงานในองค์ กรวิเคราะห์ และพัฒนาระบบงานเอง ข้ อดี คือ ปรับแก้ ไขโปรแกรมได้ ตามต้ องการ ได้ รับความร่วมมือจากคนในองค์กรใน ระดับดี เพราะเป็ นกลุมบุคคลในองค์การเดียวกัน ่ ข้ อเสีย คือ หากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็ นการทางานเฉพาะกิจ จะเกิด ความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานล่าช้ า หรืองานไม่เสร็จสิ ้นตามกาหนด
  • 21. 2.3 ขั้นดาเนินการเขียนคาสั่งงาน 2. จัดซือโปรแกรมสาเร็ จรู ป ้ ข้ อดี คือ มีโปรแกรมที่นามาใช้ กบงานได้ ทนที งานขององค์กรไม่หยุดชะงัก และมี ั ั บริการอบรมการใช้ โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้ งานง่าย ข้ อเสีย คือ โปรแกรมสาเร็จรูปมีข้อจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความต้ องการ ผู้ใช้ ระบบได้ ครอบคลุมทุกด้ าน และผู้ใช้ ไม่สามารถแก้ ไขข้ อจากัดต่างๆ ของ โปรแกรมได้ ด้วยตนเอง 3. จัดจ้ าบริ ษัทพัฒนาระบบ ข้ อดี คือ พัฒนาระบบงานได้ รวดเร็วเพราะมีทีมงานที่มีความชานาญงาน ระบบงาน ตรงตามความต้ องการของผู้ใช้ ระบบ ข้ อเสีย คือ ค่าจ้ างการพัฒนามีราคาสูง เพราะต้ องวิเคราะห์ระบบงานใหม่ และรวมราคา การบารุงรักษาโปรแกรมในอนาคตไว้ แล้ ว
  • 22. 2.4 ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม ข้ อผิดพลาดที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุปมี 2 รูปแบบ คือ 1. ข้ อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ คาสังผิดรูปแบบไวยากรณ์ทภาษากาหนดไว้ (Syntax Errors) ่ ี่ 2. ข้ อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Errors) มีแนวทางจัดฝึ กอบรมการใช้ โปรแกรม ดังนี ้ 1. ฝึ กอบรมโดยวิทยากร ใช้ วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้ อมูลนาเข้ า เพื่อทดสอบระบบ 2. เรี ยนรู้ด้วยตนเอง ผู้ใช้ ระบบศึกษาอ่านจากคูมือระบบงาน หรื อใช้ ซีดีรอมเรี ยนรู้ด้วยตนเอง ่
  • 23. 2.5 ขั้นจัดทาคู่มือระบบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พฒนาระบบจะต้ องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคูมือ ั ่ การใช้ ระบบงาน คูมือระบบงานมีหลายแบบ เช่น ่ 1. คู่มือสาหรั บผู้ใช้ ระบบ (User Documentation) เป็ นส่วนอธิบายขันตอนการทางานของ ้ ระบบ เพื่อให้ ผ้ ใช้ ระบบเรียนรู้การทางาน เช่น วิธีกรอกข้ อมูลในส่วนต่างๆ ู 2. คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผู้ดแลระบบ เช่น ขันตอนการ ู ้ ติดตังโปรแกรม การแก้ ปัญหาระบบงานขันพื ้นฐาน ้ ้
  • 24. 2.6 ขั้นการติดตั้ง เป็ นขันตอนนาระบบใหม่ทผ่านการทดสอบ และได้ รับการยอมรับจากกลุมตัวแทน ้ ี่ ่ ผู้ใช้ ระบบว่าสามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ ระบบงานใหม่ดงนี ้ ั 1. ติดตังระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทังหมด และใช้ ระบบงานใหม่ ทันที (Direct ้ ้ Changeover) วิธีนี ้สะดวกกับผู้ใช้ คือ ทางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก ระบบงานใหม่มีปัญหาจะไม่สามารถใช้ งานระบบใดได้ เลย 2. ติดตังระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็ นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน ้ เพื่อปองกันปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นกับระบบงานใหม่ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาด ้ ที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ ้นได้ แต่เป็ นการเพิ่มภาระงานของผู้ใช้ ระบบที่ต้องทางานทัง้ 2 ระบบ จนกว่าจะแน่ใจว่าระบบงานใหม่ สามารถใช้ รองรับการทางานได้ โดยไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ
  • 25. 2.6 ขั้นการติดตั้ง 3. ติดตังระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็ นการติดตังระบบย่อยทีละระบบ ้ ้ จากระบบงานทังหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทางาน หากมีข้อผิดพลาดที่เฟสใดจะ ้ ดาเนินการแก้ ไขเฉพาะเฟสนันก่อน จากนันจึงขยายจนครบทังระบบ ้ ้ ้ 4. ติดตังระบบแบบโครงการนาร่ อง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของ ้ หน่วยงานในองค์กรที่มีความสาคัญและความจาเป็ น พิจารณาผลงานทีได้ หากไม่มีปัญหา ่ เรื่องใด จึงขยายระบบงานต่อไป
  • 26. 2.7 ขั้นการบารุงรักษา เป็ นการดูแลระบบงานหลังติดตังระบบ ให้ อยูในสภาพร้ อมใช้ งานได้ ตลอดเวลา ้ ่ สาเหตุที่ต้องบารุงรักษา มีดงนี ้ ั 1. การบารุ งรั กษาด้ วยการแก้ ไขระบบให้ ถกต้ อง (Corrective Maintenance) เป็ น ู ข้ อผิดพลาดที่เกิดขึ ้นหลังจากมีการใช้ ข้อมูลจริงในระบบงาน ซึงตรวจสอบไม่พบในขันการ ่ ้ ทดสอบระบบ 2. การบารุ งรั กษาด้ วยการปรั บปรุ งให้ ดีขน (Perfective Maintenance) เป็ นการปรับ ึ้ ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุงการคานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม นโยบายของรัฐ 3. การบารุ งรั กษาด้ วยการปองกัน (Preventive Maintenance) เช่น ปองกันการเกิด ้ ้ ความสูญหายของข้ อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟา การทาระบบสารองข้ อมูล การปองกัน ้ ้ ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุกข้ อมูล (Hacker)
  • 27. 3. แนวทางสร้ างโปรแกรมประยุกต์ งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็ นงานโปรแกรมเพื่อใช้ แก้ ปัญหางานคานวณในสาย วิชาชีพเฉพาะสาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนันหากผู้สร้ างงานโปรแกรม ้ เป็ นผู้อยูในสายวิชาชีพนันย่อมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสัง ่ ้ ่ ควบคุมการทางานได้ ดี ถูกต้ องกว่าให้ ผ้ อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลกษณะตอบสนองความ ู ั ต้ องการของผู้ใช้ ระบบได้ มากที่สด และสามารถปรับระบบงานได้ ด้วยตนเอง มีแนวทาง ุ ดาเนินงานสร้ างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี ้
  • 28. 3.1 ขั้นวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น ้ อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนัน เพื่อ ้ วิเคราะห์ย้อนกลับไปถึงที่มาของข้ อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้ อมูลที่ต้องปอนเข้ าระบบเพื่อ ้ ใช้ ในสมการ แนวทางการวิเคราะห์ระบบงานเบื ้องต้ นโดยสรุปมีขนตอนย่อยดังนี ้ ั้ 1) สิ่งที่ต้องการ 2) สมการคานวณ 3) ข้ อมูลนาเข้ า 4) การแสดงผล 5) กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั 6) ลาดับขันตอนการทางาน ้
  • 29. 3.2 ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขันตอน ึ ุ ้ กระบวนการแก้ ปัญหางานเพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ตามต้ องการ ก่อนไปสูขนตอนการเขียนคาสังงาน ่ ั้ ่ และกรณีโปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้ อนกลับมาตรวจสอบที่ขนตอนนี ้ได้ ั้
  • 30. 3.3 ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็ นขันตอนเขียนคาสังควบคุยตามลาดับการทางานที่ได้ วิเคราะห์ไว้ ในกระบวนการ ้ ่ วางแผนลาดับการทางาน ขันตอนนี ้ต้ องใช้ คาสังให้ ถกต้ องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การ ้ ่ ู ใช้ งานคาสัง ทีแต่ละภาษาได้ กาหนดได้ ่ ่
  • 31. 3.4 ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผ้ สร้ างระบบงานและผู้ใช้ ระบบงานเป็ นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขนตอน ู ั้ เดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสังงาน และทดสอบโดยใช้ ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่ ่ กรณีที่ผ้ สร้ างระบบงานและผู้ใช้ ระบบงานมิใช่คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ู ทดสอบโดยผู้สร้ างระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ ผ้ ใช้ ระบบงานเป็ นผู้ทดสอบ หากมี ู ข้ อผิดพลาดใดจะถูกส่งกลับไปให้ ผ้ สร้ างระบบงานแก้ ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้ องแล้ วจึง ู ส่งมอบระบบงาน
  • 32. 3.5 ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ ผลลัพธ์การทางานถูกต้ อง ต้ องจัดทาเอกสาร ประกอบการใช้ โปรแกรมด้ วย คูมือระบบงานที่งายที่สดคือ รวบรวมเอกสารที่จดทาจาก ่ ่ ุ ั 3.1-3.4 มารวมเล่ม นอกนันอาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้ โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอน ้ ้ ข้ อมูล หรืออาจมีวิธีติดตังโปรแกรมระบบงาน รวมทังคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถนา ้ ้ โปรแกรมไปใช้ งาน เป็ นต้ น
  • 33. 4. การลาดับขั้นตอนงานด้ วยผังงาน ผังงานเป็ นขันตอนการทางานทางคอมพิวเตอร์ อย่างหนึ่ง มีจดประสงค์เพื่อแสดง ้ ุ ลาดับการควบคุมการทางาน โดยใช้ สญลักษณ์ที่กาหนดความหมายใช้ งานเป็ นมาตรฐาน ั เชื่อมโยงการทางานด้ วยลูกศร ในที่นี ้กล่าวถึงการลาดับขันตอนการทางานด้ วยผังงานประเภท ้ ผังงานโปรแกรม ดังนี ้
  • 36. 4.2 หลักในการเขียนผังงาน ข้ อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ ผ้ อานระบบงาน ใช้ ศกษา ตรวจสอบลาดับการ ู่ ึ ทางานได้ งาย ไม่สบสน มีแนวทางปฏิบติ ดังนี ้ ่ ั ั 1. ทิศทางการทางานต้ องเรี ยงลาดับตามขันตอนที่ได้ วิเคราะห์ไว้ ้ 2. ใช้ ชื่อหน่วยความจา เช่น ตัวแปร ให้ ตรงกับขันตอนที่ได้ วิเคราะห์ไว้ ้ 3. ลูกศรกากับทิศทางใช้ หวลูกศรตรงปลายทางเท่านัน ั ้ 4. เส้ นทางการทางานห้ ามมีจดตัดการทางาน ุ 5. ต้ องไม่มีลกศรลอยๆ โดยไม่มีการต่อจุดการทางานใดๆ ู 6. ใช่สญลักษณ์ให้ ตรงกับความหมายการใช้ งาน ั 7. หากมีคาอธิบายเพิ่มเติมให้ เขียนไว้ ด้านขวาของสัญลักษณ์นน ั้
  • 37. 4.3 ประโยชน์ ของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ นนมีประโยชน์ ดังนี ้ ั้ 1. ทาให้ มองเห็นรูปแบบของงานได้ ทงหมด โดยใช้ เวลาไม่มาก ั้ 2. การเขียนผังงานเป็ นสากล สามารถนาไปเขียนคาสังได้ ทกภาษา ่ ุ 3. สามารถตรวจสอบข้ อผิดพลาดของโปรแกรมได้ อย่างรวดเร็ ว
  • 38. 4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานขอบ ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว ในส่วนนี ้เป็ นการ นาเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี ้ 4.4.1 การเขียนผังงานแบบเรี ยงลาดับ แสดง ขันตอนการทางานตามลาดับ เช่น ้
  • 39. 4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน 4.4.2 การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทางาน แสดงขันตอนการทางานที่มลกษณะกาหนดเงื่อนไขทาง ้ ี ั ตรรกะ ให้ ระบบสรุปว่าจริงหรือเท็จ เพื่อเลือกทิศทาง ประมวลผลคาสังที่ได้ กาหนดไว้ เช่น ่
  • 40. 4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน 4.4.3 การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขก่ อนวนซา ้ แสดงขันตอนการทางานที่มลกษณะ กาหนดเงื่อนไขทาง ้ ี ั ตรรกะให้ ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ ้า หรือออกจากการวนซ ้า เช่น
  • 41. 4.4 รูปแบบการเขียนผังงาน 4.4.4 การเขียนผังงานแบบตรวจสอบเงื่อนไขหลังวนซา ้ แสดงขันตอนการทางานที่มลกษณะทางานก่อน 1 รอบ แล้ ว ้ ี ั จึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ ้า หรือออกจากการวนซ ้า เช่น
  • 42. 5. กรณีศึกษาการวิเคราะห์ ระบบงานและผังงาน ในที่นี ้ยกตัวอย่างแสดงการวิเคราะห์ระบบงานเบื ้องต้ น และเขียนลาดับการ ทางานด้ วยผังงานโปรแกรม เพื่อใช้ ประมวลผลระบบงานระดับพื ้นฐานคือ ประมวลผลแบบ ไม่มีเงื่อนไข ประมวลผลแบบมีเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจเลือกทางทางาน ประมวลผลลักษณะวน ซ ้า อธิบายการทางานเรื่องต่างๆเหล่านี ้ด้ วยกรณีศกษาในลาดับต่อไป ึ
  • 43. 5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข ่ หมายถึงการทางานที่เรียงลาดับตามคาสังงานโดยรับค่าข้ อมูล เพื่อบันทึกลง ่ หน่วยความจา ซึงอาจเป็ นค่าคงที่หรือตัวแปร เพื่อนาไปประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนด แล้ ว ่ อ่านค่าจากหน่วยความจาตัวแปรทีดาเนินการประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนดไว้ เพื่อแสดงผล ่ ทางอุปกรณ์ที่ระบุ ยกตัวอย่างงานดังนี ้ โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณยอดขายเฉลี่ยพนักงานขายแต่ละราย กาหนดการแสดงผล ดังนี ้
  • 44. 5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข ่ แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม ้ 1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น ้ 1.1 สิงที่ต้องการ ่ ค่าเฉลียยอดขาย ่ 1.2 สมการคานวณ ค่าเฉลียยอดขาย = ยอดขาย / จานวนสินค้ า ่ 1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย จานวนสินค้ า 1.4 การแสดงผล ตามโจทย์กาหนด
  • 45. 5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข ่ 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั 1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action) ้ 1) พิมพ์หวข้ อรายงาน ั 2) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย(sum) ้ จานวนสินค้ า (num) 3) คานวณค่าเฉลี่ยยอดขาย (avg) = sum/num 4) พิมพ์ avg 5) จบการทางาน
  • 46. 5.1 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่ มีเงือนไข ่ 2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
  • 47. 5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน ่ การทางานแบบมีเงื่อนไขเลือกทางาน มีลกษณะการทางานทีต้องกาหนดเงื่อนไข ั ่ แบบตรรกะไว้ ลวงหน้ าเมื่อมีข้อมูลตรงตามที่กาหนด ระบบจะเลือกทางประมวลผลตามคาสัง ่ ่ ทางใดทางหนึ่งเท่านัน ยกตัวอย่างดังนี ้ ้ โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไขดังนี ้ ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขายนอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาบ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
  • 48. 5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน ่ แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม ้ 1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น ้ 1.1 สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน 1.2 สมการคานวณ เลือกคานวณค่าโบนัสตามเงื่อนไขดังนี ้ ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ คานวณโบนัส = ยอดขาย * 10/100 1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน 1.4 การแสดงผล ตามโจทย์กาหนด
  • 49. 5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน ่ 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั 1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action) ้ 1) พิมพ์หวข้ อรายงาน ั 2) ปอนข้ อมูล รหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) ้ 3) คานวณ โบนัส (bonus) ตามเงื่อนไขดังนี ้ ถ้ า sum > 50000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100 4) พิมพ์ bonus 5) จบการทางาน
  • 50. 5.2 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงือนไขเลือกทางทางาน ่ 2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
  • 51. 5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม ่ การควบคุมการวนซ ้าหมายถึง การทางานที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อวนซ ้าการ ทางาน หรือออกจากระบบการทางาน แนวคิด การให้ ระบบนับจานวนเพิ่มค่าทีละ 1 เช่น ให้ หน่วยความจาชื่อ num เป็ นตัวแปรนับจานวนพนักงาน ใช้ สมการ num = num + 1 อธิบาย รอบการทางานที่ 1 num = num + 1 รอบการทางานที่ 2 num = num + 1 ดังนันหากวนซ ้า 2 รอบ num จึงมีคาเป็ น 2 หมายถึงพนักงานมี 2 คนนันเอง ้ ่ ่
  • 52. 5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม ่ โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงานกาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อไขดังนี ้ - ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาย กาหนดเงื่อนไขการวนซ ้า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึงการเลิกวนซ ้า และ ให้ แสดงตัวเลขผลรวมจานวนพนักงานทังหมดที่คานวณในครังนี ้ ้ ้ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
  • 53. 5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม ่ แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม ้ 1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น้ 1.1 สิงที่ต้องการ โบนัสพนักงาน จานวนพนักงาน ่ 1.2 สมการคานวณ 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้ ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย *30/100 นอกเหนือจากนี ้ คานวณโบนัส = ยอดขาย *10/100 2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี ้ จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน +1 1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
  • 54. 5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม ่ 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั 1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action) ้ 1) พิมพ์หวข้ อรายงาน ั 2) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 3) ตรวจสอบค่าของ no ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 3.1 – 3.6 นอกจากนี ้ ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 4
  • 55. 5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม ่ 3.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) ้ 3.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100 3.3) พิมพ์ bonus 3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num) num = num + 1 3.5) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 3.6) วนกลับไปข้ อ 3 4) พิมพ์คา num ่ 5) จบการทางาน
  • 56. 5.3 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาผลรวม ่ 2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม อธิบาย ( no != 0 ) หมายถึงหน่วย ความทรงจาของตัวแปรชื่อ no มีคา่ ไม่เท่ากับ 0
  • 57. 5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย ่ ่ แนวคิด 1. การหาค่าเฉลี่ยมาจาก ผลรวมของค่าค่าหนึ่ง / จานวน 2. การให้ ระบบเก็บข้ อมูลในลักษณะสะสมเพิ่มค่า เช่น ให้ หน่วยความจาชื่อ sum เป็ นตัวแปรเก็บสะสมค่าโบนัสรวม ที่ใช้ ตวแปรชื่อ ั bonus ใช้ สมการ sum = sum + bonus กาหนดข้ อมูลสมมติ เช่น คานวณโบนัสรอบการทางานที่ 1 ได้ 3000 รอบการ ทางานที่ 2 ได้ 2000 อธิบาย รอบการทางานที่ 1 sum = sum + bonus รอบการทางานที่ 2 sum = sum + bonus ดังนันหากวนซ ้า 2 รอบ sum จึงมีคาเป็ น 5000 นันเอง ้ ่ ่
  • 58. 5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย ่ ่ โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี ้ ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย นอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาย กาหนดเงื่อนไขการวนซ ้า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ ้า และแสดง ข้ อมูลโบนัสรวม ค่าโบนัสเฉลี่ย และจานวนพนักงาน กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
  • 59. 5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย ่ ่ แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม ้ 1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น ้ 1.1 สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสเฉลี่ย จานวนพนักงาน 1.2 สมการคานวณ 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้ ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100 2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี ้ จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน + 1 3) โบนัสพนักงานทุกราย คานวณสมการดังนี ้ โบนัสรวม = โบนัสรวม + โบนัส 4) ค่าเฉลี่ยโบนัส คานวณสมการดังนี ้ โบนัสเฉลี่ย = โบนัสรวม / จานวนพนักงาน
  • 60. 5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย ่ ่ 1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั
  • 61. 5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย ่ ่ 1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action) ้ 1) พิมพ์หวข้ อรายงาน ั 2) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 3) ตรวจสอบค่าของ no ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 3.1 -3.7 นอกจากนี ้ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 4 3.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) ้ 3.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100
  • 62. 5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย ่ ่ 3.3) พิมพ์ bonus 3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num) num = num + 1 3.5) คานวณโบนัสรวม (sum_bonus) sum_bonus = sum_bonus + bonus 3.6) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 3.7) วนกลับไปข้ อ 3 4) คานวณโบนัสเฉลี่ย (avg_bonus) = sum_bonus/num 5) พิมพ์คา num sum_bonus, avg_bonus, num ่ 6) จบการทางาน
  • 63. 5.4 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าเฉลีย ่ ่ 2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
  • 64. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด ่ แนวคิด การหาค่ามากที่สด ุ 1. ใช้ วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่ามากที่สด (max_bonus) เริ่มต้ นมีคา 0 ุ ่ 2. ปอนค่าตัวเลขที่ต้องการนามาเปรียบเทียบ (max_bonus) ้ 3. เปรียบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า 3.1) max_bonus > bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ max_bonus = bonus (นาค่า bonus ไปไว้ ใน max_bonus) 3.2) max_bonus <= bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ max_bonus = max_bonus (เก็บค่าเดิม) * เมื่อค่าสิ ้นสุดการวนซ ้า ค่าที่อยูใน max_bonus คือค่าที่มากที่สด ่ ุ
  • 65. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด ่ โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี ้ - ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาย กำหนดเงือนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ ้า และแสดงตัวเลข ่ โบนัสค่ามากที่สด ของพนักงานกลุมนี ้ ุ ่ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
  • 66. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด ่ แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม ้ 1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น ้ 1.1 สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่ามากที่สด ุ 1.2 สมการคานวณ 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้ ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100 2) โบนัสค่ามากที่สด คานวณสมการดังนี ้ ุ ถ้ าโบนัส > ค่าโบนัสมากที่สดให้ ค่าโบนัสมากที่สด = โบนัส ุ ุ นอกเหนือจากนี ้ โบนัสค่ามากที่สด = โบนัสค่ามากที่สด ุ ุ 1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
  • 67. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด ่ 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั 1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action) ้ 1) พิมพ์หวข้ อรายงาน ั 2) กาหนดโบนัสค่ามากที่สด (max_bonus) = 0 ุ 3) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 4) ตรวจสอบค่าของ no ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 4.1 -4.6 นอกจากนี ้ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 5
  • 68. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ ามากที่สุด ่ 4.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) ้ 4.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100 4.3) พิมพ์ bonus 4.4) คานวณ max_bonus ถ้ าbonus > max_bonus ประมวลสมการ max_bonus = bonus นอกเหนือจากนี ้ ประมวลสมการ max_bonus = max_bonus 4.5) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 4.6) วนกลับไปข้ อ 4 5) พิมพ์คา max_bonus ่ 6) จบการทางาน
  • 70. 5.6 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด ่ แนวคิด การหาค่ามากที่สด ุ 1. ใช้ วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่ามากที่สด (min_bonus) เริ่มต้ นมีคา 0 ุ ่ 2. ปอนค่าตัวเลขที่ต้องการนามาเปรียบเทียบ (min_bonus) ้ 3. เปรียบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า 3.1) min_bonus > bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ min_bonus = bonus (นาค่า bonus ไปไว้ ใน min_bonus) 3.2) min_bonus <= bonus จริ ง ให้ ทางานสมการ min_bonus = min_bonus (เก็บค่าเดิม) * เมื่อค่าสิ ้นสุดการวนซ ้า ค่าที่อยูใน min_bonus คือค่าที่มากที่สด ่ ุ
  • 71. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด ่ โจทย์ : บริษัท OK ต้ องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี ้ - ถ้ ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้ โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี ้ให้ โบนัส 10% ของยอดขาย กำหนดเงือนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ ้า และแสดงตัวเลข ่ โบนัสค่ามากที่สด ของพนักงานกลุมนี ้ ุ ่ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี ้
  • 72. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด ่ แนวทางขันตอนการสร้ างงานโปรแกรม ้ 1. การวิเคราะห์ ระบบงานเบืองต้ น ้ 1.1 สิ่งที่ต้องการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่าน้ อยที่สด ุ 1.2 สมการคานวณ 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี ้ ถ้ ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100 2) โบนัสค่ามากที่สด คานวณสมการดังนี ้ ุ ถ้ าโบนัส > ค่าโบนัสน้ อยที่สดให้ ค่าโบนัสมากที่สด = โบนัส ุ ุ นอกเหนือจากนี ้ โบนัสค่าน้ อยที่สด = โบนัสค่าน้ อยที่สด ุ ุ 1.3 ข้ อมูลนาเข้ า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
  • 73. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด ่ 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั 1.6 ลาดับขันตอนการทางาน (action) ้ 1) พิมพ์หวข้ อรายงาน ั 2) กาหนดโบนัสค่าน้ อยที่สด (min_bonus) = 0 ุ 3) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 4) ตรวจสอบค่าของ no ถ้ า ( no != 0 ) ให้ วนซ ้าข้ อ 4.1 -4.6 นอกจากนี ้ให้ ออกจากการวนซ ้าไปข้ อ 5
  • 74. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด ่ 4.1) ปอนข้ อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) ้ 4.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้ า sum > 50,000 ให้ คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี ้ ให้ คานวณ bonus = sum * 10/100 4.3) พิมพ์ bonus 4.4) คานวณ min_bonus ถ้ าbonus > min_bonus ประมวลสมการ min_bonus = bonus นอกเหนือจากนี ้ ประมวลสมการ min_bonus = min_bonus 4.5) ปอนข้ อมูลรหัสพนักงาน (no) ้ 4.6) วนกลับไปข้ อ 4 5) พิมพ์คา min_bonus ่ 6) จบการทางาน
  • 75. 5.5 กรณีศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซ้าเพือหาค่ าน้ อยที่สุด ่ 2. ลาดับการทางานด้ วยผังงานโปรแกรม
  • 76. จัดทาโดย 1.นายนราธิป โรจนสุ วรพงค์ เลขที่ 1 2. นายจักรินทร์ จันทร์ แย้ม เลขที่ 4 3. นายปัญญา จันทยา เลขที่ 11 4. น.ส.นาฏอนงค์ พลอยงาม เลขที่ 21 5. น.ส.ไพลิน สื บเรือง เลขที่ 22 6. น.ส.นารีรัตน์ ณรงค์ วงศ์ วฒนา ั เลขที่ 30 7. น.ส.เมธาวี เงินยวง เลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี