SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
โครงการ หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
จัดทาโดย
1. นางสาวณัฐณิชา จันทร์สนอง เลขที่ 14
2. นางสาวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15
3. นางสาวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16
4. นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที่ 17
5. นางสาวพิมพ์นิภา วิศิษฏ์รัฐพงศ์ เลขที่ 23
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
วิชา IS3 (130903)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
ก
เกี่ยวกับโครงการ
เรื่องโครงการ หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
กลุ่มสาระการะการเรียนรู้ IS 3
ผู้จัดทา 1.นางสาวณัฐณิชา จันทร์สนอง เลขที่ 14
2.นางสาวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15
3.นางสาวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16
4.นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที่ 17
5.นางสาวพิมพ์นิภา วิศิฏรัฐพงศ์ เลขที่ 23
ครูที่ปรึกษา ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
สถานที่ศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ปีการศึกษา 2558
ข
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 (130903) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี
จุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งรายงานเล่มนี้มี
เนื้อหาเกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้คนพิการทางสายตาโดยอ่านผ่าน App Read for the Blind โดยส่งไปยัง
มูลนิธิคนตาบอดฯ โดยทุกคนสามารถทาได้แค่มีแอพพลิเคชั่นนี้
ทั้งนี้ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน นักศึกษาที่กาลังจะใช้เวลาว่าง
ให้เป็นประโยชน์ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้
ด้วย
ผู้จัดทา
ค
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคล
หลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณท่านแรกที่ผู้ศึกษาขอบคุณคือ คุณครูทรงศักดิ์
โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุก
ขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ เทคนิคการนาเสนอรายงานปากเปล่า
ผู้ศึกษาใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และให้
กาลังใจในการศึกษาค้นคว้าตลอดมา
ขอขอบคุณคุณครูโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรีทุกสาขาวิชา
ที่ได้ฝึกสอน ได้คาแนะนาในการจัดทารายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้ที่ไม่ได้กล่าวนาม
ขอขอบพระคุณผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มโครงงาน ที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จที่ได้ให้
ความช่วยเหลือสนับสนุนและให้กาลังใจตลอดมา
ผู้จัดทา
ง
สารบัญ
เนื้อหา หน้า
เกี่ยวกับโครงการ ก
คานา ข
กิตติกรรมประกาศ ค
บทที่ 1 โครงการ 1
หลักการและเหตุผล 1
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1
เงื่อนไข 2
วัตถุประสงค์ของโครงการ 2
สถานที่ดาเนินการ 2
วิธีการดาเนินงาน 2
ระยะเวลาดาเนินงาน 3
รายละเอียดงบประมาณของโครงการ 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4
ความหมายของคนพิการ 4
คนพิการกับการมีงานทา 5
การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ 6
การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในด้านการจ้างงาน 6
บทที่ 3วิธีการดาเนินงาน 11
จ
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 11
ขั้นตอนการดาเนินงาน 12
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18
บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล 21
สรุปผลการศึกษา 21
อภิปรายผล 21
บรรณานุกรม 22
ภาคผนวก 23
ฉ
สารบัญภาพ
รูปภาพที่ หน้า
รูปภาพที่ 3.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ 11
รูปภาพที่ 3.2 app Read for the Blind 12
รูปภาพที่ 3.3 ดาวน์โหลดแอพลิเคชั่น 14
รูปภาพที่ 3.4 เลือกประเภทหนังสือ 14
รูปภาพที่ 3.5 สร้างหนังสือเล่มใหม่ 15
รูปภาพที่ 3.6 sign in กับ facebook 15
รูปภาพที่ 3.7 เลือกปก ข้อมูลหนังสือ 16
รูปภาพที่ 3.8 กดปุ่มเริ่มบันทึกเสียง 16
รูปภาพที่ 3.9 กด ok เมื่ออ่านหนังสือเสร็จแล้วระบบจะบันทีกข้อมูล 17
ช
1
บทที่ 1
หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
1.หลักการและเหตุผล
จากข้อมูลสถิติจาก มูลนิธิคนตาบอดแห่งประเทศไทย มีคนไทยตาบอดกว่า 7 แสนคน และจานวน
ซีดีหนังสือเสียง ที่เปิดให้คนตาบอดฟังตอนนี้มีเพียง 7,000 แผ่น พวกเราสามารถช่วยคนตาบอดได้โดยอ่าน
หนังสือให้คนตาบอดฟัง ผ่านการสร้างหนังสือเสียง
เราโชคดีที่เกิดมาอยู่ในโลก ได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ได้สัมผัส ได้เรียนรู้ และมีความสุขกับทุกๆสิ่งใน
โลกที่เรามองเห็น แต่สาหรับคนอีกกลุ่ม ที่ไม่มีโอกาสเหมือนเรา อย่างคนตาบอดที่มองเห็นแค่สีดาสนิท
อยู่ในโลกมืด เค้าต้องเรียนรู้ผ่านทางเสียง กลิ่น และการสัมผัส ต่างๆ เราในฐานะคนธรรมดาๆคนหนึ่งที่ได้
เห็นสิ่งต่างๆมากกว่า จะมีส่วนช่วยให้ความรู้ สร้างความบันเทิงให้กับคนตาบอดได้ โดยช่วยกันอ่านหนังสือ
ให้คนตาบอดฟัง
กลุ่มข้าพเจ้าจึงเข้าร่วมโครงการ โดยผ่าน App Read for the Blind อ่านหนังสือให้คนตาบอด ซึ่งใน
อดีตกว่าจะได้หนังสือเสียง ต้องเดินทางไป มูลนิธิคนตาบอดฯ และข้อจากัดเกี่ยวกับห้องบันทึกเสียง และ
การใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ในการสร้างหนังสือเสียงด้วย
2. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ ไม่ต้องเสียงค่าใช้จ่ายในการเดินทางและซื้ออุปกรณ์ เพราะสามารถนาสื่อเทคโนโลยี
มาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่สังคม
2. ความมีเหตุมีผล ทาให้เรามีจิตสาธารณะ รู้จักการเอื้อเฟื้องเผื่อแผ่การเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว มีการวางแผนเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านให้แก่ตนเอง และได้แบ่งปันความรู้
ให้แก่น้องๆที่ไม่มีโอกาส
2
เงื่อนไข
1. เงื่อนไขความรู้ พัฒนาการอ่านของตัวเองและสามารถช่วยให้คนอื่นได้รับสิ่งใหม่ๆ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ปลูกจิตใต้สานึกในการรักการอ่านและการดูแลเอาใจใส่ผู้อื่น เห็นถึงความเป็นเพื่อน
มนุษย์
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อช่วยทาหนังสือเสียงให้แก่คนตาบอด จานวน 5 เล่ม
2. เพื่อเปิดโอกาสให้คนตาบอดได้รับสิ่งใหม่ๆ
4. สถานที่ดาเนินการ
ที่บ้านและโรงเรียน
5. วิธีการดาเนินงาน
1. ติดตั้ง App Read for Blind โดย App ตัวนี้จะรองรับระบบ Android Version 2.2 เป็นต้นไป
2. เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครั้งแรกที่เราเข้า App ตัวนี้ เราก็จะพบกับหน้าจะมีการแนะนาการใช้งาน ซึ่ง
เพื่อนๆ จะต้องทาการ Login เข้าระบบของ Read for Blind ด้วยใช้ Facebook Login ก่อนจึงจะสามารถเข้า
ไปใช้งานได้
3. เลือกหนังสือที่เราต้องการอ่านให้คนตาบอดจานวน 1 เล่มแล้วบันทึกเสียง [นอกจากการอัดเสียงหนังสือ
ต่อจากคนอื่นแล้ว เราก็สามารถเพิ่มหนังสือ (หรือบทความที่น่าสนใจ) เล่มอื่นๆ ที่เราต้องการได้เช่นกัน ด้วย
การกดที่เครื่องหมาย + ในส่วนของเมนู โดยตัว App จะให้เรากรอกข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือเล่มนั้น
พร้อมกับให้เราใช้กล้องบนสมาร์ทโฟนหรือแท๊บเล็ต ทาการถ่ายภาพ “หน้าปก” หนังสือเล่มนั้นเข้ามาเก็บ
เอาไว้ในระบบด้วย]
4. กดส่งไปทางแอพ โดยทางแอพจะกระจายข้อมูลของเราให้แก่คนตาบอดได้ฟัง
หมายเหตุ : การอ่านหนังสือใน App นี้ จาเป็นต้องอ่านให้จบเป็นบทๆ หรือเป็นเล่ม จึงสามารถอ่านเล่มอื่น
ได้
3
6. ระยะเวลาดาเนินงาน
เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2558
7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ
ไม่มีค่าใช่จ่ายใดๆ
4
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในประเทศไทยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติเป็นห้องสมุดที่มีหนังสือเสียงให้บริการแก่ผู้ใช้
ห้องสมุด จานวนมากทั้งหนังสือเสียงที่เป็นเทปคาสเซ็ทและที่อยู่ในรูปของแผ่นซีดี ส่วนในต่างประเทศ
ห้องสมุดรัฐสภาอเมริกันและห้องสมุด CNIB ในแคนาดาให้บริการหนังสือเสียงฟรีแก่ผู้ที่บกพร่องด้านการ
มองเห็น
1. ความหมายของคนพิการ
Hammerman และ Maikowski (1981) ได้สรุปความหมายของ “ความพิการ” ไว้ดังนี้ ว่าหมายถึง ความ
เสียเปรียบ (Handicap), ความพิการ (Disability), และความบกพร่อง (Impairment)สามารถอธิบายได้ว่า
บุคคลหนึ่งอาจมีความบกพร่อง โดยไม่พิการและพิการโดยไม่เกิดการเสียเปรียบก็ได้หากได้รับการ
สนับสนุนจากครอบครัวหรือมีสิ่งอานวยความสะดวกทางกายภาพ สิ่งเหล่านี้สามารถเยียวยาความบกพร่อง
ที่มีอยู่ได้และจะไม่ส่งผลทาให้บุคคลนั้นเกิดความเสียเปรียบในการดารงชีวิตเช่น คนตาบอดทางานที่ใช้
สายตาไม่ได้แต่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่มีเสียงประกอบได้สามารถเล่นดนตรีเป็นนักกีฬาได้เป็นต้น
องค์การอนามัยโลก (WHO) ให้ความหมายความพิการว่าคนพิการ หมายถึง เป็นความเสียเปรียบของ
บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่เกิดจากความชารุด หรือความสามารถบกพร่อง เป็นผลทาให้บุคคลนั้นไม่สามารถ
แสดงบทบาท หรือกระทาอะไรให้เหมาะสมสอดคล้องตามวัย สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมได้
ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ พุทธศักราช 2541 ให้ความหมาย คนพิการหรือทุพพลภาพ เป็นทรัพยากร
มนุษย์ที่มีคุณค่าสมควรที่จะได้รับสิทธิและโอกาสในการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ ได้รับการปกป้องคุ้มครอง
จากการถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองด้วยความ
เสมอภาค ได้รับข้อมูลข่าวสารสื่อต่างๆ ที่เหมาะสมกับความพิการ และได้รับการยอมรับในศักดิ์ศรีแห่ง
ความเป็นมนุษย์ องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้ให้คาจากัดความจากมุมมองด้านฟื้นฟูสมรรถภาพ
ด้านอาชีพและการจ้างงานคนพิการ ว่าคนพิการ (Disabled Persons) คือ “บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่มีโอกาสด้าน
ความมั่นคงในชีวิต สถานภาพการจ้างงาน หรือความก้าวหน้าในอาชีพอย่างเหมาะสมถูกจากัดหรือลดอย่าง
เห็นได้ชัด อันเป็นผลจากความบกพร่องร่างกายหรือทางจิตใจ
5
จากการศึกษาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า “คนพิการ” หมายถึง ความเสียเปรียบ ความพิการ และความ
บกพร่อง ซึ่งมีผลทาให้บุคคลที่ไม่สามารถดูแลตนเองได้ทั้งหมดหรือบางส่วน เนื่องจากมีความบกพร่อง
ทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์พฤติกรรมสติปัญญาการเรียนรู้และพิการ
ทางออทิสติก หรือความบกพร่องอื่นใดไม่ว่าจะเป็นมาแต่กาเนิดหรือไม่ก็ตามและมีความจาเป็นพิเศษที่
จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใดเพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมี
ส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไปโดยได้รับสิทธิโอกาสในการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ และได้รับการ
ยอมรับในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2. คนพิการกับการมีงานทา
ด้วยสภาพเศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบันคนพิการตระหนักและให้ความสาคัญกับ “งาน” ซึ่งเป็น
สิ่งจาเป็นเพื่อการดารงชีวิตอยู่รอดได้ในสังคม ดังนั้นคนพิการเองต้องสร้างหลักประกันให้กับตนเองและ
ครอบครัว โดยการหางานที่มั่นคง เพื่อให้มีรายได้ประจาเลี้ยงครอบครัว ส่งผลให้คนพิการมีความตระหนัใน
คุณค่าของตนเอง เชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพที่ตนมีอยู่ว่าจะสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้จึง
กล่าวได้ว่า “งาน” มีคุณค่าและความสาคัญต่อคนพิการเป็นอย่างมากและยังกล่าวถึงความสาคัญของงากับคน
พิการ (กระทรวงศึกษาธิการ, สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา, 2543) ดังนี้
2.1) คนพิการและครอบครัวต้องการมีรายได้จากการทางาน คนพิการกับครอบครัวส่วนมากก็เหมือนกับ
ครอบครัวอื่นๆ ที่มีชีวิตอยู่ไม่ได้หากไม่มีรายได้ประจา
2.2) คุณค่าของคนในสังคมอยู่ที่การทางานที่ก่อให้เกิดประโยชน์การทางานนับเป็นคุณค่าอันสูงส่งของคน
ทุกชาติทุกภาษา ทุกวัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อคนพิการไม่สามารถทางานได้เขาจะถูกตัดสินว่าเป็นผู้ล้มเหลวใน
ชีวิตที่ไม่อาจเท่าเทียมกับบุคคลอื่นในสังคม
2.3) คนพิการมีความต้องการที่มีส่วนร่วมในการใช้ชีวิตอย่างปกติในสังคมสถานที่ทางานนับเป็นแหล่งสร้าง
ความสัมพันธ์ทางสังคมและพัฒนาทักษะทางสังคม ถ้าคนพิการขาดโอกาสในการมีส่วนร่วมใน
กระบวนการดังกล่าว ก็เท่ากับถูกขัดขวางอย่างรุนแรงในการอยู่ร่วมกับสังคม
2.4) คุณค่าของการมีงานทาอยู่บนพื้นฐานความจริงที่ว่า งานทาให้ชีวิตอยู่ในกฎเกณฑ์และเป็นรูปร่าง
เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป การมีชีวิตอยู่ไปวัน ๆ โดยปราศจากสิ่งท้าทายจากการทางานเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่าย
และหงอยเหงา
6
3.การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ
หากพิจารณาถึงลักษณะของงานที่คนพิการสามารถทาได้ในสถานประกอบการ ที่กล่าวถึงการศึกษา
ของบาร์บาร่า เมอร์เรย์ (Barbara Marley) ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพประจา
องค์การแรงงานระหว่างประเทศชาวอเมริกัน ได้ให้แนวทางในการจ้างงานคนพิการใน 4 ลักษณะได้แก่การ
จ้างงานคนพิการในโรงงานอารักษ์การจ้างงานคนพิการในระบบสนับสนุน การจ้างงานในระบบเปิดและ
การประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้มี 2 ลักษณะ (สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์, 2544: 37-38)ได้แก่
3.1) การจ้างงานคนพิการในระบบสนับสนุน การจ้างงานในลักษณะนี้เป็นการทางานที่คนพิการจะมีผู้สอน
งาน (Job Coach) ช่วยดูแลหรืออาจจะเป็นในรูปของการทดลองงาน ฝึกงาน (On the JobTraining) เหมาะ
สาหรับคนพิการที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา หรือ การเรียนรู้รวมทั้งคนพิการที่ไม่มีพื้นฐานความรู้หรือ
ประสบการณ์พี่เลี้ยงจะเป็นผู้ประสานงานระหว่างสถานประกอบการและคนพิการเพื่อให้การทางานดาเนิน
ไปตามวัตถุประสงค์ของนายจ้าง งานในลักษณะนี้อาจทาในรูปของคณะทางานซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของพี่
เลี้ยง ซึ่งจะนาคนพิการไปทางานต่างๆ ที่สามารถดูแลและชี้แนะได้อย่างใกล้ชิดข้อดีของการจ้างงานใน
ลักษณะนี้คือ คนพิการจะเกิดการเรียนรู้และพัฒนางานและสามารถที่จะเข้าสู่การจ้างงานในระบบเปิดได้
เนื่องจากสถานการณ์และสภาพแวดล้อมในการทางานเหมือนการทางานในระบบเปิดทุกประการ
3.2) การจ้างงานระบบเปิด จากการศึกษาของวิริยะ นามศิริพงศ์พันธ์และคณะ (๒๕๔๖) กล่าวว่าการจ้างงาน
ระบบเปิดมีลักษณะของการคัดเลือกคนพิการที่มีความสามารถ ซึ่งจะได้รับการจ้างงานจากสถาน
ประกอบการทั่วไป แต่ปัญหาสาคัญในการทางานของความพิการคือ เจตคติของนายจ้างที่มีต่อคนพิการ ซึ่ง
ไม่ยอมรับความสามารถของคนพิการ จุดมุ่งหมายของการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการก็เพื่อให้คนพิการ
ดารงชีวิตอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีศักดิ์ศรีมีบทบาทในสังคมได้เท่าเทียมบุคคลทั่วไปและ
สามารถประกอบอาชีพมีรายได้ที่มั่นคง ฉะนั้นจึงต้องรณรงค์เพื่อให้สังคมเปลี่ยนเจตคติที่มีต่อคนพิการให้
เป็นไปในทางบวก และยอมรับความสามารถของคนพิการ ถือว่าคนพิการเป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคมมี
ส่วนร่วมและบทบาทเช่นบุคคลทั่วไปอย่างมีศักดิ์ศรีและประสิทธิภาพ
4. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในด้านการจ้างงาน
จากการที่ประเทศไทย เห็นความสาคัญของคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงจัดตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และรับผิดชอบในการดูแลคุณภาพชีวิตคนพิการมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๓ อีกทั้งพระราชบัญญัติการฟื้นฟู
สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 ซึ่งต่อมาจึงมีพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการพ.ศ.
7
๒๕๕๐ เพราะพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน
สาระสาคัญและรายละเอียดเกี่ยวกับการสงเคราะห์และการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการไม่เหมาะสมกับสภาพ
สังคมปัจจุบัน สมควรกาหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และกาหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองคนพิการเพื่อมิ
ให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุสภาพทางกายหรือสุขภาพ รวมทั้งให้คนพิการมีสิทธิได้รับ
สิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตลอดจนให้รัฐต้องสงเคราะห์คน
พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้ (พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ,
๒๕๕๐: ๗๗)และปัจจุบันเป็นพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๖ ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมจากกฎหมายที่ว่าด้วยหน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องของการส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
เพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิประโยชน์สูงสุด ดังนั้นในเรื่องของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
จึงมีวิวัฒนาการตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๘๓ – ปัจจุบัน ซึ่งมีรายละเอียดตามตารางที่ ๔ ดังนี้
แสดงวิวัฒนาการของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2483- 2250 พ.ศ. 2483
- รัฐจัดตั้งกรมประชาสงเคราะห์สังกัดกระทรวงมหาดไทย ที่ตั้งกรมฯอยู่ในพี้นที่วังสราญรมย์เขตพระนคร
- กรมประชาสงเคราะห์ได้ตั้งหน่วยงานรับผิดชอบดูแลเรื่องคนพิการ ในระดับ กลุ่มงาน เป็นงานคนพิการ
ในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง กองสวัสดิการสงเคราะห์
- ในระยะเริ่มแรก เน้นการให้บริการ ด้านสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการพ.ศ.2493 กรมกรม
ประชาสงเคราะห์ย้ายมาตั้งที่วังสะพานขาว และคงดาเนินงานสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการโดย
ยกระดับงานคนพิการเป็นฝ่ายสงเคราะห์คนพิการในกองสวัสดิการสงเคราะห์พ.ศ.2524 กรม
ประชาสงเคราะห์และองค์กรเอกชนด้านคนพิการเล็งเห็นความสาคัญ ในเรื่องสิทธิและโอกาสของการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงได้ร่วมกันผลักดันกฎหมายเกี่ยวกับคนพิการพ.ศ.2534 - รัฐบาลได้
ประกาศใช้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการ พ.ศ.2534
- พ.ร.บ. ดังกล่าวให้จัดตั้ง “สานักงานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ” (สฟก.) ขึ้นเป็นหน่วยงาน
ระดับกอง สังกัด กรมประชาสงเคราะห์กระทรวงมหาดไทย
8
- กรมประชาสงเคราะห์ได้โอนงานคนพิการในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งกองสวัสดิการสังคมมารวมที่
สฟก. โดย สฟก. ทาหน้าที่
-เป็นสานักงานเลขานุการการของคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
-เป็นสานักทะเบียนกลางสาหรับคนพิการ
-ดาเนินการทั้งงานด้านวิชาการการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
-สนับสนับสนุนหน่วยงานสถาบันที่ให้บริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
พ.ศ. 2536 มีการปรบโครงสร้างการบริหารราชการเมื่อเดือนกันยายน โดยโอนสานักงานคณะกรรมการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการกรมประชาสงเคราะห์จากสังกัดกระทรวงมหาดไทยไปสังกัดกระทรวงแรงงาน
และสวัสดิการสังคมพ.ศ. 2545 - มีการปฏิรูป ระบบราชการ โดยปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงทบวงกรมขึ้น
ใหม่
- “สานักคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ”(สฟก) ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “สานักส่งเสริมและพิทักษ์คน
พิการ (สทก.)” สังกัดสานักงานส่งเสริมสวัสดิการและพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ
(สท.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)
- สทก. ทาหน้าที่เช่นเดียวกับ สฟก. โดยเน้นงานวิชาการและการจดทาองค์ความรู้ด้านคนพิการ สาหรับงาน
การบริการ และการให้สวัสดิการสงเคราะห์แก่คนพิการ ดาเนินการโดย สานักบริการสวัสดิการสังคม กรม
พัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- ย้าย สทก. มาตั้งในบริเวณสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถีเขตราชเทวีพ.ศ 2550 – พระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.
2550 มีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2550
- จัดตั้ง “สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ”ขึ้น เป็นส่วนราชการในกระทรวง
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- มีเลขาธิการ ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และบุคลากรของสานักงาน
9
- สาระสาคัญ ของ พระราชบัญญัติคือ คนพิการได้รับสิทธิตามกฎหมายมากขึ้น อย่างทั่วถึง และเท่าเทียมมี
การลดหย่อนภาษีให้ผู้ดูแลคนพิการ และให้กระทรวงต่างๆ เข้ามาดูแลคนพิการมากขึ้น ซึ่งประโยชน์ของ
การยกฐานะสานักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นสานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
แห่งชาติ เป็นส่วนราชการเทียบเท่ากรม ทาให้สานักงานสงเสรริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
ดาเนินงานด้านคนพิการทั้งในเชิงนโยบายและการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
- บทบาทหน้าที่ของสานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติคือ
- เสนอนโยบาย แผนหลัก และโครงการที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการต่อ
คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการ
ตามอานาจหน้าที่ต่อไป
- ประสานงานและร่วมมือในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการกับหน่วยงานของรัฐบาลและเอกชนที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ศึกษา วิเคราะห์พัฒนานวัตกรรม สารวจ รวบรวม เก็บรักษาข้อมูลเกี่ยวกับคนพิการและสถานการณ์คน
พิการเพื่อก่อประโยชน์ต่อการส่งเสริมและคุณภาพชีวิตคนพิการ
- สนับสนุนให้มีการจัดตั้งการดาเนินงานการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการเพื่อให้สามารถทา
หน้าที่พิทักษ์สิทธิคนพิการตลอดจนสนับสนุน และประสานงานให้หน่วยงานของรัฐจดงบประมาณ ให้แก่
องค์การด้านคนพิการ เพื่อดาเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
- ศึกษารูปแบบสิทธิและสวัสดิการอื่นๆเพื่อการส่งเสริมศักยภาพ และการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิคนพิการ
ตลอดจนสนับสนุนการขับเคลื่อนทางสังคมในการบูรณาการให้คนพิการเข้าสู่สังคมอย่างเต็มที่และมี
ประสิทธิภาพ
- เสนอ ปรับปรุง พัฒนากฎหมายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้ทันสมัยรวมทั้งให้คาปรึกษาและ
ดาเนินงานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่ง อาญา และงานคดีปกครอง รวมถึงงานคดีอื่นที่อยู่ในอานาจหน้าที่
ของสานักงาน
- บริหารจัดการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
- เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
10
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติหรือตามกฎหมายอื่นหรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือ
คณะกรรมการมอบหมาย
11
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
กลุ่มข้าพเจ้าได้ร่วมกันจัดทาโครงการเพื่อสังคม "Read for the Blind" นี้ขึ้นมา เพื่อชวนเพื่อนๆ ทุก
คนที่มีจิตอาสา สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างหนังสือเสียงผ่าน App ตัวนี้ ได้แบบง่ายๆ ไม่ต่างจาก
การไปเข้าห้องอัดหนังสือเสียงที่สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย หรือตามร้านหนังสือใหญ่ๆ ที่มีบริการ
เพื่อผู้พิการ ส่วนวิธีการใช้งาน App Read for the Blind ดังนี้
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา
3.1.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ tablet i-pod
3.1.2 app Read for the Blind
รูปภาพที่ 3.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
12
รูปที่ 3.2 app Read for the Blind
3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานและนาไปเสนอครูที่ปรึกษา
3.2.2 เริ่มต้นการใช้งาน
3.2.2.1 ดาวน์โหลดแอพพลิเคชัน Read for the Blind บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตได้ที่ Google
Play Store หรือ App Store
3.2.2.2 เปิดแอพพลิเคชันและอ่านข้อมูลแนะนาการใช้งานเบื้องต้น จากนั้นคลิ๊ก agree ในหน้า
Disclaimer
3.2.2.3เมื่อต้องการสร้างหนังสือเสียงให้ทาการ Login เข้า Facebook เฉพาะครั้งแรกของการใช้
งานแอพพลิเคชันเท่านั้น
3.2.3 ขั้นตอนการอัดเสียง
3.2.3.1 กดอ่านเพิ่มบทใหม่
3.2.3.2 เริ่มการบันทึกเสียง เมื่อบันทึกเสียงเสร็จสิ้นตามต้องการแล้วให้กดเครื่องหมายถูก
3.2.3.3 ใส่ข้อมูลรายละเอียดข้อมูลของบทที่อ่านและกดปุ่มบันทึกเสียงบนหนังสือ เพื่ออัพโหลด
เสียงขึ้นระบบ
13
3.2.3.4 ในระหว่างการอัดเสียง ถ้าต้องการหยุดให้กดปุ่ม หยุด และกด play เมื่อต้องการฟังซ้า
สามารถเลื่อนแถบ สีเขียว เพื่อไปยังจุดที่ต้องการอัดทับและกดอัดเสียงอีกครั้ง เพื่ออัดทับในจุดที่อ่านผิด
3.2.3.5 ในกรณีที่ออกจากแอพพลิเคชั่น ไฟล์เสียงล่าสุดที่เคยอัดไว้ จะถูกเซฟไว้ใน
แอพพลิเคชั่น สามารถกลับมาอ่านหนังสือ หรือบทความต่อจากเดิมได้ แต่ถ้าต้องการอ่านเล่มใหม่ ต้องอ่าน
หนังสือหรือบทความเดิม ให้เสร็จก่อน
3.2.4 การสร้างบทความใหม่
3.2.4.1 กดเลือกบทความ จากเมนูเลือกประเภทหนังสือ
3.2.4.2 เลือกประเภทหรือหัวข้อของบทความที่ต้องการสร้างใหม่ มีทั้งหมด 12 หัวข้อ
3.2.4.3 กดอ่านเพิ่มบทใหม่ เพื่อเริ่มอัดเสียง กดเครื่องหมายถูกเมื่ออัดเสร็จสิ้น
3.2.4.4 ใส่ข้อมูลของบทความที่อ่าน ชื่อบทความ แหล่งที่มา วันเผยแพร่บทความ กดปุ่มบันทึก
ข้อมูลเสียงบนหนังสือเพื่ออัพโหลดขึ้นระบบ
3.2.5 จัดทาโครงร่างเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาผ่านเว็บบล็อกของตัวเอง โดยนาไฟล์ข้อมูลไปฝาก
ไว้ที่เว็บไซต์ชื่อhttp://www.slideshare.net/
3.2.6 นาเสนอความก้าวหน้าของงานเป็นระยะๆ
3.2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน โดยนาเสนอในรูปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์และนาฝากข้อมูล
ดังกล่าวไว้ที่เว็บ http://www.slideshare.net/ แล้วนามาเชื่อมโยงผ่านเว็บบล็อกที่สร้างขึ้น
3.2.8 ประเมินผลงาน โดยการนาเสนอผ่านเว็บบล็อก
3.2.9 นาเสนอผ่านเว็บบล็อกเพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
14
รูปภาพที่ 3.3 ดาวน์โหลดแอพลิเคชั่น
รูปภาพที่ 3.4 เลือกประเภทหนังสือ
15
รูปภาพที่ 3.5 สร้างหนังสือเล่มใหม่
รูปภาพที่ 3.6 sign in กับ facebook
16
รูปภาพที่ 3.7 เลือกปก ข้อมูลหนังสือ
รูปภาพที่ 3.8 กดปุ่มเริ่มบันทึกเสียง
17
รูปภาพที่ 3.9 กด ok เมื่ออ่านหนังสือเสร็จแล้วระบบจะบันทีกข้อมูล
18
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
จากการอ่านหนังสือเสียงผ่าน app Read for the Blind สามารถทาได้ง่ายประชาชนทุกคนสามารถ
เข้ามาร่วมอ่านหนังสือเสียงได้แค่มีแอพ เนื่องจากการอ่านหนังสือเสียงสามารถช่วยผู้พิการทางสายตาโดยที่
เราไม่ต้องเดินทางไปยังมูลนิธิคนตาบอดไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็สามารถอ่านหนังสือเสียงได้เพียงแค่อัดเสียง
แล้วส่งไปในแอพพลิเคชั่นหนังสือเสียงก็สามารถส่งไปผู้พิการทางสายตาดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงเลือกที่จะ
เข้าร่วมกิจกรรมอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดจานวน 5 เล่มเผื่อเผยแพร่ไปยังมูลนิธิคนตาบอด
รูปภาพที่ 4.1 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 1
19
รูปภาพที่ 4.3 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 2
รูปภาพที่ 4.4 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 3
20
รูปภาพที่ 4.5 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 4
รูปภาพที่ 4.6 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 5
21
บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผล
สรุปผลการศึกษา
จากการดาเนินโครงการหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างพบว่าอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟังผ่าน
แอพพลิเคชั่นถือเป็นประโยชน์ต่อคนที่พิการทางสายตาเป็นอย่างมากซึงทาให้คนที่พิการทางสายตามีความรู้
เพิ่มขึ้นได้ฟังความรู้ต่างๆที่ยังไม่เคยรู้และเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้อ่านเองด้วยซึ่งทาให้ผู้อ่านได้ทบทวน
เนื้อหาในสิ่งที่อ่านไปทั้งเรื่องที่เคยอ่านไปแล้วหรือยังไม่เคยอ่านทาให้ผู้อ่านมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมซึ่งผู้
ปฏิบัติโครงงานตระหนักในการบาเพ็ญตนโดยเป็นผู้ให้ด้วยจิตที่อาสาที่มุ่งมั่นเสียสละช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่
หวังสิ่งตอบแทนมีจิตใจที่พร้อมจะสละเวลาเพื่อสาธารณประโยชน์และเพื่อส่วนรวม ผู้คนทั่วไปสามารถ
เข้าร่วมกิจกกรมได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ
อภิปรายผล
จากการทาโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างเริ่มการที่เราสนใจการอ่านหนังสือเวลาในว่าง กลุ่มของ
ข้าพเจ้าจึงหาโครงการที่สอดคล้องทาให้เกิดประโยชน์กับงานยามว่าง และการอ่านหนังสือผ่าน
แอปพลิเคชั่น read for the blind ตอบโจทย์ได้ดี เราได้ศึกษาหนังสือที่มีผู้พิการทางสายตาสนใจจาก
แอปพลิเคชั่นแล้วได้เลือกหนังสือมา 5 เล่ม เพื่อบันทึกการอ่าน การอ่านหนังสือนี้เราได้บันทึกเสียงหลาย
ครั้งเพื่อเสริมสร้างเป็นให้แก่ผู้อ่าน และอีกทั้งกลุ่มของข้าพเจ้ายังได้เชิญชวนเพื่อนๆในห้องมาร่วมโครงการ
ผลตอบรับที่ได้เป็นอย่างดี
22
บรรณานุกรม
การวิจัยเรื่อง “การศึกษาการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทําของคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐” (ออนไลน์)
แหล่งที่มา : http://www.researchsystem.siam.edu/images/researchout/Education/
ขั้นตอนการสร้างหนังสือเสียงผ่านแอพพลิเคชั่น Read for the Blind (ออนไลน์)
แหล่งที่มา : http://www.techmoblog.com/read-for-the-blind-app/ 15 ตุลาคม 2556
Read for the Blind - How to (ออนไลน์)
แหล่งที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=gSXFhFv9P0A 17 ต.ค. 2013
23
ภาคผนวก
ภาพที่ 1 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 1
ภาพที่ 2 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 2
24
ภาพที่ 3 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 3
ภาพที่ 4 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 4
25
ภาพที่ 5 ปรึกษาหาและค้นคว้าอ่านหนังสือผ่านแอพพลิเคชั่น
26
ภาพ PPT นาเสนอโครงงาน
27
28
29
ภาพเว็บไซต์โครงการ
http://pearkapp.wix.com/reading?fb_ref=Default

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 

What's hot (20)

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

Similar to โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง

โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพวSircom Smarnbua
 
Is3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรักIs3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรักkessara61977
 
Computer Project ACR
Computer Project ACR Computer Project ACR
Computer Project ACR Nai Mangmee
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ Chitchanok Khanklaew
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6punloveh
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักkessara61977
 

Similar to โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง (20)

โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
Is3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรักIs3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรัก
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
Computer Project ACR
Computer Project ACR Computer Project ACR
Computer Project ACR
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
123pj
123pj123pj
123pj
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง

  • 1. โครงการ หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง จัดทาโดย 1. นางสาวณัฐณิชา จันทร์สนอง เลขที่ 14 2. นางสาวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15 3. นางสาวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16 4. นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที่ 17 5. นางสาวพิมพ์นิภา วิศิษฏ์รัฐพงศ์ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา วิชา IS3 (130903) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. ก เกี่ยวกับโครงการ เรื่องโครงการ หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง กลุ่มสาระการะการเรียนรู้ IS 3 ผู้จัดทา 1.นางสาวณัฐณิชา จันทร์สนอง เลขที่ 14 2.นางสาวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15 3.นางสาวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16 4.นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที่ 17 5.นางสาวพิมพ์นิภา วิศิฏรัฐพงศ์ เลขที่ 23 ครูที่ปรึกษา ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สถานที่ศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2558
  • 3. ข คานา รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 (130903) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี จุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งรายงานเล่มนี้มี เนื้อหาเกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้คนพิการทางสายตาโดยอ่านผ่าน App Read for the Blind โดยส่งไปยัง มูลนิธิคนตาบอดฯ โดยทุกคนสามารถทาได้แค่มีแอพพลิเคชั่นนี้ ทั้งนี้ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน นักศึกษาที่กาลังจะใช้เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย ผู้จัดทา
  • 4. ค กิตติกรรมประกาศ โครงงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคล หลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณท่านแรกที่ผู้ศึกษาขอบคุณคือ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุก ขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ เทคนิคการนาเสนอรายงานปากเปล่า ผู้ศึกษาใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และให้ กาลังใจในการศึกษาค้นคว้าตลอดมา ขอขอบคุณคุณครูโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรีทุกสาขาวิชา ที่ได้ฝึกสอน ได้คาแนะนาในการจัดทารายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้ที่ไม่ได้กล่าวนาม ขอขอบพระคุณผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มโครงงาน ที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จที่ได้ให้ ความช่วยเหลือสนับสนุนและให้กาลังใจตลอดมา ผู้จัดทา
  • 5. ง สารบัญ เนื้อหา หน้า เกี่ยวกับโครงการ ก คานา ข กิตติกรรมประกาศ ค บทที่ 1 โครงการ 1 หลักการและเหตุผล 1 การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1 เงื่อนไข 2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 2 สถานที่ดาเนินการ 2 วิธีการดาเนินงาน 2 ระยะเวลาดาเนินงาน 3 รายละเอียดงบประมาณของโครงการ 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 ความหมายของคนพิการ 4 คนพิการกับการมีงานทา 5 การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ 6 การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในด้านการจ้างงาน 6 บทที่ 3วิธีการดาเนินงาน 11
  • 6. จ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 11 ขั้นตอนการดาเนินงาน 12 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล 21 สรุปผลการศึกษา 21 อภิปรายผล 21 บรรณานุกรม 22 ภาคผนวก 23
  • 7. ฉ สารบัญภาพ รูปภาพที่ หน้า รูปภาพที่ 3.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ 11 รูปภาพที่ 3.2 app Read for the Blind 12 รูปภาพที่ 3.3 ดาวน์โหลดแอพลิเคชั่น 14 รูปภาพที่ 3.4 เลือกประเภทหนังสือ 14 รูปภาพที่ 3.5 สร้างหนังสือเล่มใหม่ 15 รูปภาพที่ 3.6 sign in กับ facebook 15 รูปภาพที่ 3.7 เลือกปก ข้อมูลหนังสือ 16 รูปภาพที่ 3.8 กดปุ่มเริ่มบันทึกเสียง 16 รูปภาพที่ 3.9 กด ok เมื่ออ่านหนังสือเสร็จแล้วระบบจะบันทีกข้อมูล 17
  • 8.
  • 9. 1 บทที่ 1 หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง 1.หลักการและเหตุผล จากข้อมูลสถิติจาก มูลนิธิคนตาบอดแห่งประเทศไทย มีคนไทยตาบอดกว่า 7 แสนคน และจานวน ซีดีหนังสือเสียง ที่เปิดให้คนตาบอดฟังตอนนี้มีเพียง 7,000 แผ่น พวกเราสามารถช่วยคนตาบอดได้โดยอ่าน หนังสือให้คนตาบอดฟัง ผ่านการสร้างหนังสือเสียง เราโชคดีที่เกิดมาอยู่ในโลก ได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ได้สัมผัส ได้เรียนรู้ และมีความสุขกับทุกๆสิ่งใน โลกที่เรามองเห็น แต่สาหรับคนอีกกลุ่ม ที่ไม่มีโอกาสเหมือนเรา อย่างคนตาบอดที่มองเห็นแค่สีดาสนิท อยู่ในโลกมืด เค้าต้องเรียนรู้ผ่านทางเสียง กลิ่น และการสัมผัส ต่างๆ เราในฐานะคนธรรมดาๆคนหนึ่งที่ได้ เห็นสิ่งต่างๆมากกว่า จะมีส่วนช่วยให้ความรู้ สร้างความบันเทิงให้กับคนตาบอดได้ โดยช่วยกันอ่านหนังสือ ให้คนตาบอดฟัง กลุ่มข้าพเจ้าจึงเข้าร่วมโครงการ โดยผ่าน App Read for the Blind อ่านหนังสือให้คนตาบอด ซึ่งใน อดีตกว่าจะได้หนังสือเสียง ต้องเดินทางไป มูลนิธิคนตาบอดฯ และข้อจากัดเกี่ยวกับห้องบันทึกเสียง และ การใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ในการสร้างหนังสือเสียงด้วย 2. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ ไม่ต้องเสียงค่าใช้จ่ายในการเดินทางและซื้ออุปกรณ์ เพราะสามารถนาสื่อเทคโนโลยี มาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่สังคม 2. ความมีเหตุมีผล ทาให้เรามีจิตสาธารณะ รู้จักการเอื้อเฟื้องเผื่อแผ่การเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว มีการวางแผนเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านให้แก่ตนเอง และได้แบ่งปันความรู้ ให้แก่น้องๆที่ไม่มีโอกาส
  • 10. 2 เงื่อนไข 1. เงื่อนไขความรู้ พัฒนาการอ่านของตัวเองและสามารถช่วยให้คนอื่นได้รับสิ่งใหม่ๆ 2. เงื่อนไขคุณธรรม ปลูกจิตใต้สานึกในการรักการอ่านและการดูแลเอาใจใส่ผู้อื่น เห็นถึงความเป็นเพื่อน มนุษย์ 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อช่วยทาหนังสือเสียงให้แก่คนตาบอด จานวน 5 เล่ม 2. เพื่อเปิดโอกาสให้คนตาบอดได้รับสิ่งใหม่ๆ 4. สถานที่ดาเนินการ ที่บ้านและโรงเรียน 5. วิธีการดาเนินงาน 1. ติดตั้ง App Read for Blind โดย App ตัวนี้จะรองรับระบบ Android Version 2.2 เป็นต้นไป 2. เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครั้งแรกที่เราเข้า App ตัวนี้ เราก็จะพบกับหน้าจะมีการแนะนาการใช้งาน ซึ่ง เพื่อนๆ จะต้องทาการ Login เข้าระบบของ Read for Blind ด้วยใช้ Facebook Login ก่อนจึงจะสามารถเข้า ไปใช้งานได้ 3. เลือกหนังสือที่เราต้องการอ่านให้คนตาบอดจานวน 1 เล่มแล้วบันทึกเสียง [นอกจากการอัดเสียงหนังสือ ต่อจากคนอื่นแล้ว เราก็สามารถเพิ่มหนังสือ (หรือบทความที่น่าสนใจ) เล่มอื่นๆ ที่เราต้องการได้เช่นกัน ด้วย การกดที่เครื่องหมาย + ในส่วนของเมนู โดยตัว App จะให้เรากรอกข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือเล่มนั้น พร้อมกับให้เราใช้กล้องบนสมาร์ทโฟนหรือแท๊บเล็ต ทาการถ่ายภาพ “หน้าปก” หนังสือเล่มนั้นเข้ามาเก็บ เอาไว้ในระบบด้วย] 4. กดส่งไปทางแอพ โดยทางแอพจะกระจายข้อมูลของเราให้แก่คนตาบอดได้ฟัง หมายเหตุ : การอ่านหนังสือใน App นี้ จาเป็นต้องอ่านให้จบเป็นบทๆ หรือเป็นเล่ม จึงสามารถอ่านเล่มอื่น ได้
  • 11. 3 6. ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2558 7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ ไม่มีค่าใช่จ่ายใดๆ
  • 12. 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในประเทศไทยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติเป็นห้องสมุดที่มีหนังสือเสียงให้บริการแก่ผู้ใช้ ห้องสมุด จานวนมากทั้งหนังสือเสียงที่เป็นเทปคาสเซ็ทและที่อยู่ในรูปของแผ่นซีดี ส่วนในต่างประเทศ ห้องสมุดรัฐสภาอเมริกันและห้องสมุด CNIB ในแคนาดาให้บริการหนังสือเสียงฟรีแก่ผู้ที่บกพร่องด้านการ มองเห็น 1. ความหมายของคนพิการ Hammerman และ Maikowski (1981) ได้สรุปความหมายของ “ความพิการ” ไว้ดังนี้ ว่าหมายถึง ความ เสียเปรียบ (Handicap), ความพิการ (Disability), และความบกพร่อง (Impairment)สามารถอธิบายได้ว่า บุคคลหนึ่งอาจมีความบกพร่อง โดยไม่พิการและพิการโดยไม่เกิดการเสียเปรียบก็ได้หากได้รับการ สนับสนุนจากครอบครัวหรือมีสิ่งอานวยความสะดวกทางกายภาพ สิ่งเหล่านี้สามารถเยียวยาความบกพร่อง ที่มีอยู่ได้และจะไม่ส่งผลทาให้บุคคลนั้นเกิดความเสียเปรียบในการดารงชีวิตเช่น คนตาบอดทางานที่ใช้ สายตาไม่ได้แต่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่มีเสียงประกอบได้สามารถเล่นดนตรีเป็นนักกีฬาได้เป็นต้น องค์การอนามัยโลก (WHO) ให้ความหมายความพิการว่าคนพิการ หมายถึง เป็นความเสียเปรียบของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่เกิดจากความชารุด หรือความสามารถบกพร่อง เป็นผลทาให้บุคคลนั้นไม่สามารถ แสดงบทบาท หรือกระทาอะไรให้เหมาะสมสอดคล้องตามวัย สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมได้ ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ พุทธศักราช 2541 ให้ความหมาย คนพิการหรือทุพพลภาพ เป็นทรัพยากร มนุษย์ที่มีคุณค่าสมควรที่จะได้รับสิทธิและโอกาสในการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ ได้รับการปกป้องคุ้มครอง จากการถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองด้วยความ เสมอภาค ได้รับข้อมูลข่าวสารสื่อต่างๆ ที่เหมาะสมกับความพิการ และได้รับการยอมรับในศักดิ์ศรีแห่ง ความเป็นมนุษย์ องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้ให้คาจากัดความจากมุมมองด้านฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้านอาชีพและการจ้างงานคนพิการ ว่าคนพิการ (Disabled Persons) คือ “บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่มีโอกาสด้าน ความมั่นคงในชีวิต สถานภาพการจ้างงาน หรือความก้าวหน้าในอาชีพอย่างเหมาะสมถูกจากัดหรือลดอย่าง เห็นได้ชัด อันเป็นผลจากความบกพร่องร่างกายหรือทางจิตใจ
  • 13. 5 จากการศึกษาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า “คนพิการ” หมายถึง ความเสียเปรียบ ความพิการ และความ บกพร่อง ซึ่งมีผลทาให้บุคคลที่ไม่สามารถดูแลตนเองได้ทั้งหมดหรือบางส่วน เนื่องจากมีความบกพร่อง ทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์พฤติกรรมสติปัญญาการเรียนรู้และพิการ ทางออทิสติก หรือความบกพร่องอื่นใดไม่ว่าจะเป็นมาแต่กาเนิดหรือไม่ก็ตามและมีความจาเป็นพิเศษที่ จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใดเพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมี ส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไปโดยได้รับสิทธิโอกาสในการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ และได้รับการ ยอมรับในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2. คนพิการกับการมีงานทา ด้วยสภาพเศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบันคนพิการตระหนักและให้ความสาคัญกับ “งาน” ซึ่งเป็น สิ่งจาเป็นเพื่อการดารงชีวิตอยู่รอดได้ในสังคม ดังนั้นคนพิการเองต้องสร้างหลักประกันให้กับตนเองและ ครอบครัว โดยการหางานที่มั่นคง เพื่อให้มีรายได้ประจาเลี้ยงครอบครัว ส่งผลให้คนพิการมีความตระหนัใน คุณค่าของตนเอง เชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพที่ตนมีอยู่ว่าจะสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้จึง กล่าวได้ว่า “งาน” มีคุณค่าและความสาคัญต่อคนพิการเป็นอย่างมากและยังกล่าวถึงความสาคัญของงากับคน พิการ (กระทรวงศึกษาธิการ, สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา, 2543) ดังนี้ 2.1) คนพิการและครอบครัวต้องการมีรายได้จากการทางาน คนพิการกับครอบครัวส่วนมากก็เหมือนกับ ครอบครัวอื่นๆ ที่มีชีวิตอยู่ไม่ได้หากไม่มีรายได้ประจา 2.2) คุณค่าของคนในสังคมอยู่ที่การทางานที่ก่อให้เกิดประโยชน์การทางานนับเป็นคุณค่าอันสูงส่งของคน ทุกชาติทุกภาษา ทุกวัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อคนพิการไม่สามารถทางานได้เขาจะถูกตัดสินว่าเป็นผู้ล้มเหลวใน ชีวิตที่ไม่อาจเท่าเทียมกับบุคคลอื่นในสังคม 2.3) คนพิการมีความต้องการที่มีส่วนร่วมในการใช้ชีวิตอย่างปกติในสังคมสถานที่ทางานนับเป็นแหล่งสร้าง ความสัมพันธ์ทางสังคมและพัฒนาทักษะทางสังคม ถ้าคนพิการขาดโอกาสในการมีส่วนร่วมใน กระบวนการดังกล่าว ก็เท่ากับถูกขัดขวางอย่างรุนแรงในการอยู่ร่วมกับสังคม 2.4) คุณค่าของการมีงานทาอยู่บนพื้นฐานความจริงที่ว่า งานทาให้ชีวิตอยู่ในกฎเกณฑ์และเป็นรูปร่าง เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป การมีชีวิตอยู่ไปวัน ๆ โดยปราศจากสิ่งท้าทายจากการทางานเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่าย และหงอยเหงา
  • 14. 6 3.การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ หากพิจารณาถึงลักษณะของงานที่คนพิการสามารถทาได้ในสถานประกอบการ ที่กล่าวถึงการศึกษา ของบาร์บาร่า เมอร์เรย์ (Barbara Marley) ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพประจา องค์การแรงงานระหว่างประเทศชาวอเมริกัน ได้ให้แนวทางในการจ้างงานคนพิการใน 4 ลักษณะได้แก่การ จ้างงานคนพิการในโรงงานอารักษ์การจ้างงานคนพิการในระบบสนับสนุน การจ้างงานในระบบเปิดและ การประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้มี 2 ลักษณะ (สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์, 2544: 37-38)ได้แก่ 3.1) การจ้างงานคนพิการในระบบสนับสนุน การจ้างงานในลักษณะนี้เป็นการทางานที่คนพิการจะมีผู้สอน งาน (Job Coach) ช่วยดูแลหรืออาจจะเป็นในรูปของการทดลองงาน ฝึกงาน (On the JobTraining) เหมาะ สาหรับคนพิการที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา หรือ การเรียนรู้รวมทั้งคนพิการที่ไม่มีพื้นฐานความรู้หรือ ประสบการณ์พี่เลี้ยงจะเป็นผู้ประสานงานระหว่างสถานประกอบการและคนพิการเพื่อให้การทางานดาเนิน ไปตามวัตถุประสงค์ของนายจ้าง งานในลักษณะนี้อาจทาในรูปของคณะทางานซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของพี่ เลี้ยง ซึ่งจะนาคนพิการไปทางานต่างๆ ที่สามารถดูแลและชี้แนะได้อย่างใกล้ชิดข้อดีของการจ้างงานใน ลักษณะนี้คือ คนพิการจะเกิดการเรียนรู้และพัฒนางานและสามารถที่จะเข้าสู่การจ้างงานในระบบเปิดได้ เนื่องจากสถานการณ์และสภาพแวดล้อมในการทางานเหมือนการทางานในระบบเปิดทุกประการ 3.2) การจ้างงานระบบเปิด จากการศึกษาของวิริยะ นามศิริพงศ์พันธ์และคณะ (๒๕๔๖) กล่าวว่าการจ้างงาน ระบบเปิดมีลักษณะของการคัดเลือกคนพิการที่มีความสามารถ ซึ่งจะได้รับการจ้างงานจากสถาน ประกอบการทั่วไป แต่ปัญหาสาคัญในการทางานของความพิการคือ เจตคติของนายจ้างที่มีต่อคนพิการ ซึ่ง ไม่ยอมรับความสามารถของคนพิการ จุดมุ่งหมายของการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการก็เพื่อให้คนพิการ ดารงชีวิตอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีศักดิ์ศรีมีบทบาทในสังคมได้เท่าเทียมบุคคลทั่วไปและ สามารถประกอบอาชีพมีรายได้ที่มั่นคง ฉะนั้นจึงต้องรณรงค์เพื่อให้สังคมเปลี่ยนเจตคติที่มีต่อคนพิการให้ เป็นไปในทางบวก และยอมรับความสามารถของคนพิการ ถือว่าคนพิการเป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคมมี ส่วนร่วมและบทบาทเช่นบุคคลทั่วไปอย่างมีศักดิ์ศรีและประสิทธิภาพ 4. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในด้านการจ้างงาน จากการที่ประเทศไทย เห็นความสาคัญของคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงจัดตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และรับผิดชอบในการดูแลคุณภาพชีวิตคนพิการมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๓ อีกทั้งพระราชบัญญัติการฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 ซึ่งต่อมาจึงมีพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการพ.ศ.
  • 15. 7 ๒๕๕๐ เพราะพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน สาระสาคัญและรายละเอียดเกี่ยวกับการสงเคราะห์และการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการไม่เหมาะสมกับสภาพ สังคมปัจจุบัน สมควรกาหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และกาหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองคนพิการเพื่อมิ ให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุสภาพทางกายหรือสุขภาพ รวมทั้งให้คนพิการมีสิทธิได้รับ สิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตลอดจนให้รัฐต้องสงเคราะห์คน พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้ (พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ, ๒๕๕๐: ๗๗)และปัจจุบันเป็นพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมจากกฎหมายที่ว่าด้วยหน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องของการส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิประโยชน์สูงสุด ดังนั้นในเรื่องของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงมีวิวัฒนาการตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๘๓ – ปัจจุบัน ซึ่งมีรายละเอียดตามตารางที่ ๔ ดังนี้ แสดงวิวัฒนาการของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2483- 2250 พ.ศ. 2483 - รัฐจัดตั้งกรมประชาสงเคราะห์สังกัดกระทรวงมหาดไทย ที่ตั้งกรมฯอยู่ในพี้นที่วังสราญรมย์เขตพระนคร - กรมประชาสงเคราะห์ได้ตั้งหน่วยงานรับผิดชอบดูแลเรื่องคนพิการ ในระดับ กลุ่มงาน เป็นงานคนพิการ ในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง กองสวัสดิการสงเคราะห์ - ในระยะเริ่มแรก เน้นการให้บริการ ด้านสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการพ.ศ.2493 กรมกรม ประชาสงเคราะห์ย้ายมาตั้งที่วังสะพานขาว และคงดาเนินงานสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการโดย ยกระดับงานคนพิการเป็นฝ่ายสงเคราะห์คนพิการในกองสวัสดิการสงเคราะห์พ.ศ.2524 กรม ประชาสงเคราะห์และองค์กรเอกชนด้านคนพิการเล็งเห็นความสาคัญ ในเรื่องสิทธิและโอกาสของการ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงได้ร่วมกันผลักดันกฎหมายเกี่ยวกับคนพิการพ.ศ.2534 - รัฐบาลได้ ประกาศใช้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการ พ.ศ.2534 - พ.ร.บ. ดังกล่าวให้จัดตั้ง “สานักงานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ” (สฟก.) ขึ้นเป็นหน่วยงาน ระดับกอง สังกัด กรมประชาสงเคราะห์กระทรวงมหาดไทย
  • 16. 8 - กรมประชาสงเคราะห์ได้โอนงานคนพิการในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งกองสวัสดิการสังคมมารวมที่ สฟก. โดย สฟก. ทาหน้าที่ -เป็นสานักงานเลขานุการการของคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ -เป็นสานักทะเบียนกลางสาหรับคนพิการ -ดาเนินการทั้งงานด้านวิชาการการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ -สนับสนับสนุนหน่วยงานสถาบันที่ให้บริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2536 มีการปรบโครงสร้างการบริหารราชการเมื่อเดือนกันยายน โดยโอนสานักงานคณะกรรมการ ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการกรมประชาสงเคราะห์จากสังกัดกระทรวงมหาดไทยไปสังกัดกระทรวงแรงงาน และสวัสดิการสังคมพ.ศ. 2545 - มีการปฏิรูป ระบบราชการ โดยปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงทบวงกรมขึ้น ใหม่ - “สานักคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ”(สฟก) ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “สานักส่งเสริมและพิทักษ์คน พิการ (สทก.)” สังกัดสานักงานส่งเสริมสวัสดิการและพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) - สทก. ทาหน้าที่เช่นเดียวกับ สฟก. โดยเน้นงานวิชาการและการจดทาองค์ความรู้ด้านคนพิการ สาหรับงาน การบริการ และการให้สวัสดิการสงเคราะห์แก่คนพิการ ดาเนินการโดย สานักบริการสวัสดิการสังคม กรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - ย้าย สทก. มาตั้งในบริเวณสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถีเขตราชเทวีพ.ศ 2550 – พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2550 - จัดตั้ง “สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ”ขึ้น เป็นส่วนราชการในกระทรวง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - มีเลขาธิการ ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และบุคลากรของสานักงาน
  • 17. 9 - สาระสาคัญ ของ พระราชบัญญัติคือ คนพิการได้รับสิทธิตามกฎหมายมากขึ้น อย่างทั่วถึง และเท่าเทียมมี การลดหย่อนภาษีให้ผู้ดูแลคนพิการ และให้กระทรวงต่างๆ เข้ามาดูแลคนพิการมากขึ้น ซึ่งประโยชน์ของ การยกฐานะสานักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นสานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แห่งชาติ เป็นส่วนราชการเทียบเท่ากรม ทาให้สานักงานสงเสรริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ดาเนินงานด้านคนพิการทั้งในเชิงนโยบายและการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น - บทบาทหน้าที่ของสานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติคือ - เสนอนโยบาย แผนหลัก และโครงการที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการ ตามอานาจหน้าที่ต่อไป - ประสานงานและร่วมมือในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการกับหน่วยงานของรัฐบาลและเอกชนที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ - ศึกษา วิเคราะห์พัฒนานวัตกรรม สารวจ รวบรวม เก็บรักษาข้อมูลเกี่ยวกับคนพิการและสถานการณ์คน พิการเพื่อก่อประโยชน์ต่อการส่งเสริมและคุณภาพชีวิตคนพิการ - สนับสนุนให้มีการจัดตั้งการดาเนินงานการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการเพื่อให้สามารถทา หน้าที่พิทักษ์สิทธิคนพิการตลอดจนสนับสนุน และประสานงานให้หน่วยงานของรัฐจดงบประมาณ ให้แก่ องค์การด้านคนพิการ เพื่อดาเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ - ศึกษารูปแบบสิทธิและสวัสดิการอื่นๆเพื่อการส่งเสริมศักยภาพ และการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิคนพิการ ตลอดจนสนับสนุนการขับเคลื่อนทางสังคมในการบูรณาการให้คนพิการเข้าสู่สังคมอย่างเต็มที่และมี ประสิทธิภาพ - เสนอ ปรับปรุง พัฒนากฎหมายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้ทันสมัยรวมทั้งให้คาปรึกษาและ ดาเนินงานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่ง อาญา และงานคดีปกครอง รวมถึงงานคดีอื่นที่อยู่ในอานาจหน้าที่ ของสานักงาน - บริหารจัดการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ - เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
  • 19. 11 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน กลุ่มข้าพเจ้าได้ร่วมกันจัดทาโครงการเพื่อสังคม "Read for the Blind" นี้ขึ้นมา เพื่อชวนเพื่อนๆ ทุก คนที่มีจิตอาสา สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างหนังสือเสียงผ่าน App ตัวนี้ ได้แบบง่ายๆ ไม่ต่างจาก การไปเข้าห้องอัดหนังสือเสียงที่สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย หรือตามร้านหนังสือใหญ่ๆ ที่มีบริการ เพื่อผู้พิการ ส่วนวิธีการใช้งาน App Read for the Blind ดังนี้ 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 3.1.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ tablet i-pod 3.1.2 app Read for the Blind รูปภาพที่ 3.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
  • 20. 12 รูปที่ 3.2 app Read for the Blind 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานและนาไปเสนอครูที่ปรึกษา 3.2.2 เริ่มต้นการใช้งาน 3.2.2.1 ดาวน์โหลดแอพพลิเคชัน Read for the Blind บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตได้ที่ Google Play Store หรือ App Store 3.2.2.2 เปิดแอพพลิเคชันและอ่านข้อมูลแนะนาการใช้งานเบื้องต้น จากนั้นคลิ๊ก agree ในหน้า Disclaimer 3.2.2.3เมื่อต้องการสร้างหนังสือเสียงให้ทาการ Login เข้า Facebook เฉพาะครั้งแรกของการใช้ งานแอพพลิเคชันเท่านั้น 3.2.3 ขั้นตอนการอัดเสียง 3.2.3.1 กดอ่านเพิ่มบทใหม่ 3.2.3.2 เริ่มการบันทึกเสียง เมื่อบันทึกเสียงเสร็จสิ้นตามต้องการแล้วให้กดเครื่องหมายถูก 3.2.3.3 ใส่ข้อมูลรายละเอียดข้อมูลของบทที่อ่านและกดปุ่มบันทึกเสียงบนหนังสือ เพื่ออัพโหลด เสียงขึ้นระบบ
  • 21. 13 3.2.3.4 ในระหว่างการอัดเสียง ถ้าต้องการหยุดให้กดปุ่ม หยุด และกด play เมื่อต้องการฟังซ้า สามารถเลื่อนแถบ สีเขียว เพื่อไปยังจุดที่ต้องการอัดทับและกดอัดเสียงอีกครั้ง เพื่ออัดทับในจุดที่อ่านผิด 3.2.3.5 ในกรณีที่ออกจากแอพพลิเคชั่น ไฟล์เสียงล่าสุดที่เคยอัดไว้ จะถูกเซฟไว้ใน แอพพลิเคชั่น สามารถกลับมาอ่านหนังสือ หรือบทความต่อจากเดิมได้ แต่ถ้าต้องการอ่านเล่มใหม่ ต้องอ่าน หนังสือหรือบทความเดิม ให้เสร็จก่อน 3.2.4 การสร้างบทความใหม่ 3.2.4.1 กดเลือกบทความ จากเมนูเลือกประเภทหนังสือ 3.2.4.2 เลือกประเภทหรือหัวข้อของบทความที่ต้องการสร้างใหม่ มีทั้งหมด 12 หัวข้อ 3.2.4.3 กดอ่านเพิ่มบทใหม่ เพื่อเริ่มอัดเสียง กดเครื่องหมายถูกเมื่ออัดเสร็จสิ้น 3.2.4.4 ใส่ข้อมูลของบทความที่อ่าน ชื่อบทความ แหล่งที่มา วันเผยแพร่บทความ กดปุ่มบันทึก ข้อมูลเสียงบนหนังสือเพื่ออัพโหลดขึ้นระบบ 3.2.5 จัดทาโครงร่างเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาผ่านเว็บบล็อกของตัวเอง โดยนาไฟล์ข้อมูลไปฝาก ไว้ที่เว็บไซต์ชื่อhttp://www.slideshare.net/ 3.2.6 นาเสนอความก้าวหน้าของงานเป็นระยะๆ 3.2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน โดยนาเสนอในรูปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์และนาฝากข้อมูล ดังกล่าวไว้ที่เว็บ http://www.slideshare.net/ แล้วนามาเชื่อมโยงผ่านเว็บบล็อกที่สร้างขึ้น 3.2.8 ประเมินผลงาน โดยการนาเสนอผ่านเว็บบล็อก 3.2.9 นาเสนอผ่านเว็บบล็อกเพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
  • 24. 16 รูปภาพที่ 3.7 เลือกปก ข้อมูลหนังสือ รูปภาพที่ 3.8 กดปุ่มเริ่มบันทึกเสียง
  • 25. 17 รูปภาพที่ 3.9 กด ok เมื่ออ่านหนังสือเสร็จแล้วระบบจะบันทีกข้อมูล
  • 26. 18 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการอ่านหนังสือเสียงผ่าน app Read for the Blind สามารถทาได้ง่ายประชาชนทุกคนสามารถ เข้ามาร่วมอ่านหนังสือเสียงได้แค่มีแอพ เนื่องจากการอ่านหนังสือเสียงสามารถช่วยผู้พิการทางสายตาโดยที่ เราไม่ต้องเดินทางไปยังมูลนิธิคนตาบอดไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็สามารถอ่านหนังสือเสียงได้เพียงแค่อัดเสียง แล้วส่งไปในแอพพลิเคชั่นหนังสือเสียงก็สามารถส่งไปผู้พิการทางสายตาดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงเลือกที่จะ เข้าร่วมกิจกรรมอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดจานวน 5 เล่มเผื่อเผยแพร่ไปยังมูลนิธิคนตาบอด รูปภาพที่ 4.1 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 1
  • 27. 19 รูปภาพที่ 4.3 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 2 รูปภาพที่ 4.4 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 3
  • 28. 20 รูปภาพที่ 4.5 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 4 รูปภาพที่ 4.6 ผลงานการอ่านหนังสือเสียงเล่มที่ 5
  • 29. 21 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล สรุปผลการศึกษา จากการดาเนินโครงการหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างพบว่าอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟังผ่าน แอพพลิเคชั่นถือเป็นประโยชน์ต่อคนที่พิการทางสายตาเป็นอย่างมากซึงทาให้คนที่พิการทางสายตามีความรู้ เพิ่มขึ้นได้ฟังความรู้ต่างๆที่ยังไม่เคยรู้และเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้อ่านเองด้วยซึ่งทาให้ผู้อ่านได้ทบทวน เนื้อหาในสิ่งที่อ่านไปทั้งเรื่องที่เคยอ่านไปแล้วหรือยังไม่เคยอ่านทาให้ผู้อ่านมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมซึ่งผู้ ปฏิบัติโครงงานตระหนักในการบาเพ็ญตนโดยเป็นผู้ให้ด้วยจิตที่อาสาที่มุ่งมั่นเสียสละช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่ หวังสิ่งตอบแทนมีจิตใจที่พร้อมจะสละเวลาเพื่อสาธารณประโยชน์และเพื่อส่วนรวม ผู้คนทั่วไปสามารถ เข้าร่วมกิจกกรมได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ อภิปรายผล จากการทาโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างเริ่มการที่เราสนใจการอ่านหนังสือเวลาในว่าง กลุ่มของ ข้าพเจ้าจึงหาโครงการที่สอดคล้องทาให้เกิดประโยชน์กับงานยามว่าง และการอ่านหนังสือผ่าน แอปพลิเคชั่น read for the blind ตอบโจทย์ได้ดี เราได้ศึกษาหนังสือที่มีผู้พิการทางสายตาสนใจจาก แอปพลิเคชั่นแล้วได้เลือกหนังสือมา 5 เล่ม เพื่อบันทึกการอ่าน การอ่านหนังสือนี้เราได้บันทึกเสียงหลาย ครั้งเพื่อเสริมสร้างเป็นให้แก่ผู้อ่าน และอีกทั้งกลุ่มของข้าพเจ้ายังได้เชิญชวนเพื่อนๆในห้องมาร่วมโครงการ ผลตอบรับที่ได้เป็นอย่างดี
  • 30. 22 บรรณานุกรม การวิจัยเรื่อง “การศึกษาการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทําของคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐” (ออนไลน์) แหล่งที่มา : http://www.researchsystem.siam.edu/images/researchout/Education/ ขั้นตอนการสร้างหนังสือเสียงผ่านแอพพลิเคชั่น Read for the Blind (ออนไลน์) แหล่งที่มา : http://www.techmoblog.com/read-for-the-blind-app/ 15 ตุลาคม 2556 Read for the Blind - How to (ออนไลน์) แหล่งที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=gSXFhFv9P0A 17 ต.ค. 2013
  • 31. 23 ภาคผนวก ภาพที่ 1 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 1 ภาพที่ 2 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 2
  • 32. 24 ภาพที่ 3 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 3 ภาพที่ 4 อ่านหนังสือผ่านแอปพลิเคชั่น read for the blind เล่มที่ 4
  • 35. 27
  • 36. 28