SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5<br />โครงการ “ค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5”<br />หลักการและเหตุผล<br />สังคมไทยในปัจจุบันที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้สภาพสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และนวัตกรรมต่าง ๆ มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว กรุงเทพมหานครและ              เมืองใหญ่ตามภูมิภาคต่าง ๆ จึงมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกันนานาอารยธรรมประเทศที่พัฒนาแล้ว หากแต่การกระจายความเจริญเหล่านี้ คงอยู่แต่ในพื้นที่เมืองหลวงและเมืองใหญ่เท่านั้น ในพื้นที่อื่น ๆ             ที่อยู่ห่างไกลออกไปกลับไม่ได้รับการพัฒนาตามตัวเลข ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ถนนที่เป็นดินลูกรัง โรงเรียนที่ไม่มีอาคารการศึกษา ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานต่าง ๆ ที่ไม่เอื้อต่อสุขลักษณะพื้นฐาน นับเป็น                สิ่งที่เกิดขึ้นและยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน ด้วยสภาพปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น หลายภาคส่วนที่เห็นความสำคัญของปัญหาเหล่านี้ จึงได้ร่วมมือกันที่จะพัฒนาพื้นที่ที่ห่างไกลเหล่านี้ ให้ได้รับสิ่งสาธารณูปโภคพื้นฐาน              ในการดำรงชีวิต ก่อกำเนิดเป็นกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาชนบทขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ มีการรวมกลุ่ม                 จัดหางบประมาณ ลงมือลงแรงในการก่อสร้างและพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ในพื้นที่ที่ขาดแคลน รวมถึง                     กลุ่มเยาวชน นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้เป็นอนาคตของชาติ ต่างก็เข้ามามีบทบาท มีส่วนร่วมในการ              จัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาชนบทเหล่านี้ด้วย <br />คำว่า “อาสาพัฒนา” ในปัจจุบัน ไม่ควรเป็นการอาสาพัฒนาเพียงแค่วัตถุภายนอกเท่านั้น หากแต่การอาสาพัฒนาควรหมายรวมถึงการพัฒนาคุณภาพของจิตใจ ไม่เฉพาะแต่ชุมชนท้องถิ่นเท่านั้น แกนนำเยาวชนที่อาสาตนเข้าไปพัฒนา ก็ควรมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพจิตใจของตนเองด้วยเช่นกัน  เพื่อให้เป็นต้นแบบของเยาวชนในท้องถิ่นและเป็นแบบอย่างที่ดีในการเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมต่อไป พร้อมกันนี้ก็ควรที่จะมีโอกาสได้ศึกษา แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ท้องถิ่น เพื่อที่จะได้เข้าใจสภาพปัญหาที่แท้จริงของพื้นที่ห่างไกล เมื่อเยาวชนเหล่านี้ ได้ลงพื้นที่ศึกษาปัญหาเชิงประจักษ์แล้วเติบโตขึ้นมาเป็นกำลังหลักสำคัญในการพัฒนาสังคม ในการพัฒนาประเทศชาติ                  เขาจะได้เข้าใจสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชน นำไปสู่การแก้ปัญหาความเลื่อมล้ำทางสังคมได้                อย่างแท้จริงและยั่งยืน<br />“ห้องสมุด” นับเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญยิ่ง เนื่องจากหากนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เขาจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เป็นภูมิคุ้มกัน             ในการเสริมสร้างสุขภาวะได้ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ทำให้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ อันจะส่งผลให้ลดปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ด้วยความตระหนักถึงความสำคัญของการเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมอาสาพัฒนา ประกอบกับจุดมุ่งหมายที่สำคัญ           ของเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ Youth for Next Step คือ การพัฒนาแกนนำเยาวชน ให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีจิตอาสา จึงได้ร่วมกันดำเนินโครงการ “Youth Volunteer Revolution Camp : ค่ายเยาวชนปฏิวัติ จิตอาสาพัฒนาชนบท” ขึ้น จัดสร้างอาคารห้องสมุดให้แก่โรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย    อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างวันที่ 21 – 27 มีนาคม 2554 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาแกนนำเยาวชนให้มีจิตอาสา ทำกิจกรรมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น มุ่งสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อให้เป็นต้นแบบ ของค่ายอาสาพัฒนาชนบทที่มุ่งประโยชน์สู่ชุมชนอย่างแท้จริง  ด้วยปณิธานที่แน่วแน่ในการพัฒนาสังคมและเยาวชนให้เป็นคนเก่ง ดี และมีจิตอาสา จึงเชื่อได้ว่าโครงการดังกล่าวจะเป็นแบบแผนของการพัฒนาค่ายอาสาพัฒนาชนบทให้สามารถพัฒนาชุมชนไปพร้อมกับการพัฒนาตนเอง ให้เกิดจิตอาสา              อย่างแท้จริงจากเยาวชนที่รักในการพัฒนาตนเองและชุมชนท้องถิ่น กิจกรรมภายในโครงการ จึงเป็น               การหลอมรวม และผสมผสานการพัฒนาทั้งกาย ใจ และเติมเต็ม จิตวิญญาณแห่งความเป็นเยาวชน                ที่จะก้าวขึ้นมาเป็นกำลังหลักสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต <br />วัตถุประสงค์โครงการ<br />ข้อ 1. เพื่อสร้างและพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในท้องถิ่นห่างไกล ส่งเสริมและพัฒนาความมีจิตอาสา   ให้เกิดขึ้นกับแกนนำเยาวชน ชุมชน และสังคมผ่านกิจกรรมค่ายอาสา<br />ข้อ 2. เพื่อพัฒนาแกนนำเครือข่ายเยาวชนให้มีความเป็นผู้นำเป็นเยาวชนต้นแบบ                  ทั้งทางด้านความเก่ง ดี มีจิตอาสา<br />ข้อ 3. เพื่อสร้างกระบวนการศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการและชุมชน นำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไข บูรณาการประยุกต์ใช้ในพื้นที่ต่าง ๆ<br />ข้อ 4. เพื่อสร้างแบบแผนกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาที่เน้นการพัฒนาทั้งทางกาย จิตใจ และ                 จิตวิญญาณของการเป็นผู้ให้อย่างแท้จริง<br />ข้อ 5. เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้เกิดความตระหนักในการมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตน<br />ข้อ 6. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรมกับประชาชนผู้อยู่ในพื้นที่<br />พื้นที่ดำเนินโครงการ<br />โรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย ตำบลหนองปรือ อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี<br />ระยะเวลาการดำเนินโครงการ<br />ระหว่างวันที่ 21 – 27 มีนาคม 2554<br />กลุ่มเป้าหมาย<br />กลุ่มเป้าหมายหลัก แกนนำเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ Youth for Next Step (องค์กรสาธารณะประโยชน์) ประกอบด้วย <br />- เยาวชนระดับอุดมศึกษา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยบูรพา<br />- เยาวชนระดับมัธยมศึกษา จากกรุงเทพมหานคร นนทบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี ระยอง ปทุมธานี นครนายก พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และราชบุรี<br />จำนวนประมาณ ๑๐๐ คน<br />กลุ่มเป้าหมายรอง นักเรียน บุคลากรของโรงเรียน และประชาชนบริเวณโดยรอบ <br />จำนวนประมาณ ๑๐๐ คน<br />รวมผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 200 คน<br />ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />ข้อ 1. โรงเรียนและชุมชนบ้านหนองสาหร่าย จังหวัดกาญจนบุรี มีห้องสมุดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และการศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติมของโรงเรียนและชุมชน พร้อมทั้งได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อสร้างบรรยากาศต่อการศึกษาเรียนรู้<br />ข้อ 2. แกนนำเยาวชนได้รับการพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ทักษะและคุณธรรม และสามารถเป็นต้นแบบที่ดีของนักเรียนเยาวชนในพื้นที่ได้ทั้งทางด้านความเก่ง ดี และมีจิตอาสา <br />ข้อ 3. เกิดกระบวนการเรียนรู้แลกเปลี่ยนขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการและชุมชน สามารถนำเสนอผลการศึกษาเผยแพร่สูสาธารณชนได้ ตลอดจนบูรณาการประยุกต์ใช้องค์ความรู้จากการศึกษาไปพัฒนาในพื้นที่อื่นต่อไป<br />ข้อ 4. เกิดแบบแผนกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมและองค์กรกิจกรรมอื่น ๆ ให้เน้นการพัฒนาทั้งทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของการเป็นผู้ให้อย่างแท้จริง<br />ข้อ 5. ชุมชนเกิดความเข้มแข็งและตระหนักถึงบทบาทในการร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ของตน เกิดความรัก ความผูกพัน และความสามัคคีระหว่างชุมชน<br />ข้อ 6. เกิดความสัมพันธ์อันดีและเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการกับชุมชน เปลี่ยนมุมมองและทัศนคติของเยาวชน ในการทำกิจกรรมอาสาพัฒนา เปลี่ยนมุมมองและทัศนคติของประชาชนให้เล็งเห็น ถึงศักยภาพของเยาวชนที่สามารถสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้กับสังคมได้<br />สรุปผลการดำเนินกิจกรรม<br />กิจกรรมที่ 1ผ้าป่าการกุศล <br />รูปแบบการดำเนินงาน   <br />กิจกรรม “ผ้าป่ามหากุศล” มีวัตถุประสงค์ในการบอกบุญจัดหาทุนทรัพย์สำหรับใช้                ในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อใช้สร้างอาคารโรงอาหารขนาด 6 x 9 ตารางเมตร และปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียน ป้ายสื่อการเรียนรู้ตามบริเวณต่าง ๆ ของโรงเรียน โดยการดำเนินงานก่อนวันทอดผ้าป่าสามัคคี เป็นการประสานความร่วมมือระหว่าง ชุมชน บริเวณโดยรอบโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย                 และเครือข่ายเยาวชนฯ ในส่วนของทางโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายจะเป็นผู้ดำเนินการจัดพิมพ์ซองผ้าป่า และจัดหาประธาน กรรมการกองผ้าป่า และร่วมบอกบุญประชาชนในพื้นที่ชุมชนบ้านหนองสาหร่าย             ส่วนทางเครือข่ายเยาวชนฯ ดำเนินการในส่วนของบอกบุญซองผ้าป่าในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล  ภาคกลาง  ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกตามภูมิลำเนาของแกนนำเยาวชนในเครือข่ายฯ และจะนำทุนทรัพย์ที่ได้จากการรวบรวมทั้งหมดเครือจากโรงเรียน ชุมชน เครือข่ายเยาวชนฯ ดำเนินกิจกรรมทอดผ้าป่าการศึกษา จัดสร้างอาคารห้องสมุดในวันที่ 17 มีนาคม 2554                โดยนิมนต์พระสงฆ์จำนวน 9 รูป มาทำพิธีสงฆ์และเชิญชวนประชาชนเข้าร่วมพิธีเพื่อเป็นสักขีพยานร่วมกัน และเป็นเสมือนกิจกรรมแรกเริ่มที่นำไปสู่การสานความร่วมมือระหว่างชุมชนและเครือข่ายเยาวชนฯ              ในกิจกรรมต่อไป <br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และกำหนดรายชื่อคณะกรรมการร่วมกัน<br />2. แบ่งหน้าที่ดำเนินงานและประชาสัมพันธ์ โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้จัดทำซองผ้าป่า และร่วมกับทางเครือข่ายฯ ในการบอกบุญกองผ้าป่าในพื้นที่ต่าง ๆ ร่วมกัน<br />3. รวบรวมเงินผ้าป่าและดำเนินการทอดผ้าป่าเมื่อครบกำหนดตามวัน เวลา และสถานที่ ที่กำหนด<br />4. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและประเมินผลโครงการโดยการสังเกตการณ์ผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้ร่วมทำบุญ<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค ได้ทำกิจกรรม “เปิดหมวก” เรี่ยไรงบประมาณสนับสนุนการจัดสร้างห้องสมุดโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการดำเนินโครงการ ตลอดจนนำซองผ้าป่าที่ทางโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายจัดทำขึ้นไปบอกบุญ                  กับญาติผู้ใหญ่ และครอบครัว โดยนำเงินงบประมาณดังกล่าวมอบให้แก่คณะกรรมการโรงเรียน                    บ้านหนองสาหร่าย ที่ได้มีการรวบรวมซองผ้าป่าในพื้นที่บริเวณโดยรอบโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และ            ได้จัดให้มีพิธีทอดผ้าป่าสามัคคีขึ้นที่โรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2554 โดยมีการนิมนต์พระสงฆ์จำนวน ๕ รูป เพื่อมาประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ในช่วงสาย ถวายภัตตาหารเพล                 และร่วมกันรับประทานอาหารกลางร่วมกัน โดยมีคณะครู – อาจารย์ นักเรียน ประชาชนในพื้นที่ และตัวแทนคณะกรรมการดำเนินโครงการเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 100 คน <br />ปัญหา/อุปสรรค<br />-<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />-<br />กิจกรรมที่ 2อุทิศตนสร้างห้องสมุด <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />เครือข่ายเยาวชนฯ ร่วมกับประชาชนชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ดำเนินการสร้างอาคารห้องสมุด ขนาด 6 * 9  ตารางเมตร พร้อมติดตั้งประตู หน้าต่าง และหลังคา เพื่อใช้เป็นสถานที่ศูนย์กลาง ในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมของนักเรียน เยาวชน ชุมชนในพื้นที่บริเวณโดยรอบโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และเป็นสถานที่สำหรับรวบรวมขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การประกอบอาชีพ ทรัพยากร         ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน ให้นักเรียน เยาวชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษาเรียนรู้ โดยเฉพาะประชาชนในชุมชนจะได้เกิดความภาคภูมิใจและหวงแหนสิ่งที่ดีงามที่มีอยู่ภายในชุมชนของตน<br />“ห้องสมุด” นับเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญยิ่ง เนื่องจากหากนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เขาจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เป็นภูมิคุ้มกัน            ในการเสริมสร้างสุขภาวะได้ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ทำให้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ อันจะส่งผลให้ลดปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบันได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน <br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบอาคารร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าในการดำเนินงาน โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้ประสานงานหาช่าง              ที่มีฝีมือในการก่อสร้างมาเป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ และดำเนินการ ทางเครือข่ายเยาวชนฯ จะเป็นกำลังหลักสำคัญในการดำเนินการก่อสร้าง และร่วมกันจัดหางบประมาณเพื่อสนับสนุนการก่อสร้างอาคาร<br />3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และปรับปรุงสถานที่<br />4. ดำเนินการก่อสร้างอาคารโรงอาหารร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ นักเรียน และประชาชนในชุมชน ซึ่งในระหว่างการดำเนินโครงการ แกนนำเยาวชนฯ จะรักษาศีล 5 เป็นพื้นฐานตลอดการจัดกิจกรรม และจะไม่มีการเสพอบายมุขใด ๆ ทั้งสิ้น ในขณะเดียวกันก็จะพูดคุยทำความเข้าใจ และรณรงค์ให้ชาวบ้านที่มาร่วมสร้างอาคารห้องสมุดได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการมีสุขภาพที่ดี โดยไม่ต้องพึ่งพาสิ่งเสพติดหรืออบายมุข <br />5. สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรมในแต่ละวัน โดยสังเกตการณ์จากความคืบหน้าตามกำหนดการก่อสร้าง<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค คณะครู – อาจารย์ นักเรียน และประชาชนบริเวณโดยรอบชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ได้ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจกัน สร้างห้องสมุดโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายขึ้น โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปรับพื้นที่โดยรอบโครงการก่อสร้าง การขุดหลุมตั้งเสาอาคาร ผสมปูนเทคานพื้น ขึ้นโครงสร้างหลังคา มุงกระเบื้อง เทพื้น    ก่อกำแพง ติดตั้งหน้าต่าง ทำให้เกิดความสามัคคีระหว่างหมู่คณะ ทั้งระหว่างเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ และระหว่างชาวบ้านที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมก่อสร้างอาคารห้องสมุด ซึ่งตลอดระยะเวลาการก่อสร้างอาคาร ทางคณะกรรมการดำเนินโครงการ ได้กำหนดพื้นที่บริเวณโดยรอบโครงการก่อสร้าง ตลอดจนบริเวณโดยรอบโรงเรียนให้เป็นพื้นที่ปลอดสุรา ยาเสพย์ติด และอบายมุขทุกชนิด เมื่อครบกำหนดการดำเนินโครงการ ปรากฏว่าทางคณะกรรมการและเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถจัดสร้างอาคารหลังดังกล่าวในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานแล้วเสร็จคิดเป็นร้อยละ 70 ของเนื้องานก่อสร้างที่วางแผนไว้ทั้งหมด <br />ปัญหา/อุปสรรค<br />1.ช่างฝีมือในพื้นที่ที่มีทักษะการทำงานด้านการก่อสร้างอาคาร มีความจำเป็นที่จะต้องสลับสับเปลี่ยน หมุนเวียนกันมาควบคุมงานก่อสร้าง เนื่องจากอยู่ในช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ คือ อ้อย เพื่อส่งเข้าสู่โรงงานน้ำตาล ซึ่งมีการเปิดรับซื้อเฉพาะในช่วงเวลาดังกล่าวเท่านั้น ส่งผลให้ความต่อเนื่องในการดำเนินการก่อสร้างเป็นไปได้ยาก และไม่เป็นไปตามแผน<br />2. สภาพอากาศที่แปรปรวน เนื่องจากมีฝนฟ้าคะนองในพื้นที่ดำเนินโครงการเป็นเวลา 2 วันติดต่อกัน ทำให้การดำเนินการก่อสร้างอาคารไม่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องและล่าช้ากว่าแผนการที่วางไว้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />1. ปรับลักษณะเนื้องานก่อสร้างที่สามารถดำเนินการได้ แม้จะมีฝนฟ้าคะนอง อาทิ               การผูกคานลวด การทาสีโครสร้างหลังคา (ก่อนที่จะนำขึ้นไปประกอบ) ในที่ร่ม เป็นต้น<br />2. ควรเร่งให้มีการดำเนินการขึ้นโครงสร้างหลังคาและปูกระเบื้องมุงหลังคาให้แล้วเสร็จก่อนวันดำเนินการจริง เนื่องจากการมุงหลังคาจะส่งให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถดำเนินการได้ในทุกสภาวะอากาศ หากแดดร้อนก็มีที่กำบังแดด หากฝนตกก็มีหลังคาคอยกันน้ำฝน ทำให้สามารถปฏิบัติเนื้องานอื่นได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งการเทพื้น และก่อกำแพง<br />กิจกรรมที่ 3ปรับปรุงจุดภูมิทัศน์ <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />เนื่องด้วยโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายมีแปลงผักการเกษตร ป้ายสื่อการเรียนรู้ และสนามเด็กเล่นที่มีสภาพทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ประกอบกับโรงเรียนยังไม่มีรั้วกั้นอาณาเขตบริเวณที่ชัดเจนเท่าที่ควร เครือข่ายเยาวชนฯ จึงร่วมกับนักเรียนและคณะครู – อาจารย์ ดำเนินกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบของโรงเรียน อาทิ ปรับปรุงแปลงผักการเกษตร การทาสีป้ายสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นคำศัพท์ภาษาต่างประเทศ และคติ พุทธศาสนสุภาษิต ติดตามจุดต่าง ๆ ของโรงเรียน รวมทั้งจัดหาพันธุ์ไม้พุ่มขนาดเล็กร่วมกันปลูกเป็นรั้วกั้นอาณาเขตบริเวณโรงเรียน เป็นต้น เป็นการปรับปรุงสถานที่และบริเวณโดยรอบของโรงเรียนให้มีบรรยากาศส่งเสริมต่อการเรียนรู้ของนักเรียน<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />1. ประชุมร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เพื่อสอบถามความต้องการ ของทางโรงเรียนในส่วนที่ต้องการปรับปรุงจุดภูมิทัศน์ เพื่อสร้างบรรยากาศที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้<br />2. จัดสรรหน้าที่และเตรียมวัสดุอุปกรณ์<br />3. ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ของทางโรงเรียน ร่วมกับนักเรียน คณะครู – อาจารย์ และชุมชน อาทิ การทำป้ายสื่อการเรียนการสอน การร่วมกันปลูกไม้พุ่มเพื่อทำรั้วกำหนดอาณาเขตของโรงเรียนที่ชัดเจน เป็นต้น โดยจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกิจกรรมที่จะปรับปรุงในแต่ละวัน<br />4.สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรมในแต่ละวัน จนถึงวันสุดท้ายของการทำกิจกรรม โดยสังเกตการณ์จากความคืบหน้าของการดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ตามกำหนดการ<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค ร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียนด้วยการร่วมกันทำความสะอาดโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นการกวาดพื้นที่โดยรอบโรงเรียน เก็บขยะ  จัดสิ่งของให้เป็นสัดส่วน ขัดห้องน้ำทุกห้อง เพื่อความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของโรงเรียน หลังจากที่ได้ดำเนินการแล้ว พบว่าโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อยมากขึ้น<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />ก่อนจัดค่ายทางคณะกรรมการดำเนินโครงการวางแผนไว้ว่าจะปรับปรุงแปลงผักการเกษตร การทาสีป้ายสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นคำศัพท์ภาษาต่างประเทศ และคติ พุทธศาสนสุภาษิต ติดตามจุดต่าง ๆ ของโรงเรียน รวมทั้งจัดหาพันธุ์ไม้พุ่มขนาดเล็กร่วมกันปลูกเป็นรั้วกั้นอาณาเขตบริเวณโรงเรียนและทำรั้วกั้นเขตสนามเด็กเล่น แต่เนื่องจากทางผู้อำนวยการโรงเรียนมีความต้องการที่จะทำป้ายการเรียนรู้เป็นลักษณะแผ่นป้ายผ้าใบหรือไวนิล  และแนวรั้วกันสนมเด็กเล่นก็อยากให้เป็นเหล็กสำเร็จรูป ซึ่งทางโรงเรียนจะดำเนินการเอง <br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />ทางคณะกรรมการค่ายจึงมีมติให้ปรับปรุงภูมิทัศน์เพียงแค่เรื่องความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย จึงให้ผู้ร่วมโครงการ ปรับปรุงแปลงเกษตร ทำความสะอาดและจัดเก็บข้าวของต่างๆให้เป็นระเบียบเรียบร้อย<br />กิจกรรมที่ 4 ร่วมฝึกหัดสอนศึกษา <br />รูปแบบการดำเนินงาน  <br />กิจกรรม “ร่วมฝึกหัดสอนศึกษา” มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มความรู้ให้แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายได้รับความรู้         ด้านวิชาการและประสบการณ์การใช้ชีวิตเพิ่มเติม ด้วยรูปแบบกิจกรรมที่สอดแทรกความสนุกสนาน          จากการเล่านิทานและกิจกรรมสันทนาการ แนะนำวิธีการพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ดำรงอยู่บนความไม่ประมาท รวมถึงสอดแทรกข้อคิดที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้เห็นคุณค่าของการทำความดีและเห็นโทษของการทำความชั่ว โดยมีหลักสูตรกิจกรรมดังนี้<br />1. “คณิตคิดเพลิน วิทยาศาสตร์แสนสนุก ท่องศัพท์คำอังกฤษ” เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้และทักษะทางวิชาการด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยใช้รูปแบบการเวียนฐานกิจกรรมเข้าศึกษาหาความรู้ตามสถานที่ต่าง ๆ ภายในโรงเรียน สอดแทรกด้วยความสนุกสนานและกิจกรรมสันทนาการ เพื่อทำให้นักเรียนสามารถซึมซับและเข้าใจเนื้อหาสาระวิชาได้ง่ายยิ่งขึ้น <br />2. “รู้พิษภัยยาเสพย์ติด” จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้รู้จักกับพิษภัยของสิ่งเสพย์ติดประเภทต่าง ๆ อาทิ สุรา  เหล้า ยาบ้า บุหรี่ ฯลฯ ว่ามีโทษและเป็นภัยต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติอย่างไร และร่วมกันจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์และต่อต้านยาเสพย์ทั้งในพื้นที่โรงเรียนและชุมชนโดยรอบ<br />3. “ปลูกสำนึกรักบ้านเกิด” เป็นการนำขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ และภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านหรือวิทยากรประจำท้องถิ่นมาเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนร่วมกับเครือข่ายเยาวชนฯ เพื่อให้นักเรียนในพื้นที่เกิดความภาคภูมิใจและร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรม ทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ของตน และเป็นการเผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมร่วมกันกับเครือข่ายเยาวชนฯ อนึ่ง ในหลักสูตรดังกล่าว จะมีการน้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการผสมผสาน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นที่ตนเองมีอยู่อย่างรู้คุณค่า ไม่จำเป็นต้องแสวงหาสิ่งที่อยู่ไกลตัวจนเกินกำลังความสามารถของตนเอง<br />4. “คุณธรรมค้ำจุนโลก” เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนรู้คุณธรรมขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต เช่น การรักษาศีล 5 การฝึกสมาธิเจริญภาวนา ฯลฯ เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม            ได้นำเอาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้จริงในชีวิตประจำวัน เปรียบเสมือนการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียนและเยาวชนให้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ และเป็นการปลูกฝังคุณธรรมให้แก่นักเรียนเยาวชนตั้งแต่เยาว์วัย ส่งผลสู่การพัฒนาและยกระดับสภาพสังคมแห่งคุณธรรมขึ้นในอนาคต <br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เพื่อกำหนดหลักสูตรการเรียนการสอนและรูปแบบกิจกรรมที่นักเรียนให้ความสนใจ<br />2. จัดสรรหน้าที่และเตรียมวัสดุอุปกรณ์<br />3. ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนในแต่ละวันตามกำหนดการและหลักสูตรที่ได้ตกลงร่วมกันกับทางโรงเรียน ในรูปแบบที่น่าสนใจ เช่น การสอน “คณิตคิดเพลิน วิทยาศาสตร์แสนสนุก               ท่องศัพท์คำอังกฤษ” จะมีการแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ในรูปแบบฐานกิจกรรมวนการเข้าฐาน              ที่จะมีรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรที่ทำการเรียนการสอนแต่ละหลักสูตร เป็นต้น<br />4.สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรมในแต่ละวัน โดยใช้คู่มือการพัฒนาตนเองจากการเข้าร่วมกิจกรรมที่จะแจกให้แก่นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน ตรวจสอบระดับพัฒนาการของผู้เข้าร่วมกิจกรรม<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค ได้ตั้งใจถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายอย่างเต็มที่ ทั้งความรู้ด้านวิชาการ และความสนุกสนาน  นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายมีความกะตือรือร้นที่จะรับในสิ่งที่คณะกรรมการดำเนินโครงการถ่ายทอดให้ เพราะบางส่วนของการเรียนการสอนเป็นความรู้ที่ไม่มีในห้องเรียน อีกทั้งยังผสมผสานกับความสนุกสนาน บรรยากาศการเรียนการสอนจึงเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความสนุกสนาน  และความประทับใจที่ต่างฝ่ายต่างมีให้กัน นอกจากนี้ยังพบว่ามีนักเรียนบางคนได้นำสิ่งที่ได้รับไปถ่ายทอดต่อให้น้องๆและเพื่อนๆที่บ้าน ทำให้เกิดการกระจายความรู้เข้าสู่ชุมชนอีกทั้งในวันต่อมามีนักเรียนและผู้ปกครองมาฟังการเรียนการสอนเพิ่มอีกด้วย<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />นักเรียนที่มาเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ซึ่งมีความแตกต่างกันทางวัย จึงเกิดปัญหาในเรื่องของหลักสูตรเพราะเด็กแต่ละวัยไม่สามารถใช้หลักสูตรการสอนเดียวกันได้ อีกทั้งยังรวมถึงการสันทนาการด้วย เพราะเกมที่สอนแต่ละเกมมีระดับความยากง่าย น้องๆบางคนจึงไม่สามารถรับได้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />แบ่งเด็กนักเรียนอออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มชั้นประถมศึกษาปีที่1-3 และชั้นประถมศึกษาปีที่4-6 ทั้งสองกลุ่มนี้จะมีพี่ๆประจำกลุ่มคอยถ่ายทอดความรู้และสันทนาการให้ ซึ่งเนื้อหาของหลังสูตรและการสันทนาจะต่างกันตามระดับอายุ ทำให้เด็กนักเรียนทุกคนได้รับความรู้และความสนุกสนานกันอย่างทั่วถึง<br />กิจกรรมที่ 5เรียนรู้วิชาปราชญ์ชุมชน <br />รูปแบบการดำเนินงาน  <br />            กิจกรรม “เรียนรู้วิชาปราชญ์ชุมชน” เป็นกิจกรรมที่ให้เยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพได้ลงพื้นที่สำรวจ ศึกษาเรียนรู้ และศึกษาวิถีชีวิตของประชาชนบริเวณชุมชนบ้านหนองสาหร่ายโดยรอบ ทั้งการประกอบอาชีพ  ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม เพื่อให้เครือข่ายเยาวชนฯ  ได้เกิดกระบวนการเรียนรู้นอกห้องเรียน สามารถแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ซึมซับวิถีชาวบ้านและเกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง รวมถึงเห็นคุณค่าและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพกับประชาชนในชุมชน นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างความภาคภูมิใจของคนในชุมชนที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ถ่ายทอดภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น อีกทั้งยังเป็นการสร้างความรัก ความสามัคคี ให้เกิดขึ้นระหว่างคนในชุมชนอีกด้วย โดยกิจกรรมลงพื้นที่ศึกษาชุมชน จะเป็นรูปแบบการจัดกลุ่มเครือข่ายเยาวชนฯ ลงพื้นที่ศึกษาชุมชนในช่วงบ่ายถึงเย็นแต่ละวัน ประกอบด้วย การศึกษาการประกอบอาชีพเกษตรกรรมท้องถิ่น (การทำไร่อ้อย ไร่สับปะรด ไร่มันสำปะหลัง) การตีดาบท้องถิ่น การศึกษาแพทย์แผนไทย (สมุนไพรท้องถิ่นและการนวดแผนโบราณ) การปลูกหม่อน         เลี้ยงไหม<br />            หลังจากการลงพื้นที่สำรวจและศึกษาวิถีชีวิตในชุมชนบ้านหนองสาหร่าย กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพจะสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ และแรงบันดาลใจที่ได้               มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ตลอดจนร่วมกันคิด วิเคราะห์ และวางแนวทางการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปบูรณาการ ปรับ ประยุกต์ใช้พัฒนากิจกรรมชุมชน ในการทำกิจกรรมพัฒนาเยาวชนและชุมชนในพื้นที่             ที่มีความแตกต่างออกไป นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในการแก้ไขปัญหาชุมชนและสังคมต่อไป         ในอนาคต<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายและชุมชน เพื่อขอข้อมูลและคำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี การประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เครือข่ายเยาวชนฯ ได้มีโอกาสลงไปศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้<br />2. ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้น เพื่อนำมาวิเคราะห์แนวทางการจัดกิจกรรมเรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น<br />3. จัดกลุ่มเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการในแต่ละวัน เพื่อลงศึกษาพื้นที่ชุมชนและพบปะกับวิทยากรชุมชน/ปราชญ์ชาวบ้าน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามสถานที่ที่กำหนดในแต่ละวัน โดยหมุนเวียนกันไป<br />4. ให้เยาวชนที่ได้โอกาสลงพื้นที่ศึกษาชุมชนในแต่ละวัน เป็นผู้นำเสนอผลการลงพื้นที่ศึกษาชุมชน องค์ความรู้ สภาพปัญหา และแนวทางในการส่งเสริมสนับสนุน ปรับปรุงประยุกต์ใช้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้มีโอกาสลงไปทำการศึกษา ในช่วงค่ำของแต่ละวัน<br />5. คณะกรรมการโครงการรวบรวมประเด็นการลงพื้นที่ศึกษาชุมชนและแนวความคิดทัศนคติที่ร่วมกันวิเคราะห์ นำเสนอต่อผู้บริหารในท้องที่ เช่น นายอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการอนุรักษ์ รักษา พัฒนาองค์ความรู้ วัฒนธรรมประเพณี การประกอบอาชีพ และ                    ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อไปในอนาคต ขณะเดียวกันทางคณะกรรมการโครงการก็จะนำข้อมูลดังกล่าวไปปรับปรุง บูรณาการ ประยุกต์ใช้ในพื้นที่ ชุมชน สังคม จังหวัดอื่น ๆ ต่อไป<br />6. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและประเมินผลโดยการนำเสนอผลการศึกษาไปยังผู้บริหารในพื้นที่ และจากการนำแนวความคิดไปบูรณาการประยุกต์ต่อยอดแนวความคิดในการทำกิจกรรมโครงการในพื้นที่อื่น ๆ ตลอดจนการนำเสนอผลการพัฒนาชุมชนในช่วงวันเยาวชนแห่งชาติ<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพได้ศึกษาและเรียนรู้ถึงวิถีชีวิตของประชาชนบริเวณชุมชนบ้านหนองสาหร่ายโดยรอบ ทั้งการประกอบอาชีพ  ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม อีกทั้งยังได้เรียนรู้ ซึมซับวิถีชาวบ้านและเกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง รวมถึงเห็นคุณค่าและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งสถานที่ที่กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพได้ไปลงพื้นที่ศึกษาคือ ไร่อ้อย และโรงอบสมุนไพรชาวบ้าน  ถือเป็นการเรียนรู้แบบศึกษาจากพื้นที่จริงเพราะได้สัมผัสและผู้คุยกับผู้รู้โดยตรง จึงได้ความรู้และแง่คิดกลับไปประยุกต์ใช้และยังได้ความสนุกสนานและเพลิดเพลินไปกับการศึกษาดูงาน เพราะมีโอกาสได้ทดลองและปฏิบัติจริง<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />ในวันที่ต้องลงศึกษาชุมชนผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมไม่สามารถพากลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพให้เข้าศึกษาดูงานได้เนื่องขากเป็นวันซื้อขายตัวไหม ผู้ขายไหมทุกรายต้องรวมตัวกันเพื่อขายไหมให้กับผู้ที่มาซื้อ จึงไม่สามารถให้เข้าชมได้ อีกทั้งในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงเวลาที่พร้อมขายไหมแล้ว ทำให้ไม่มีสิ่งที่สามารถศึกษาดูงานได้กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพจึงไม่สามารถเข้าไปศึกษาดูงานภายในโรงเลี้ยงไหมได้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />1. กำหนดสถานที่ที่สามรถลงศึกษาชุมชนได้ คือ ไร่อ้อย โรงอบสมุนไพร และศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเทศบาลตำบลหนองปรือ และโรงอบสมุนไพรและนวดแผนไทย<br />2. ปรับเวลาลงศึกษาชุมชนแต่ละที่ให้มากขึ้น<br />กิจกรรมที่ 6ทั่วแห่งหนตักบาตรกัน <br />รูปแบบการดำเนินงาน  <br />กิจกรรม “ ทั่วแห่งหนตักบาตรกัน” มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ คณะครู อาจารย์ นักเรียน ประชาชนบ้านหนองสาหร่าย และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไปได้ทำบุญ                ตักบาตรร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพเอง และความสมัครสมานสามัคคีระหว่างประชาชนในชุมชนบ้านหนองสาหร่าย  เพราะการตักบาตรในครั้งนี้               เป็นการรวมตัวกันเพื่อทำความดี ทำนุบำรุงพระพุธศาสนา ซึ่งถือเป็นสถาบันที่เป็นที่พึ่งและหลอมรวมจิตใจของเยาวชนและประชาชนในชุมชน อีกทั้งยังเป็นการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามอีกด้วย                 โดยนิมนต์พระสงฆ์ จำนวน 9 รูป การดำเนินงาน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนพิธีกรรมและประชาสัมพันธ์ ส่วนการนิมนต์คณะสงฆ์ และส่วนภัตตาหารและสถานที่ โดยทั้ง 3 ส่วน จะเป็นความร่วมมือระหว่างชุมชน โรงเรียน วัด และเครือข่ายเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าที่ดำเนินงานโดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นผู้ประสานงานให้นักเรียน และผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมรวมถึงการนิมนต์พระสงฆ์ และทางเครือข่ายเยาวชนฯ             จะเป็นผู้จัดเตรียมสถานที่และกิจกรรม<br />3. แกนนำเยาวชนร่วมกันจัดเตรียมสถานที่และของใส่บาตร<br />4. ดำเนินกิจกรรมโดยนิมนต์พระสงฆ์มารับบาตรแกนนำเยาวชนฯ ร่วมกับนักเรียน ครู อาจารย์ ชาวบ้านชุมชนบ้านหนองสาหร่ายตักบาตรร่วมกัน   <br />5. สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรม โดยสังเกตจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแบบประเมิน<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค คณะครู – อาจารย์ นักเรียน และประชาชนบริเวณโดยรอบชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ได้ร่วมกันตักบาตรอาหารสด  ชาวบ้านทุกคนต่างเตรียมอาหารสดเพื่อมาร่วมตักบาตร รวมทั้งฝ่ายสวัสดิการของค่ายก็ตื่นแต่เช้าเพื่อมาประกอบอาหารให้ทุกๆคนได้ร่วมตักบาตรกัน ซึ่งนอกจากฝ่ายสวัสดิการแล้ว ผู้ร่วมโครงการบางส่วนได้มาช่วยฝ่ายสวัสดิการทำอาหารด้วย ถือเป็นการร่วมแรงร่วมใจของผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน โดยมีพระจากวัดหนองสาหร่ายมาบิณฑบาต 5 รูป  <br />ปัญหา/อุปสรรค<br />-<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />-<br />กิจกรรมที่ 7สานสัมพันธ์เล่นกีฬา <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />กิจกรรม “ สานสัมพันธ์เล่นกีฬา” มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อความสัมพันธ์อันดีระหว่างเครือข่ายเยาวชนฯ กับชุมชนบ้านหนองสาหร่าย โดยใช้การเล่นกีฬาสากลและการละเล่นพื้นบ้าน                  เป็นสื่อกลางในการเชื่อมความสัมพันธ์ เช่น การแข่งขันฟุตบอล วอลเลย์บอล กรีฑา ชักเย่อ กินวิบาก           เก้าอี้ดนตรี เหยียบลูกโป่ง ฯลฯ เป็นส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ผ่อนคลายจากการก่อสร้างตลอดระยะเวลา 6 วัน ในการดำเนินโครงการ อีกทั้งยังเป็นการรณรงค์ส่งเสริมให้เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ นักเรียน และประชาชนในชุมชน ได้มีโอกาสเล่นกีฬา และเล็งเห็นถึงความสำคัญของการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างชุมชนในการออกกำลังกายร่วมกัน ปลูกฝังความมีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าในการดำเนินงาน โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้ประสานงาน                 ให้นักเรียน และผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม และทางเครือข่ายเยาวชนฯ จะเป็นผู้กำหนดประเภทกีฬาและรูปแบบการแข่งขัน เพื่อเสนอต่อผู้อำนวยการโรงเรียนฯ ให้ความเห็นต่อไป<br />3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และกติกาการแข่งขันทั้งหมด<br />4. ดำเนินการแข่งขันกีฬาตามกำหนดการ และกติกาที่ได้ร่วมกันกำหนด โดยในระหว่างการแข่งขันจะมีการประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งยั่วยุต่าง ๆ<br />5. สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรม โดยสังเกตจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแบบประเมิน<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันเล่นกีฬาสานสัมพันธ์ คือ กีฬาฮาเฮ และ ฟุตบอล บรรยากาศเต็มไปด้วยความสนุกสนานและครื้นเครง เพราะทุกคนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้ นอกจากกีฬาแล้วยังมีเชียร์หลีดเดอร์ที่คอยสร้างสีสันและเสียงหัวเราะอีกด้วย ซึ่งผู้ร่วมโครงการเป็นผู้ดำเนินการเองทั้งหมด ซึ่งนอกจากจะได้รับความสนุกสนานแล้วยังถือเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการด้วย<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการวางแผนให้มีการแข่งขันร่วมกับชาวบ้าน แต่เนื่องจากวันที่มีการแข่งขันมีการเรียกประชุมกองทุนหมู่บ้านกะทันหัน ทำให้ไม่สามารถมาร่วมการแข่งขันกับผู้เข้าร่วมโครงการได้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />จัดดการแข่งขันกีฬาระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการเอง โดยให้แต่ละภูมิภาคส่งตัวแทนเข้าแข่งขันในกีฬาแต่ละชนิด ใครที่ไม่ถนัดก็จะเป็นเชียร์หลีดเดอร์เพื่อให้กำลังใจนักกีฬาและสร้างสีสันให้สนุกมากยิ่งขึ้น<br />กิจกรรมที่ 8สุดหรรษารอบกองไฟสุขฤทัยร่วมเปรมปรีดิ์<br />รูปแบบการดำเนินงาน  <br />กิจกรรม “ สุดหรรษารอบกองไฟ สุขฤทัยร่วมเปรมปรีดิ์” เป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์            เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย กับแกนนำเยาวชนฯ โดยกิจกรรมดังกล่าว เป็นการช่วยกันทำอาหารมื้อเย็น และขนมสำหรับกิจกรรมรอบกองไฟตอนค่ำและรับประทานอาหารร่วมกัน ซึ่งกิจกรรมรอบกองไฟประกอบด้วยการแสดงของนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย การแสดงพื้นบ้านของชาวชุมชนบ้านหนองสาหร่าย การแสดงจากแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ การร้องเพลงของผู้ปกครองนักเรียน การร้องเพลงของคณะครู การร้องเพลงประกอบกีตาร์โปร่งจากแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ การกล่าวขอบคุณ และแสดงความรู้สึกของตัวแทนแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ ต่อทางโรงเรียนและชุมชน การกล่าวแสดงความรู้สึกของชาวบ้านในชุมชนต่อแกนนำเยาวชนฯ และการกล่าวแสดงความรู้สึกของผู้อำนวยการโรงเรียนต่อแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ และการผูกสายสิญจน์บายศรีจากครูและผู้ใหญ่ในชุมชน ให้กับแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ ในโครงการ<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าในการดำเนินงาน โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้ประสานงาน               ให้นักเรียน และผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชนจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และวัตถุดิบต่าง ๆ ตลอดจนการแสดงท้องถิ่น ทางเครือข่ายเยาวชนฯ จัดเตรียม การแสดงในส่วนของเครือข่ายฯ เยาวชน<br />3. ชาวบ้าน ประชาชนในชุมชน และแกนนำเยาวชน ร่วมกันประกอบอาหาร เครื่องดื่ม และขนม เพื่อใช้ในการรับประทานอาหารมื้อค่ำร่วมกัน<br />4. ดำเนินกิจกรรมการแสดงตามกำหนดการที่วางไว้ร่วมกัน และรับประทานอาหารค่ำร่วมกัน โดยในระหว่างที่รับประทานอาหารและชมการแสดงนั้น ก็จะมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้สึกและประสบการณ์ระหว่างกัน เมื่อการแสดงจบลงก็จะเปิดโอกาสให้ตัวแทนแต่ละฝ่าย ได้แก่ ตัวแทนนักเรียน ตัวแทนผู้บริหารโรงเรียน ตัวแทนชุมชนและชาวบ้าน  และตัวแทนแกนนำเยาวชนฯ ได้พูดถึงความรู้สึกในการจัดกิจกรรมระหว่างกัน และปิดท้ายด้วยการกิจกรรมบายศรีจากผู้ใหญ่ในชุมชน เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่แกนนำเยาวชนฯ หลังจากที่เหน็ดเหนื่อยจากการทำกิจกรรมตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ  <br />5. สรุปผลและประเมินผลกิจกรรม โดยการสังเกตจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแบบประเมิน<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนต้องแสดงละครบทบาทสมมุตติ โดยแบ่งเป็นระดับชั้น คือ ชั้นมัธยมศึกษา ระดับอุดมศึกษาชั้นปีที่1 ชั้นปีที่2 ชั้นปีที่3 ชั้นปีที่4 และพี่ๆบัณฑิต  แต่ละชั้นปีต้องทำการแสดงอะไรก็ได้ 1 ชุดการแสดง ซึ่งผลที่ออกมานั้นทำให้เห็นว่าแต่ละการแสดงมีการเตรียมการและวางแผนที่ดี ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนได้ประชุมและแบ่งงานกันโดยใช้เวลาไม่นานแต่ทุกคนก็สามารถทำออกมาได้ดี  นอกจากนี้ยังมีการเลียนแบบการแสดงรอบกองไฟแบบลูกเสือคือเมื่อแต่ละการแสดงจบแต่ละกลุ่มจะต้องกล่าวชื่นชมกลุ่มที่ทำการแสดงด้วย<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />ในคืนวันนั้นไม่มีการทานข้าวร่วมกันระหว่างชาวบ้านและผู้เข้าร่วมโครงการเนื่องจากชาวบ้านเตรียมตัวไม่ทันเพราะมีการประชุมกองทุนหมู่บ้าน จึงเลื่อนการทานข้าวร่วมกันเป็นวันถัดไปเพื่อที่ชาวบ้านทุกคนจะสามารถมาร่วมงานและถือเป็นการเลี้ยงอำลาผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนอีกด้วย<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />จัดให้มีเพียงแค่การแสดงรอบกองไฟและการมอบของที่ระลึกให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ และการพูดเปิดใจ แสดงความรู้สึกของพี่ๆและน้องๆผู้เข้าร่วมโครงการ บรรยากาศจึงกลายเป็นความอบอุ่นระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ<br />สรุปภาพรวมค่าย<br />ความเปลี่ยนแปลงที่พบเห็นหรือรู้สึกได้<br />เรื่องความเป็นอยู่<br />ก่อนดำเนินโครงการ<br />ผู้เข้าร่วมโครงการมีความกระวนกระวายใจถึงความเป็นอยู่และกิจกรรมต่างๆในค่าย เช่น อาหารการกิน สถานที่พัก สถานที่อาบน้ำ เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นนักเรียนชั้นมัธยมปลาย การมาค่ายอาสาครั้งนี้ถือเป็นค่ายแรกที่น้องจะได้เข้าร่วม อีกทั้งยังมีการแจ้งจากพี่ค่ายว่า สถานที่พักเป็นห้องเรียน และห้องอาบน้ำหญิงเป็นแบบรวม ต้องใช้ผ้าถุงในการอาบ น้องๆมัธยมศึกษาและพี่ๆอุดมศึกษาหลายคนไม่เคยอาบน้ำรวมมาก่อน และไม่เคยใช้ผ้าถุงอาบน้ำมาก่อน จึงเกิดความกังวลใจกับเรื่องความเป็นอยู่ของตนในค่าย สังเกตได้จากการโทรมาถามพี่ๆชุดเตรียมค่ายและการโพสต์ถามกันในเฟสบุ๊ค ถึงเรื่องของการเตรียมตัวและเตรียมของ <br />หลังดำเนินโครงการ<br />ในช่วงแรกผู้เข้าร่วมโครงการยังไม่ค่อยคุ้นชินกับความเป็นอยู่ในค่าย เพราะทุกสิ่งทุกอย่างแตกต่างจากชีวิตประจำวันของแต่ละคน แต่อย่างไรก็ตามน้องๆทุกคนสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานที่ได้ดี ทั้งนี้อาจเป็นเพราะความคุ้นชินของน้องๆในเรื่องการใช้สถานที่ทั้งที่นอนและที่อาบน้ำ นอกจากนี้ความสนิทสนมกับเพื่อนๆในค่ายที่ก่อเกิดเป็นมิตรภาพใหม่ได้ทำให้ชาวค่ายทุกคนเกิดความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เกิดความคิดที่ว่า หากเพื่อนทุกคนสามารถอดทนและฟันฝ่าความยากลำบากนี้ไปได้ เราก็ต้องผ่านไปให้ได้ และจะต้องช่วยประคับประคองเพื่อนคนอื่นๆให้ไปกับเราได้ด้วย ดังนั้นบรรยากาศในค่ายจึงไม่ตึงเครียดเพราะน้องๆทุกคนต่างสนุกสนานกับการได้อาบน้ำรวม คุ้นชินกับการนอนเสื่อ และพร้อมที่ลองและเรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองไม่เคยทำมาก่อน <br />หลังจากผ่านสภาวะดังกล่าวจากการเข้าค่ายอาสามาแล้ว ทำให้การใช้ชีวิตในแต่ละวันมีระเบียบวินัยมากขึ้น  นึกถึงคนอื่นมากขึ้น สามารถมองผ่านปัญหาเล็กๆน้อยๆที่เข้ามาในชีวิตประจำวันได้เพราะได้ผ่านความยากลำบากมาแล้ว<br />เรื่องความสัมพันธ์ของคนในค่าย<br />ก่อนดำเนินโครงการ<br />ผู้เข้าร่วมโครงการมาจากหลายจังหวัด หลายภูมิภาค หลายๆคนไม่รู้จักกันมาก่อน จะรู้จักกันก็เพียงในภูมิภาคเดียวกันเท่านั้น  ไม่เคยทำงานร่วมกันระหว่างภูมิภาค จึงยากที่จะหล่อหลอมและละลายพฤติกรรมของน้องๆทั้งค่ายเพื่อให้น้องเกิดความรัก ความสามัคคีกัน สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีมได้อีกทั้งน้องๆในแต่ละภูมิภาคมักจะรู้จักและสนิทกันเพียงแค่ในภูมิภาคของตนเอง  ยังไม่ค่อยเปิดกับเพื่อนๆต่างภูมิภาคเท่าใดนัก<br /> หลังจากจบค่ายนี้น้องๆทุกคน ทั้งระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาจะต้องแยกย้ายกันออกไปจัดค่ายของภูมิภาคตนเอง แต่การทำงานไม่ได้เกิดขึ้นเพียงแค่ระหว่างคนในภาคเท่านั้น จำเป็นต้องอาศัยความช่วยเหลือเกื้อกูลกันของเพื่อนๆพี่ๆภูมิภาคอื่นๆด้วย<br />หลังดำเนินโครงการ<br />ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักและสนิทสนมกันมากขึ้นโดยผ่านกกิจกรรมต่างๆไม่ว่าจะเป็น การก่อสร้าง การปรับภูมิทัศน์โรงเรียน การสอนหนังสือเด็กๆ การลงชุมชน และการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันตลอด 7 วัน 6 คืน อีกทั้งยังมีการหล่อหลอมพฤติกรรมโดยใช้กระบวนการกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม ทำให้น้องๆทุกคนได้รู้จักกันในต่างภูมิภาคมากยิ่งขึ้น  การรู้จักและสนิทสนมกันในค่ายอาสาทำให้การทำกิจกรรมของน้องๆหลังค่ายเป็นไปได้ง่ายและราบรื่นมากยิ่งขึ้น เพราะแต่ละคนต่างรู้จักกันหมดแล้ว ดังนั้น การคุยงาน การวางแผนงาน และการทำงานร่วมกันจึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป <br />เรื่องการทำงานร่วมกัน<br />ก่อนดำเนินโครงการ<br />คณะกรรมการค่ายแต่ละคนยังไม่ค่อยรู้จักนิสัยใจคอซึ่งกันและกันรวมถึงยังไม่เข้าใจลักษณะการทำงานของเพื่อนร่วมงาน ทำให้ในบางครั้งเกิดความไม่เข้าใจกันบ้าง ความคิดเห็นแตกต่างกันไปบ้าง ต่างคนต่างได้รับหน้าที่ให้มาทำงานร่วมกันแต่ยังไม่ได้มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จึงยังไม่เห็นภาพของการทำงานเป็นทีม<br />หลังดำเนินโครงการ<br />หลังจากการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันมาตลอดตั้งแต่เริ่มเตรียมค่าย จนถึงวันสุดท้ายของค่าย ทำให้ทุกคนได้เรียนรู้ลักษณะนิสัยและลักษณะการทำงานของเพื่อนร่วมงานแต่ละคนมากขึ้น จากการเรียนรู้นี้ทำให้แต่ละคนได้ทราบว่าต้องปรับตัวเองอย่างไร มากน้อยแค่ไหนเพื่อให้งานสามารถเดินต่อไปได้ ทำให้ทราบว่าตนเองยังขาดสิ่งใด และตนเองสามารถเสริมสิ่งใดให้กับงานแต่ละชิ้นได้ นอกจากนี้ยังเกิดการเรียนรู้คุณธรรมของเพื่อนร่วมงานแต่ละคนอีกด้วย เพราะแต่ละคนมีลักษณะการทำงานและคติประจำใจที่แตกต่างกันออกไป สามารถนำมาเป็นข้อคิดและปรับใช้ให้เข้ากับตนเองได้ อีกสิ่งหนึ่งที่นับได้ว่าเป็นเรื่องสำคัญและหาได้ง่ายมากจากการทำค่ายอาสาครั้งนี้ นั่นคือกำลังใจจาก พี่ๆ เพื่อนๆ และน้องๆ ที่ทำงานร่วมกัน           ตลอดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเตรียมค่ายมีทั้งความเครียด ความเหนื่อยและความกดดันที่คอยบั่นทอนกำลังใจในการทำงาน กำลังใจทั้งจากตนเองและผู้อื่นจึงเปรียบเสมือนน้ำที่คอยทำให้หัวใจที่ห่อเหี่ยวและเหนื่อยล้ากลับมาชุ่มชื้นอีกครั้ง และยังเป็นสิ่งที่คอยย้ำอุดมการณ์ของทุกคนที่มีร่วมกัน การเติมกำลังใจให้กันและกันจึงเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ร่วมงานทุกคนเห็นอกเห็นใจกัน เข้าใจตรงกัน และทำให้สามารถเดินไปบนเส้นท�
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5

More Related Content

What's hot

ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ Nichatcha Aryowong
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นอนุชา โคยะทา
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างพัน พัน
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสางานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสาToptap Apisit Pasawate
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักkessara61977
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขN'Pop Intrara
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 

What's hot (20)

ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสางานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 

Viewers also liked

โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11Darika Roopdee
 
กิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝัน
กิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝันกิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝัน
กิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝันPrawwe Papasson
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...Prawwe Papasson
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 

Viewers also liked (11)

โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
 
กิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝัน
กิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝันกิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝัน
กิจกรรมที่7โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 

Similar to 2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5

Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 

Similar to 2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5 (20)

Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
Youth clever project
Youth clever                        projectYouth clever                        project
Youth clever project
 
Youth clever project
Youth clever projectYouth clever project
Youth clever project
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทองmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียงmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบังmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรmahaoath พระมหาโอ๊ท
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท (20)

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
 

2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5

  • 1. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5<br />โครงการ “ค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5”<br />หลักการและเหตุผล<br />สังคมไทยในปัจจุบันที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้สภาพสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และนวัตกรรมต่าง ๆ มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว กรุงเทพมหานครและ เมืองใหญ่ตามภูมิภาคต่าง ๆ จึงมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกันนานาอารยธรรมประเทศที่พัฒนาแล้ว หากแต่การกระจายความเจริญเหล่านี้ คงอยู่แต่ในพื้นที่เมืองหลวงและเมืองใหญ่เท่านั้น ในพื้นที่อื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกลออกไปกลับไม่ได้รับการพัฒนาตามตัวเลข ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ถนนที่เป็นดินลูกรัง โรงเรียนที่ไม่มีอาคารการศึกษา ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานต่าง ๆ ที่ไม่เอื้อต่อสุขลักษณะพื้นฐาน นับเป็น สิ่งที่เกิดขึ้นและยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน ด้วยสภาพปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น หลายภาคส่วนที่เห็นความสำคัญของปัญหาเหล่านี้ จึงได้ร่วมมือกันที่จะพัฒนาพื้นที่ที่ห่างไกลเหล่านี้ ให้ได้รับสิ่งสาธารณูปโภคพื้นฐาน ในการดำรงชีวิต ก่อกำเนิดเป็นกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาชนบทขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ มีการรวมกลุ่ม จัดหางบประมาณ ลงมือลงแรงในการก่อสร้างและพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ในพื้นที่ที่ขาดแคลน รวมถึง กลุ่มเยาวชน นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้เป็นอนาคตของชาติ ต่างก็เข้ามามีบทบาท มีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาชนบทเหล่านี้ด้วย <br />คำว่า “อาสาพัฒนา” ในปัจจุบัน ไม่ควรเป็นการอาสาพัฒนาเพียงแค่วัตถุภายนอกเท่านั้น หากแต่การอาสาพัฒนาควรหมายรวมถึงการพัฒนาคุณภาพของจิตใจ ไม่เฉพาะแต่ชุมชนท้องถิ่นเท่านั้น แกนนำเยาวชนที่อาสาตนเข้าไปพัฒนา ก็ควรมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพจิตใจของตนเองด้วยเช่นกัน เพื่อให้เป็นต้นแบบของเยาวชนในท้องถิ่นและเป็นแบบอย่างที่ดีในการเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมต่อไป พร้อมกันนี้ก็ควรที่จะมีโอกาสได้ศึกษา แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ท้องถิ่น เพื่อที่จะได้เข้าใจสภาพปัญหาที่แท้จริงของพื้นที่ห่างไกล เมื่อเยาวชนเหล่านี้ ได้ลงพื้นที่ศึกษาปัญหาเชิงประจักษ์แล้วเติบโตขึ้นมาเป็นกำลังหลักสำคัญในการพัฒนาสังคม ในการพัฒนาประเทศชาติ เขาจะได้เข้าใจสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชน นำไปสู่การแก้ปัญหาความเลื่อมล้ำทางสังคมได้ อย่างแท้จริงและยั่งยืน<br />“ห้องสมุด” นับเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญยิ่ง เนื่องจากหากนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เขาจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เป็นภูมิคุ้มกัน ในการเสริมสร้างสุขภาวะได้ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ทำให้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ อันจะส่งผลให้ลดปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ด้วยความตระหนักถึงความสำคัญของการเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมอาสาพัฒนา ประกอบกับจุดมุ่งหมายที่สำคัญ ของเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ Youth for Next Step คือ การพัฒนาแกนนำเยาวชน ให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีจิตอาสา จึงได้ร่วมกันดำเนินโครงการ “Youth Volunteer Revolution Camp : ค่ายเยาวชนปฏิวัติ จิตอาสาพัฒนาชนบท” ขึ้น จัดสร้างอาคารห้องสมุดให้แก่โรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างวันที่ 21 – 27 มีนาคม 2554 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาแกนนำเยาวชนให้มีจิตอาสา ทำกิจกรรมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น มุ่งสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อให้เป็นต้นแบบ ของค่ายอาสาพัฒนาชนบทที่มุ่งประโยชน์สู่ชุมชนอย่างแท้จริง ด้วยปณิธานที่แน่วแน่ในการพัฒนาสังคมและเยาวชนให้เป็นคนเก่ง ดี และมีจิตอาสา จึงเชื่อได้ว่าโครงการดังกล่าวจะเป็นแบบแผนของการพัฒนาค่ายอาสาพัฒนาชนบทให้สามารถพัฒนาชุมชนไปพร้อมกับการพัฒนาตนเอง ให้เกิดจิตอาสา อย่างแท้จริงจากเยาวชนที่รักในการพัฒนาตนเองและชุมชนท้องถิ่น กิจกรรมภายในโครงการ จึงเป็น การหลอมรวม และผสมผสานการพัฒนาทั้งกาย ใจ และเติมเต็ม จิตวิญญาณแห่งความเป็นเยาวชน ที่จะก้าวขึ้นมาเป็นกำลังหลักสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต <br />วัตถุประสงค์โครงการ<br />ข้อ 1. เพื่อสร้างและพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในท้องถิ่นห่างไกล ส่งเสริมและพัฒนาความมีจิตอาสา ให้เกิดขึ้นกับแกนนำเยาวชน ชุมชน และสังคมผ่านกิจกรรมค่ายอาสา<br />ข้อ 2. เพื่อพัฒนาแกนนำเครือข่ายเยาวชนให้มีความเป็นผู้นำเป็นเยาวชนต้นแบบ ทั้งทางด้านความเก่ง ดี มีจิตอาสา<br />ข้อ 3. เพื่อสร้างกระบวนการศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการและชุมชน นำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไข บูรณาการประยุกต์ใช้ในพื้นที่ต่าง ๆ<br />ข้อ 4. เพื่อสร้างแบบแผนกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาที่เน้นการพัฒนาทั้งทางกาย จิตใจ และ จิตวิญญาณของการเป็นผู้ให้อย่างแท้จริง<br />ข้อ 5. เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้เกิดความตระหนักในการมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตน<br />ข้อ 6. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรมกับประชาชนผู้อยู่ในพื้นที่<br />พื้นที่ดำเนินโครงการ<br />โรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย ตำบลหนองปรือ อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี<br />ระยะเวลาการดำเนินโครงการ<br />ระหว่างวันที่ 21 – 27 มีนาคม 2554<br />กลุ่มเป้าหมาย<br />กลุ่มเป้าหมายหลัก แกนนำเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ Youth for Next Step (องค์กรสาธารณะประโยชน์) ประกอบด้วย <br />- เยาวชนระดับอุดมศึกษา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยบูรพา<br />- เยาวชนระดับมัธยมศึกษา จากกรุงเทพมหานคร นนทบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี ระยอง ปทุมธานี นครนายก พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และราชบุรี<br />จำนวนประมาณ ๑๐๐ คน<br />กลุ่มเป้าหมายรอง นักเรียน บุคลากรของโรงเรียน และประชาชนบริเวณโดยรอบ <br />จำนวนประมาณ ๑๐๐ คน<br />รวมผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 200 คน<br />ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />ข้อ 1. โรงเรียนและชุมชนบ้านหนองสาหร่าย จังหวัดกาญจนบุรี มีห้องสมุดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และการศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติมของโรงเรียนและชุมชน พร้อมทั้งได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อสร้างบรรยากาศต่อการศึกษาเรียนรู้<br />ข้อ 2. แกนนำเยาวชนได้รับการพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ทักษะและคุณธรรม และสามารถเป็นต้นแบบที่ดีของนักเรียนเยาวชนในพื้นที่ได้ทั้งทางด้านความเก่ง ดี และมีจิตอาสา <br />ข้อ 3. เกิดกระบวนการเรียนรู้แลกเปลี่ยนขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการและชุมชน สามารถนำเสนอผลการศึกษาเผยแพร่สูสาธารณชนได้ ตลอดจนบูรณาการประยุกต์ใช้องค์ความรู้จากการศึกษาไปพัฒนาในพื้นที่อื่นต่อไป<br />ข้อ 4. เกิดแบบแผนกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมและองค์กรกิจกรรมอื่น ๆ ให้เน้นการพัฒนาทั้งทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของการเป็นผู้ให้อย่างแท้จริง<br />ข้อ 5. ชุมชนเกิดความเข้มแข็งและตระหนักถึงบทบาทในการร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ของตน เกิดความรัก ความผูกพัน และความสามัคคีระหว่างชุมชน<br />ข้อ 6. เกิดความสัมพันธ์อันดีและเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการกับชุมชน เปลี่ยนมุมมองและทัศนคติของเยาวชน ในการทำกิจกรรมอาสาพัฒนา เปลี่ยนมุมมองและทัศนคติของประชาชนให้เล็งเห็น ถึงศักยภาพของเยาวชนที่สามารถสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้กับสังคมได้<br />สรุปผลการดำเนินกิจกรรม<br />กิจกรรมที่ 1ผ้าป่าการกุศล <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />กิจกรรม “ผ้าป่ามหากุศล” มีวัตถุประสงค์ในการบอกบุญจัดหาทุนทรัพย์สำหรับใช้ ในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อใช้สร้างอาคารโรงอาหารขนาด 6 x 9 ตารางเมตร และปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียน ป้ายสื่อการเรียนรู้ตามบริเวณต่าง ๆ ของโรงเรียน โดยการดำเนินงานก่อนวันทอดผ้าป่าสามัคคี เป็นการประสานความร่วมมือระหว่าง ชุมชน บริเวณโดยรอบโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และเครือข่ายเยาวชนฯ ในส่วนของทางโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายจะเป็นผู้ดำเนินการจัดพิมพ์ซองผ้าป่า และจัดหาประธาน กรรมการกองผ้าป่า และร่วมบอกบุญประชาชนในพื้นที่ชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ส่วนทางเครือข่ายเยาวชนฯ ดำเนินการในส่วนของบอกบุญซองผ้าป่าในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกตามภูมิลำเนาของแกนนำเยาวชนในเครือข่ายฯ และจะนำทุนทรัพย์ที่ได้จากการรวบรวมทั้งหมดเครือจากโรงเรียน ชุมชน เครือข่ายเยาวชนฯ ดำเนินกิจกรรมทอดผ้าป่าการศึกษา จัดสร้างอาคารห้องสมุดในวันที่ 17 มีนาคม 2554 โดยนิมนต์พระสงฆ์จำนวน 9 รูป มาทำพิธีสงฆ์และเชิญชวนประชาชนเข้าร่วมพิธีเพื่อเป็นสักขีพยานร่วมกัน และเป็นเสมือนกิจกรรมแรกเริ่มที่นำไปสู่การสานความร่วมมือระหว่างชุมชนและเครือข่ายเยาวชนฯ ในกิจกรรมต่อไป <br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และกำหนดรายชื่อคณะกรรมการร่วมกัน<br />2. แบ่งหน้าที่ดำเนินงานและประชาสัมพันธ์ โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้จัดทำซองผ้าป่า และร่วมกับทางเครือข่ายฯ ในการบอกบุญกองผ้าป่าในพื้นที่ต่าง ๆ ร่วมกัน<br />3. รวบรวมเงินผ้าป่าและดำเนินการทอดผ้าป่าเมื่อครบกำหนดตามวัน เวลา และสถานที่ ที่กำหนด<br />4. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและประเมินผลโครงการโดยการสังเกตการณ์ผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้ร่วมทำบุญ<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค ได้ทำกิจกรรม “เปิดหมวก” เรี่ยไรงบประมาณสนับสนุนการจัดสร้างห้องสมุดโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการดำเนินโครงการ ตลอดจนนำซองผ้าป่าที่ทางโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายจัดทำขึ้นไปบอกบุญ กับญาติผู้ใหญ่ และครอบครัว โดยนำเงินงบประมาณดังกล่าวมอบให้แก่คณะกรรมการโรงเรียน บ้านหนองสาหร่าย ที่ได้มีการรวบรวมซองผ้าป่าในพื้นที่บริเวณโดยรอบโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และ ได้จัดให้มีพิธีทอดผ้าป่าสามัคคีขึ้นที่โรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2554 โดยมีการนิมนต์พระสงฆ์จำนวน ๕ รูป เพื่อมาประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ในช่วงสาย ถวายภัตตาหารเพล และร่วมกันรับประทานอาหารกลางร่วมกัน โดยมีคณะครู – อาจารย์ นักเรียน ประชาชนในพื้นที่ และตัวแทนคณะกรรมการดำเนินโครงการเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 100 คน <br />ปัญหา/อุปสรรค<br />-<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />-<br />กิจกรรมที่ 2อุทิศตนสร้างห้องสมุด <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />เครือข่ายเยาวชนฯ ร่วมกับประชาชนชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ดำเนินการสร้างอาคารห้องสมุด ขนาด 6 * 9 ตารางเมตร พร้อมติดตั้งประตู หน้าต่าง และหลังคา เพื่อใช้เป็นสถานที่ศูนย์กลาง ในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมของนักเรียน เยาวชน ชุมชนในพื้นที่บริเวณโดยรอบโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย และเป็นสถานที่สำหรับรวบรวมขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การประกอบอาชีพ ทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน ให้นักเรียน เยาวชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษาเรียนรู้ โดยเฉพาะประชาชนในชุมชนจะได้เกิดความภาคภูมิใจและหวงแหนสิ่งที่ดีงามที่มีอยู่ภายในชุมชนของตน<br />“ห้องสมุด” นับเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญยิ่ง เนื่องจากหากนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เขาจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เป็นภูมิคุ้มกัน ในการเสริมสร้างสุขภาวะได้ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ทำให้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ อันจะส่งผลให้ลดปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบันได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน <br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบอาคารร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าในการดำเนินงาน โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้ประสานงานหาช่าง ที่มีฝีมือในการก่อสร้างมาเป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ และดำเนินการ ทางเครือข่ายเยาวชนฯ จะเป็นกำลังหลักสำคัญในการดำเนินการก่อสร้าง และร่วมกันจัดหางบประมาณเพื่อสนับสนุนการก่อสร้างอาคาร<br />3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และปรับปรุงสถานที่<br />4. ดำเนินการก่อสร้างอาคารโรงอาหารร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ นักเรียน และประชาชนในชุมชน ซึ่งในระหว่างการดำเนินโครงการ แกนนำเยาวชนฯ จะรักษาศีล 5 เป็นพื้นฐานตลอดการจัดกิจกรรม และจะไม่มีการเสพอบายมุขใด ๆ ทั้งสิ้น ในขณะเดียวกันก็จะพูดคุยทำความเข้าใจ และรณรงค์ให้ชาวบ้านที่มาร่วมสร้างอาคารห้องสมุดได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการมีสุขภาพที่ดี โดยไม่ต้องพึ่งพาสิ่งเสพติดหรืออบายมุข <br />5. สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรมในแต่ละวัน โดยสังเกตการณ์จากความคืบหน้าตามกำหนดการก่อสร้าง<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค คณะครู – อาจารย์ นักเรียน และประชาชนบริเวณโดยรอบชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ได้ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจกัน สร้างห้องสมุดโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายขึ้น โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปรับพื้นที่โดยรอบโครงการก่อสร้าง การขุดหลุมตั้งเสาอาคาร ผสมปูนเทคานพื้น ขึ้นโครงสร้างหลังคา มุงกระเบื้อง เทพื้น ก่อกำแพง ติดตั้งหน้าต่าง ทำให้เกิดความสามัคคีระหว่างหมู่คณะ ทั้งระหว่างเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ และระหว่างชาวบ้านที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมก่อสร้างอาคารห้องสมุด ซึ่งตลอดระยะเวลาการก่อสร้างอาคาร ทางคณะกรรมการดำเนินโครงการ ได้กำหนดพื้นที่บริเวณโดยรอบโครงการก่อสร้าง ตลอดจนบริเวณโดยรอบโรงเรียนให้เป็นพื้นที่ปลอดสุรา ยาเสพย์ติด และอบายมุขทุกชนิด เมื่อครบกำหนดการดำเนินโครงการ ปรากฏว่าทางคณะกรรมการและเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถจัดสร้างอาคารหลังดังกล่าวในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานแล้วเสร็จคิดเป็นร้อยละ 70 ของเนื้องานก่อสร้างที่วางแผนไว้ทั้งหมด <br />ปัญหา/อุปสรรค<br />1.ช่างฝีมือในพื้นที่ที่มีทักษะการทำงานด้านการก่อสร้างอาคาร มีความจำเป็นที่จะต้องสลับสับเปลี่ยน หมุนเวียนกันมาควบคุมงานก่อสร้าง เนื่องจากอยู่ในช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ คือ อ้อย เพื่อส่งเข้าสู่โรงงานน้ำตาล ซึ่งมีการเปิดรับซื้อเฉพาะในช่วงเวลาดังกล่าวเท่านั้น ส่งผลให้ความต่อเนื่องในการดำเนินการก่อสร้างเป็นไปได้ยาก และไม่เป็นไปตามแผน<br />2. สภาพอากาศที่แปรปรวน เนื่องจากมีฝนฟ้าคะนองในพื้นที่ดำเนินโครงการเป็นเวลา 2 วันติดต่อกัน ทำให้การดำเนินการก่อสร้างอาคารไม่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องและล่าช้ากว่าแผนการที่วางไว้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />1. ปรับลักษณะเนื้องานก่อสร้างที่สามารถดำเนินการได้ แม้จะมีฝนฟ้าคะนอง อาทิ การผูกคานลวด การทาสีโครสร้างหลังคา (ก่อนที่จะนำขึ้นไปประกอบ) ในที่ร่ม เป็นต้น<br />2. ควรเร่งให้มีการดำเนินการขึ้นโครงสร้างหลังคาและปูกระเบื้องมุงหลังคาให้แล้วเสร็จก่อนวันดำเนินการจริง เนื่องจากการมุงหลังคาจะส่งให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถดำเนินการได้ในทุกสภาวะอากาศ หากแดดร้อนก็มีที่กำบังแดด หากฝนตกก็มีหลังคาคอยกันน้ำฝน ทำให้สามารถปฏิบัติเนื้องานอื่นได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งการเทพื้น และก่อกำแพง<br />กิจกรรมที่ 3ปรับปรุงจุดภูมิทัศน์ <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />เนื่องด้วยโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายมีแปลงผักการเกษตร ป้ายสื่อการเรียนรู้ และสนามเด็กเล่นที่มีสภาพทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ประกอบกับโรงเรียนยังไม่มีรั้วกั้นอาณาเขตบริเวณที่ชัดเจนเท่าที่ควร เครือข่ายเยาวชนฯ จึงร่วมกับนักเรียนและคณะครู – อาจารย์ ดำเนินกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบของโรงเรียน อาทิ ปรับปรุงแปลงผักการเกษตร การทาสีป้ายสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นคำศัพท์ภาษาต่างประเทศ และคติ พุทธศาสนสุภาษิต ติดตามจุดต่าง ๆ ของโรงเรียน รวมทั้งจัดหาพันธุ์ไม้พุ่มขนาดเล็กร่วมกันปลูกเป็นรั้วกั้นอาณาเขตบริเวณโรงเรียน เป็นต้น เป็นการปรับปรุงสถานที่และบริเวณโดยรอบของโรงเรียนให้มีบรรยากาศส่งเสริมต่อการเรียนรู้ของนักเรียน<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />1. ประชุมร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เพื่อสอบถามความต้องการ ของทางโรงเรียนในส่วนที่ต้องการปรับปรุงจุดภูมิทัศน์ เพื่อสร้างบรรยากาศที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้<br />2. จัดสรรหน้าที่และเตรียมวัสดุอุปกรณ์<br />3. ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ของทางโรงเรียน ร่วมกับนักเรียน คณะครู – อาจารย์ และชุมชน อาทิ การทำป้ายสื่อการเรียนการสอน การร่วมกันปลูกไม้พุ่มเพื่อทำรั้วกำหนดอาณาเขตของโรงเรียนที่ชัดเจน เป็นต้น โดยจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกิจกรรมที่จะปรับปรุงในแต่ละวัน<br />4.สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรมในแต่ละวัน จนถึงวันสุดท้ายของการทำกิจกรรม โดยสังเกตการณ์จากความคืบหน้าของการดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ตามกำหนดการ<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค ร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียนด้วยการร่วมกันทำความสะอาดโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นการกวาดพื้นที่โดยรอบโรงเรียน เก็บขยะ จัดสิ่งของให้เป็นสัดส่วน ขัดห้องน้ำทุกห้อง เพื่อความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของโรงเรียน หลังจากที่ได้ดำเนินการแล้ว พบว่าโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อยมากขึ้น<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />ก่อนจัดค่ายทางคณะกรรมการดำเนินโครงการวางแผนไว้ว่าจะปรับปรุงแปลงผักการเกษตร การทาสีป้ายสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นคำศัพท์ภาษาต่างประเทศ และคติ พุทธศาสนสุภาษิต ติดตามจุดต่าง ๆ ของโรงเรียน รวมทั้งจัดหาพันธุ์ไม้พุ่มขนาดเล็กร่วมกันปลูกเป็นรั้วกั้นอาณาเขตบริเวณโรงเรียนและทำรั้วกั้นเขตสนามเด็กเล่น แต่เนื่องจากทางผู้อำนวยการโรงเรียนมีความต้องการที่จะทำป้ายการเรียนรู้เป็นลักษณะแผ่นป้ายผ้าใบหรือไวนิล และแนวรั้วกันสนมเด็กเล่นก็อยากให้เป็นเหล็กสำเร็จรูป ซึ่งทางโรงเรียนจะดำเนินการเอง <br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />ทางคณะกรรมการค่ายจึงมีมติให้ปรับปรุงภูมิทัศน์เพียงแค่เรื่องความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย จึงให้ผู้ร่วมโครงการ ปรับปรุงแปลงเกษตร ทำความสะอาดและจัดเก็บข้าวของต่างๆให้เป็นระเบียบเรียบร้อย<br />กิจกรรมที่ 4 ร่วมฝึกหัดสอนศึกษา <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />กิจกรรม “ร่วมฝึกหัดสอนศึกษา” มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มความรู้ให้แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายได้รับความรู้ ด้านวิชาการและประสบการณ์การใช้ชีวิตเพิ่มเติม ด้วยรูปแบบกิจกรรมที่สอดแทรกความสนุกสนาน จากการเล่านิทานและกิจกรรมสันทนาการ แนะนำวิธีการพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ดำรงอยู่บนความไม่ประมาท รวมถึงสอดแทรกข้อคิดที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้เห็นคุณค่าของการทำความดีและเห็นโทษของการทำความชั่ว โดยมีหลักสูตรกิจกรรมดังนี้<br />1. “คณิตคิดเพลิน วิทยาศาสตร์แสนสนุก ท่องศัพท์คำอังกฤษ” เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้และทักษะทางวิชาการด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยใช้รูปแบบการเวียนฐานกิจกรรมเข้าศึกษาหาความรู้ตามสถานที่ต่าง ๆ ภายในโรงเรียน สอดแทรกด้วยความสนุกสนานและกิจกรรมสันทนาการ เพื่อทำให้นักเรียนสามารถซึมซับและเข้าใจเนื้อหาสาระวิชาได้ง่ายยิ่งขึ้น <br />2. “รู้พิษภัยยาเสพย์ติด” จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้รู้จักกับพิษภัยของสิ่งเสพย์ติดประเภทต่าง ๆ อาทิ สุรา เหล้า ยาบ้า บุหรี่ ฯลฯ ว่ามีโทษและเป็นภัยต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติอย่างไร และร่วมกันจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์และต่อต้านยาเสพย์ทั้งในพื้นที่โรงเรียนและชุมชนโดยรอบ<br />3. “ปลูกสำนึกรักบ้านเกิด” เป็นการนำขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ และภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านหรือวิทยากรประจำท้องถิ่นมาเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนร่วมกับเครือข่ายเยาวชนฯ เพื่อให้นักเรียนในพื้นที่เกิดความภาคภูมิใจและร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรม ทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ของตน และเป็นการเผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมร่วมกันกับเครือข่ายเยาวชนฯ อนึ่ง ในหลักสูตรดังกล่าว จะมีการน้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการผสมผสาน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นที่ตนเองมีอยู่อย่างรู้คุณค่า ไม่จำเป็นต้องแสวงหาสิ่งที่อยู่ไกลตัวจนเกินกำลังความสามารถของตนเอง<br />4. “คุณธรรมค้ำจุนโลก” เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนรู้คุณธรรมขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต เช่น การรักษาศีล 5 การฝึกสมาธิเจริญภาวนา ฯลฯ เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้นำเอาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้จริงในชีวิตประจำวัน เปรียบเสมือนการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียนและเยาวชนให้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ และเป็นการปลูกฝังคุณธรรมให้แก่นักเรียนเยาวชนตั้งแต่เยาว์วัย ส่งผลสู่การพัฒนาและยกระดับสภาพสังคมแห่งคุณธรรมขึ้นในอนาคต <br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย เพื่อกำหนดหลักสูตรการเรียนการสอนและรูปแบบกิจกรรมที่นักเรียนให้ความสนใจ<br />2. จัดสรรหน้าที่และเตรียมวัสดุอุปกรณ์<br />3. ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนในแต่ละวันตามกำหนดการและหลักสูตรที่ได้ตกลงร่วมกันกับทางโรงเรียน ในรูปแบบที่น่าสนใจ เช่น การสอน “คณิตคิดเพลิน วิทยาศาสตร์แสนสนุก ท่องศัพท์คำอังกฤษ” จะมีการแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ในรูปแบบฐานกิจกรรมวนการเข้าฐาน ที่จะมีรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรที่ทำการเรียนการสอนแต่ละหลักสูตร เป็นต้น<br />4.สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรมในแต่ละวัน โดยใช้คู่มือการพัฒนาตนเองจากการเข้าร่วมกิจกรรมที่จะแจกให้แก่นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน ตรวจสอบระดับพัฒนาการของผู้เข้าร่วมกิจกรรม<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค ได้ตั้งใจถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายอย่างเต็มที่ ทั้งความรู้ด้านวิชาการ และความสนุกสนาน นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายมีความกะตือรือร้นที่จะรับในสิ่งที่คณะกรรมการดำเนินโครงการถ่ายทอดให้ เพราะบางส่วนของการเรียนการสอนเป็นความรู้ที่ไม่มีในห้องเรียน อีกทั้งยังผสมผสานกับความสนุกสนาน บรรยากาศการเรียนการสอนจึงเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความสนุกสนาน และความประทับใจที่ต่างฝ่ายต่างมีให้กัน นอกจากนี้ยังพบว่ามีนักเรียนบางคนได้นำสิ่งที่ได้รับไปถ่ายทอดต่อให้น้องๆและเพื่อนๆที่บ้าน ทำให้เกิดการกระจายความรู้เข้าสู่ชุมชนอีกทั้งในวันต่อมามีนักเรียนและผู้ปกครองมาฟังการเรียนการสอนเพิ่มอีกด้วย<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />นักเรียนที่มาเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ซึ่งมีความแตกต่างกันทางวัย จึงเกิดปัญหาในเรื่องของหลักสูตรเพราะเด็กแต่ละวัยไม่สามารถใช้หลักสูตรการสอนเดียวกันได้ อีกทั้งยังรวมถึงการสันทนาการด้วย เพราะเกมที่สอนแต่ละเกมมีระดับความยากง่าย น้องๆบางคนจึงไม่สามารถรับได้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />แบ่งเด็กนักเรียนอออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มชั้นประถมศึกษาปีที่1-3 และชั้นประถมศึกษาปีที่4-6 ทั้งสองกลุ่มนี้จะมีพี่ๆประจำกลุ่มคอยถ่ายทอดความรู้และสันทนาการให้ ซึ่งเนื้อหาของหลังสูตรและการสันทนาจะต่างกันตามระดับอายุ ทำให้เด็กนักเรียนทุกคนได้รับความรู้และความสนุกสนานกันอย่างทั่วถึง<br />กิจกรรมที่ 5เรียนรู้วิชาปราชญ์ชุมชน <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br /> กิจกรรม “เรียนรู้วิชาปราชญ์ชุมชน” เป็นกิจกรรมที่ให้เยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพได้ลงพื้นที่สำรวจ ศึกษาเรียนรู้ และศึกษาวิถีชีวิตของประชาชนบริเวณชุมชนบ้านหนองสาหร่ายโดยรอบ ทั้งการประกอบอาชีพ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม เพื่อให้เครือข่ายเยาวชนฯ ได้เกิดกระบวนการเรียนรู้นอกห้องเรียน สามารถแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ซึมซับวิถีชาวบ้านและเกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง รวมถึงเห็นคุณค่าและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพกับประชาชนในชุมชน นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างความภาคภูมิใจของคนในชุมชนที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ถ่ายทอดภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น อีกทั้งยังเป็นการสร้างความรัก ความสามัคคี ให้เกิดขึ้นระหว่างคนในชุมชนอีกด้วย โดยกิจกรรมลงพื้นที่ศึกษาชุมชน จะเป็นรูปแบบการจัดกลุ่มเครือข่ายเยาวชนฯ ลงพื้นที่ศึกษาชุมชนในช่วงบ่ายถึงเย็นแต่ละวัน ประกอบด้วย การศึกษาการประกอบอาชีพเกษตรกรรมท้องถิ่น (การทำไร่อ้อย ไร่สับปะรด ไร่มันสำปะหลัง) การตีดาบท้องถิ่น การศึกษาแพทย์แผนไทย (สมุนไพรท้องถิ่นและการนวดแผนโบราณ) การปลูกหม่อน เลี้ยงไหม<br /> หลังจากการลงพื้นที่สำรวจและศึกษาวิถีชีวิตในชุมชนบ้านหนองสาหร่าย กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพจะสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ และแรงบันดาลใจที่ได้ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ตลอดจนร่วมกันคิด วิเคราะห์ และวางแนวทางการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปบูรณาการ ปรับ ประยุกต์ใช้พัฒนากิจกรรมชุมชน ในการทำกิจกรรมพัฒนาเยาวชนและชุมชนในพื้นที่ ที่มีความแตกต่างออกไป นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในการแก้ไขปัญหาชุมชนและสังคมต่อไป ในอนาคต<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่ายและชุมชน เพื่อขอข้อมูลและคำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี การประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เครือข่ายเยาวชนฯ ได้มีโอกาสลงไปศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้<br />2. ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้น เพื่อนำมาวิเคราะห์แนวทางการจัดกิจกรรมเรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น<br />3. จัดกลุ่มเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการในแต่ละวัน เพื่อลงศึกษาพื้นที่ชุมชนและพบปะกับวิทยากรชุมชน/ปราชญ์ชาวบ้าน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามสถานที่ที่กำหนดในแต่ละวัน โดยหมุนเวียนกันไป<br />4. ให้เยาวชนที่ได้โอกาสลงพื้นที่ศึกษาชุมชนในแต่ละวัน เป็นผู้นำเสนอผลการลงพื้นที่ศึกษาชุมชน องค์ความรู้ สภาพปัญหา และแนวทางในการส่งเสริมสนับสนุน ปรับปรุงประยุกต์ใช้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้มีโอกาสลงไปทำการศึกษา ในช่วงค่ำของแต่ละวัน<br />5. คณะกรรมการโครงการรวบรวมประเด็นการลงพื้นที่ศึกษาชุมชนและแนวความคิดทัศนคติที่ร่วมกันวิเคราะห์ นำเสนอต่อผู้บริหารในท้องที่ เช่น นายอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการอนุรักษ์ รักษา พัฒนาองค์ความรู้ วัฒนธรรมประเพณี การประกอบอาชีพ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อไปในอนาคต ขณะเดียวกันทางคณะกรรมการโครงการก็จะนำข้อมูลดังกล่าวไปปรับปรุง บูรณาการ ประยุกต์ใช้ในพื้นที่ ชุมชน สังคม จังหวัดอื่น ๆ ต่อไป<br />6. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและประเมินผลโดยการนำเสนอผลการศึกษาไปยังผู้บริหารในพื้นที่ และจากการนำแนวความคิดไปบูรณาการประยุกต์ต่อยอดแนวความคิดในการทำกิจกรรมโครงการในพื้นที่อื่น ๆ ตลอดจนการนำเสนอผลการพัฒนาชุมชนในช่วงวันเยาวชนแห่งชาติ<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพได้ศึกษาและเรียนรู้ถึงวิถีชีวิตของประชาชนบริเวณชุมชนบ้านหนองสาหร่ายโดยรอบ ทั้งการประกอบอาชีพ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม อีกทั้งยังได้เรียนรู้ ซึมซับวิถีชาวบ้านและเกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง รวมถึงเห็นคุณค่าและความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งสถานที่ที่กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพได้ไปลงพื้นที่ศึกษาคือ ไร่อ้อย และโรงอบสมุนไพรชาวบ้าน ถือเป็นการเรียนรู้แบบศึกษาจากพื้นที่จริงเพราะได้สัมผัสและผู้คุยกับผู้รู้โดยตรง จึงได้ความรู้และแง่คิดกลับไปประยุกต์ใช้และยังได้ความสนุกสนานและเพลิดเพลินไปกับการศึกษาดูงาน เพราะมีโอกาสได้ทดลองและปฏิบัติจริง<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />ในวันที่ต้องลงศึกษาชุมชนผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมไม่สามารถพากลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพให้เข้าศึกษาดูงานได้เนื่องขากเป็นวันซื้อขายตัวไหม ผู้ขายไหมทุกรายต้องรวมตัวกันเพื่อขายไหมให้กับผู้ที่มาซื้อ จึงไม่สามารถให้เข้าชมได้ อีกทั้งในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงเวลาที่พร้อมขายไหมแล้ว ทำให้ไม่มีสิ่งที่สามารถศึกษาดูงานได้กลุ่มแกนนำเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพจึงไม่สามารถเข้าไปศึกษาดูงานภายในโรงเลี้ยงไหมได้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />1. กำหนดสถานที่ที่สามรถลงศึกษาชุมชนได้ คือ ไร่อ้อย โรงอบสมุนไพร และศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเทศบาลตำบลหนองปรือ และโรงอบสมุนไพรและนวดแผนไทย<br />2. ปรับเวลาลงศึกษาชุมชนแต่ละที่ให้มากขึ้น<br />กิจกรรมที่ 6ทั่วแห่งหนตักบาตรกัน <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />กิจกรรม “ ทั่วแห่งหนตักบาตรกัน” มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ คณะครู อาจารย์ นักเรียน ประชาชนบ้านหนองสาหร่าย และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไปได้ทำบุญ ตักบาตรร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าเยาวชนเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพเอง และความสมัครสมานสามัคคีระหว่างประชาชนในชุมชนบ้านหนองสาหร่าย เพราะการตักบาตรในครั้งนี้ เป็นการรวมตัวกันเพื่อทำความดี ทำนุบำรุงพระพุธศาสนา ซึ่งถือเป็นสถาบันที่เป็นที่พึ่งและหลอมรวมจิตใจของเยาวชนและประชาชนในชุมชน อีกทั้งยังเป็นการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามอีกด้วย โดยนิมนต์พระสงฆ์ จำนวน 9 รูป การดำเนินงาน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนพิธีกรรมและประชาสัมพันธ์ ส่วนการนิมนต์คณะสงฆ์ และส่วนภัตตาหารและสถานที่ โดยทั้ง 3 ส่วน จะเป็นความร่วมมือระหว่างชุมชน โรงเรียน วัด และเครือข่ายเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าที่ดำเนินงานโดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นผู้ประสานงานให้นักเรียน และผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมรวมถึงการนิมนต์พระสงฆ์ และทางเครือข่ายเยาวชนฯ จะเป็นผู้จัดเตรียมสถานที่และกิจกรรม<br />3. แกนนำเยาวชนร่วมกันจัดเตรียมสถานที่และของใส่บาตร<br />4. ดำเนินกิจกรรมโดยนิมนต์พระสงฆ์มารับบาตรแกนนำเยาวชนฯ ร่วมกับนักเรียน ครู อาจารย์ ชาวบ้านชุมชนบ้านหนองสาหร่ายตักบาตรร่วมกัน <br />5. สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรม โดยสังเกตจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแบบประเมิน<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการ เยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพทุกภูมิภาค คณะครู – อาจารย์ นักเรียน และประชาชนบริเวณโดยรอบชุมชนบ้านหนองสาหร่าย ได้ร่วมกันตักบาตรอาหารสด ชาวบ้านทุกคนต่างเตรียมอาหารสดเพื่อมาร่วมตักบาตร รวมทั้งฝ่ายสวัสดิการของค่ายก็ตื่นแต่เช้าเพื่อมาประกอบอาหารให้ทุกๆคนได้ร่วมตักบาตรกัน ซึ่งนอกจากฝ่ายสวัสดิการแล้ว ผู้ร่วมโครงการบางส่วนได้มาช่วยฝ่ายสวัสดิการทำอาหารด้วย ถือเป็นการร่วมแรงร่วมใจของผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน โดยมีพระจากวัดหนองสาหร่ายมาบิณฑบาต 5 รูป <br />ปัญหา/อุปสรรค<br />-<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />-<br />กิจกรรมที่ 7สานสัมพันธ์เล่นกีฬา <br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />กิจกรรม “ สานสัมพันธ์เล่นกีฬา” มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อความสัมพันธ์อันดีระหว่างเครือข่ายเยาวชนฯ กับชุมชนบ้านหนองสาหร่าย โดยใช้การเล่นกีฬาสากลและการละเล่นพื้นบ้าน เป็นสื่อกลางในการเชื่อมความสัมพันธ์ เช่น การแข่งขันฟุตบอล วอลเลย์บอล กรีฑา ชักเย่อ กินวิบาก เก้าอี้ดนตรี เหยียบลูกโป่ง ฯลฯ เป็นส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ผ่อนคลายจากการก่อสร้างตลอดระยะเวลา 6 วัน ในการดำเนินโครงการ อีกทั้งยังเป็นการรณรงค์ส่งเสริมให้เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ นักเรียน และประชาชนในชุมชน ได้มีโอกาสเล่นกีฬา และเล็งเห็นถึงความสำคัญของการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างชุมชนในการออกกำลังกายร่วมกัน ปลูกฝังความมีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าในการดำเนินงาน โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้ประสานงาน ให้นักเรียน และผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม และทางเครือข่ายเยาวชนฯ จะเป็นผู้กำหนดประเภทกีฬาและรูปแบบการแข่งขัน เพื่อเสนอต่อผู้อำนวยการโรงเรียนฯ ให้ความเห็นต่อไป<br />3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และกติกาการแข่งขันทั้งหมด<br />4. ดำเนินการแข่งขันกีฬาตามกำหนดการ และกติกาที่ได้ร่วมกันกำหนด โดยในระหว่างการแข่งขันจะมีการประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งยั่วยุต่าง ๆ<br />5. สรุปผลและประเมินผลการทำกิจกรรม โดยสังเกตจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแบบประเมิน<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันเล่นกีฬาสานสัมพันธ์ คือ กีฬาฮาเฮ และ ฟุตบอล บรรยากาศเต็มไปด้วยความสนุกสนานและครื้นเครง เพราะทุกคนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้ นอกจากกีฬาแล้วยังมีเชียร์หลีดเดอร์ที่คอยสร้างสีสันและเสียงหัวเราะอีกด้วย ซึ่งผู้ร่วมโครงการเป็นผู้ดำเนินการเองทั้งหมด ซึ่งนอกจากจะได้รับความสนุกสนานแล้วยังถือเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการด้วย<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />คณะกรรมการดำเนินโครงการวางแผนให้มีการแข่งขันร่วมกับชาวบ้าน แต่เนื่องจากวันที่มีการแข่งขันมีการเรียกประชุมกองทุนหมู่บ้านกะทันหัน ทำให้ไม่สามารถมาร่วมการแข่งขันกับผู้เข้าร่วมโครงการได้<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />จัดดการแข่งขันกีฬาระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการเอง โดยให้แต่ละภูมิภาคส่งตัวแทนเข้าแข่งขันในกีฬาแต่ละชนิด ใครที่ไม่ถนัดก็จะเป็นเชียร์หลีดเดอร์เพื่อให้กำลังใจนักกีฬาและสร้างสีสันให้สนุกมากยิ่งขึ้น<br />กิจกรรมที่ 8สุดหรรษารอบกองไฟสุขฤทัยร่วมเปรมปรีดิ์<br />รูปแบบการดำเนินงาน <br />กิจกรรม “ สุดหรรษารอบกองไฟ สุขฤทัยร่วมเปรมปรีดิ์” เป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย กับแกนนำเยาวชนฯ โดยกิจกรรมดังกล่าว เป็นการช่วยกันทำอาหารมื้อเย็น และขนมสำหรับกิจกรรมรอบกองไฟตอนค่ำและรับประทานอาหารร่วมกัน ซึ่งกิจกรรมรอบกองไฟประกอบด้วยการแสดงของนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย การแสดงพื้นบ้านของชาวชุมชนบ้านหนองสาหร่าย การแสดงจากแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ การร้องเพลงของผู้ปกครองนักเรียน การร้องเพลงของคณะครู การร้องเพลงประกอบกีตาร์โปร่งจากแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ การกล่าวขอบคุณ และแสดงความรู้สึกของตัวแทนแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ ต่อทางโรงเรียนและชุมชน การกล่าวแสดงความรู้สึกของชาวบ้านในชุมชนต่อแกนนำเยาวชนฯ และการกล่าวแสดงความรู้สึกของผู้อำนวยการโรงเรียนต่อแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ และการผูกสายสิญจน์บายศรีจากครูและผู้ใหญ่ในชุมชน ให้กับแกนนำเครือข่ายเยาวชนฯ ในโครงการ<br />ขั้นตอนการดำเนินงาน <br />1. ประชุมกำหนดรูปแบบกิจกรรมร่วมกันระหว่างแกนนำเยาวชนฯ กับผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองสาหร่าย<br />2. แบ่งหน้าในการดำเนินงาน โดยทางผู้อำนวยการโรงเรียนจะเป็นผู้ประสานงาน ให้นักเรียน และผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชนจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และวัตถุดิบต่าง ๆ ตลอดจนการแสดงท้องถิ่น ทางเครือข่ายเยาวชนฯ จัดเตรียม การแสดงในส่วนของเครือข่ายฯ เยาวชน<br />3. ชาวบ้าน ประชาชนในชุมชน และแกนนำเยาวชน ร่วมกันประกอบอาหาร เครื่องดื่ม และขนม เพื่อใช้ในการรับประทานอาหารมื้อค่ำร่วมกัน<br />4. ดำเนินกิจกรรมการแสดงตามกำหนดการที่วางไว้ร่วมกัน และรับประทานอาหารค่ำร่วมกัน โดยในระหว่างที่รับประทานอาหารและชมการแสดงนั้น ก็จะมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้สึกและประสบการณ์ระหว่างกัน เมื่อการแสดงจบลงก็จะเปิดโอกาสให้ตัวแทนแต่ละฝ่าย ได้แก่ ตัวแทนนักเรียน ตัวแทนผู้บริหารโรงเรียน ตัวแทนชุมชนและชาวบ้าน และตัวแทนแกนนำเยาวชนฯ ได้พูดถึงความรู้สึกในการจัดกิจกรรมระหว่างกัน และปิดท้ายด้วยการกิจกรรมบายศรีจากผู้ใหญ่ในชุมชน เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่แกนนำเยาวชนฯ หลังจากที่เหน็ดเหนื่อยจากการทำกิจกรรมตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ <br />5. สรุปผลและประเมินผลกิจกรรม โดยการสังเกตจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแบบประเมิน<br />ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น<br />ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนต้องแสดงละครบทบาทสมมุตติ โดยแบ่งเป็นระดับชั้น คือ ชั้นมัธยมศึกษา ระดับอุดมศึกษาชั้นปีที่1 ชั้นปีที่2 ชั้นปีที่3 ชั้นปีที่4 และพี่ๆบัณฑิต แต่ละชั้นปีต้องทำการแสดงอะไรก็ได้ 1 ชุดการแสดง ซึ่งผลที่ออกมานั้นทำให้เห็นว่าแต่ละการแสดงมีการเตรียมการและวางแผนที่ดี ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนได้ประชุมและแบ่งงานกันโดยใช้เวลาไม่นานแต่ทุกคนก็สามารถทำออกมาได้ดี นอกจากนี้ยังมีการเลียนแบบการแสดงรอบกองไฟแบบลูกเสือคือเมื่อแต่ละการแสดงจบแต่ละกลุ่มจะต้องกล่าวชื่นชมกลุ่มที่ทำการแสดงด้วย<br />ปัญหา/อุปสรรค<br />ในคืนวันนั้นไม่มีการทานข้าวร่วมกันระหว่างชาวบ้านและผู้เข้าร่วมโครงการเนื่องจากชาวบ้านเตรียมตัวไม่ทันเพราะมีการประชุมกองทุนหมู่บ้าน จึงเลื่อนการทานข้าวร่วมกันเป็นวันถัดไปเพื่อที่ชาวบ้านทุกคนจะสามารถมาร่วมงานและถือเป็นการเลี้ยงอำลาผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนอีกด้วย<br />วิธีการแก้ไขปัญหา<br />จัดให้มีเพียงแค่การแสดงรอบกองไฟและการมอบของที่ระลึกให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ และการพูดเปิดใจ แสดงความรู้สึกของพี่ๆและน้องๆผู้เข้าร่วมโครงการ บรรยากาศจึงกลายเป็นความอบอุ่นระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ<br />สรุปภาพรวมค่าย<br />ความเปลี่ยนแปลงที่พบเห็นหรือรู้สึกได้<br />เรื่องความเป็นอยู่<br />ก่อนดำเนินโครงการ<br />ผู้เข้าร่วมโครงการมีความกระวนกระวายใจถึงความเป็นอยู่และกิจกรรมต่างๆในค่าย เช่น อาหารการกิน สถานที่พัก สถานที่อาบน้ำ เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นนักเรียนชั้นมัธยมปลาย การมาค่ายอาสาครั้งนี้ถือเป็นค่ายแรกที่น้องจะได้เข้าร่วม อีกทั้งยังมีการแจ้งจากพี่ค่ายว่า สถานที่พักเป็นห้องเรียน และห้องอาบน้ำหญิงเป็นแบบรวม ต้องใช้ผ้าถุงในการอาบ น้องๆมัธยมศึกษาและพี่ๆอุดมศึกษาหลายคนไม่เคยอาบน้ำรวมมาก่อน และไม่เคยใช้ผ้าถุงอาบน้ำมาก่อน จึงเกิดความกังวลใจกับเรื่องความเป็นอยู่ของตนในค่าย สังเกตได้จากการโทรมาถามพี่ๆชุดเตรียมค่ายและการโพสต์ถามกันในเฟสบุ๊ค ถึงเรื่องของการเตรียมตัวและเตรียมของ <br />หลังดำเนินโครงการ<br />ในช่วงแรกผู้เข้าร่วมโครงการยังไม่ค่อยคุ้นชินกับความเป็นอยู่ในค่าย เพราะทุกสิ่งทุกอย่างแตกต่างจากชีวิตประจำวันของแต่ละคน แต่อย่างไรก็ตามน้องๆทุกคนสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานที่ได้ดี ทั้งนี้อาจเป็นเพราะความคุ้นชินของน้องๆในเรื่องการใช้สถานที่ทั้งที่นอนและที่อาบน้ำ นอกจากนี้ความสนิทสนมกับเพื่อนๆในค่ายที่ก่อเกิดเป็นมิตรภาพใหม่ได้ทำให้ชาวค่ายทุกคนเกิดความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เกิดความคิดที่ว่า หากเพื่อนทุกคนสามารถอดทนและฟันฝ่าความยากลำบากนี้ไปได้ เราก็ต้องผ่านไปให้ได้ และจะต้องช่วยประคับประคองเพื่อนคนอื่นๆให้ไปกับเราได้ด้วย ดังนั้นบรรยากาศในค่ายจึงไม่ตึงเครียดเพราะน้องๆทุกคนต่างสนุกสนานกับการได้อาบน้ำรวม คุ้นชินกับการนอนเสื่อ และพร้อมที่ลองและเรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองไม่เคยทำมาก่อน <br />หลังจากผ่านสภาวะดังกล่าวจากการเข้าค่ายอาสามาแล้ว ทำให้การใช้ชีวิตในแต่ละวันมีระเบียบวินัยมากขึ้น นึกถึงคนอื่นมากขึ้น สามารถมองผ่านปัญหาเล็กๆน้อยๆที่เข้ามาในชีวิตประจำวันได้เพราะได้ผ่านความยากลำบากมาแล้ว<br />เรื่องความสัมพันธ์ของคนในค่าย<br />ก่อนดำเนินโครงการ<br />ผู้เข้าร่วมโครงการมาจากหลายจังหวัด หลายภูมิภาค หลายๆคนไม่รู้จักกันมาก่อน จะรู้จักกันก็เพียงในภูมิภาคเดียวกันเท่านั้น ไม่เคยทำงานร่วมกันระหว่างภูมิภาค จึงยากที่จะหล่อหลอมและละลายพฤติกรรมของน้องๆทั้งค่ายเพื่อให้น้องเกิดความรัก ความสามัคคีกัน สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีมได้อีกทั้งน้องๆในแต่ละภูมิภาคมักจะรู้จักและสนิทกันเพียงแค่ในภูมิภาคของตนเอง ยังไม่ค่อยเปิดกับเพื่อนๆต่างภูมิภาคเท่าใดนัก<br /> หลังจากจบค่ายนี้น้องๆทุกคน ทั้งระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาจะต้องแยกย้ายกันออกไปจัดค่ายของภูมิภาคตนเอง แต่การทำงานไม่ได้เกิดขึ้นเพียงแค่ระหว่างคนในภาคเท่านั้น จำเป็นต้องอาศัยความช่วยเหลือเกื้อกูลกันของเพื่อนๆพี่ๆภูมิภาคอื่นๆด้วย<br />หลังดำเนินโครงการ<br />ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้จักและสนิทสนมกันมากขึ้นโดยผ่านกกิจกรรมต่างๆไม่ว่าจะเป็น การก่อสร้าง การปรับภูมิทัศน์โรงเรียน การสอนหนังสือเด็กๆ การลงชุมชน และการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันตลอด 7 วัน 6 คืน อีกทั้งยังมีการหล่อหลอมพฤติกรรมโดยใช้กระบวนการกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม ทำให้น้องๆทุกคนได้รู้จักกันในต่างภูมิภาคมากยิ่งขึ้น การรู้จักและสนิทสนมกันในค่ายอาสาทำให้การทำกิจกรรมของน้องๆหลังค่ายเป็นไปได้ง่ายและราบรื่นมากยิ่งขึ้น เพราะแต่ละคนต่างรู้จักกันหมดแล้ว ดังนั้น การคุยงาน การวางแผนงาน และการทำงานร่วมกันจึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป <br />เรื่องการทำงานร่วมกัน<br />ก่อนดำเนินโครงการ<br />คณะกรรมการค่ายแต่ละคนยังไม่ค่อยรู้จักนิสัยใจคอซึ่งกันและกันรวมถึงยังไม่เข้าใจลักษณะการทำงานของเพื่อนร่วมงาน ทำให้ในบางครั้งเกิดความไม่เข้าใจกันบ้าง ความคิดเห็นแตกต่างกันไปบ้าง ต่างคนต่างได้รับหน้าที่ให้มาทำงานร่วมกันแต่ยังไม่ได้มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จึงยังไม่เห็นภาพของการทำงานเป็นทีม<br />หลังดำเนินโครงการ<br />หลังจากการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันมาตลอดตั้งแต่เริ่มเตรียมค่าย จนถึงวันสุดท้ายของค่าย ทำให้ทุกคนได้เรียนรู้ลักษณะนิสัยและลักษณะการทำงานของเพื่อนร่วมงานแต่ละคนมากขึ้น จากการเรียนรู้นี้ทำให้แต่ละคนได้ทราบว่าต้องปรับตัวเองอย่างไร มากน้อยแค่ไหนเพื่อให้งานสามารถเดินต่อไปได้ ทำให้ทราบว่าตนเองยังขาดสิ่งใด และตนเองสามารถเสริมสิ่งใดให้กับงานแต่ละชิ้นได้ นอกจากนี้ยังเกิดการเรียนรู้คุณธรรมของเพื่อนร่วมงานแต่ละคนอีกด้วย เพราะแต่ละคนมีลักษณะการทำงานและคติประจำใจที่แตกต่างกันออกไป สามารถนำมาเป็นข้อคิดและปรับใช้ให้เข้ากับตนเองได้ อีกสิ่งหนึ่งที่นับได้ว่าเป็นเรื่องสำคัญและหาได้ง่ายมากจากการทำค่ายอาสาครั้งนี้ นั่นคือกำลังใจจาก พี่ๆ เพื่อนๆ และน้องๆ ที่ทำงานร่วมกัน ตลอดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเตรียมค่ายมีทั้งความเครียด ความเหนื่อยและความกดดันที่คอยบั่นทอนกำลังใจในการทำงาน กำลังใจทั้งจากตนเองและผู้อื่นจึงเปรียบเสมือนน้ำที่คอยทำให้หัวใจที่ห่อเหี่ยวและเหนื่อยล้ากลับมาชุ่มชื้นอีกครั้ง และยังเป็นสิ่งที่คอยย้ำอุดมการณ์ของทุกคนที่มีร่วมกัน การเติมกำลังใจให้กันและกันจึงเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ร่วมงานทุกคนเห็นอกเห็นใจกัน เข้าใจตรงกัน และทำให้สามารถเดินไปบนเส้นท�