SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ปฏิบัติการที่ 2
การเตรียมสูตรตารับผลิตภัณฑ์ ทาความสะอาดผิวกาย (skin cleanser)
สบู่
สบู่ เป็ นสิงที่ใช้ ในการทาความสะอาดร่างกาย เช่น การอาบน ้า การล้ างมือ สบูจะช่วยละลายไขมัน ทา
่
่
ให้ การชาระล้ างสะอาดมากขึ ้น
สบู่ก้อน คือส่วนผสมระหว่างกรด (ไขมัน) กับเบส (ด่าง) ในอัตราส่วนที่ทาให้ สามารถทาความสะอาดได้
ดี และไม่เป็ นอันตรายต่อผิว คือมีคา pH อยูระหว่าง 8-10 (ในเอกสารจดแจ้ งของ อย.ให้ ผ้ ผลิตสบูก้อนระบุวามี
่
่
ู
่
่
ค่า ph ไม่เกิน 11) กรดหรื อกรดไขมัน เช่นน ้ามันพืช ไขมันสัตว์ เบส เช่นโซดาไฟ โดยทัวไปอัตราส่วนผสมที่
่
เหมาะสมคือเมื่อผสมกันแล้ วควรจะเหลือกรดไขมันอยูประมาณ 5% หากไม่มีเครื่ องมือในการวัดค่า pH ให้ เก็บ
่
สบูเ่ อาไว้ อย่างน้ อย 15-30 วัน เพือให้ คา pH ลดลง อยูในอัตราที่เหมาะสม
่
่
่
กรด (ไขมัน) และเบส (ด่ าง) ที่นามาทาสบู่ ไขมันแต่ละชนิดประกอบด้ วยกรดไขมันมากกว่า 1 ชนิด
ตามธรรมชาติกรดไขมันเหล่านี ้จะไม่อยูอิสระ แต่รวมตัวกับสารกลีเซอรอลในไขมันอยูในรูปกลีเซอไรด์ เมื่อด่าง
่
่
ทาปฏิกิริยากับกรดไขมัน กรดไขมันจะหลุดออกจากกลีเซอไรด์ รวมตัวเป็ นสบู่ สารที่เกาะอยูกบกรดไขมันก็จะ
่ ั
หลุดออกมาเป็ นกลีเซอรี น ปฏิกิริยาของ กรดไขมันแต่ละชนิดเมื่อรวมตัวกับด่างแล้ ว จะให้ สบูที่มีคณสมบัติ
่ ุ
แตกต่างกัน เช่น กรดลอริ ก (lauric acid) มีมากในน ้ามันมะพร้ าว เป็ นกรดไขมันที่ทาปฏิกิริยากับด่างแล้ วให้ สาร
ที่มีฟองมาก เป็ นต้ น
คุณสมบัติของสบูที่ได้ จากกรดไขมันต่างชนิดกัน
่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.

น ้ามันมะพร้ าว สบูที่ผลิตได้ มีเนื ้อแข็ง กรอบ แตกง่าย สีขาวข้ น มีฟองมากเป็ นครีม ให้ ฟองทีคงทน
่
่
พอควร เมื่อใช้ แล้ วทาให้ ผิวแห้ ง
น ้ามันปาล์ม ให้ สบูที่แข็งเล็กน้ อย มีฟองน้ อย ฟองคงทนอยูนาน มีคณสมบัติในการชะล้ างได้ ดี แต่ทา
่
่
ุ
ให้ ผิวแห้ ง
น ้ามันราข้ าว ให้ วิตามินอีมาก ทาให้ สบูมีความชุ่มชื ้น บารุงผิว ช่วยลดความแห้ งของผิว
่
น ้ามันถัวเหลือง เป็ นน ้ามันทีเ่ ข้ าได้ ดีกบน ้ามันอื่น ให้ ความชุมชื ้น รักษาผิว แต่เก็บไว้ ได้ ไม่นาน มีกลิน
่
ั
่
่
หืนง่าย
น ้ามันงา เป็ นน ้ามันที่ให้ วิตามินอี และให้ ความชุมชื ้น รักษาผิว แต่มีกลินเฉพาะตัว
่
่
น ้ามันมะกอก ทาให้ ได้ สบูที่แข็งพอสมควร ใช้ ได้ นาน มีฟองเป็ นครี มนุมนวลมาก ให้ ความชุมชื ้น ไม่ทา
่
่
่
ให้ ผิวแห้ ง
น ้ามันละหุง ช่วยทาให้ สบูมีฟองขนาดเล็กจานวนมาก ทาให้ สบูเ่ ป็ นเนื ้อเดียวกันดี สบูไม่แตก ทาให้ สบู่
่
่
่
มีความนุมเนียน และช่วยให้ ผิวนุม
่
่
น ้ามันเมล็ดทานตะวัน ทาให้ สบูนมขึ ้น แต่ฟองน้ อย
่ ุ่
ไขมันวัว จะได้ สบูที่มีเนื ้อแข็งสีขาวอายุการใช้ งานนานมีฟองน้ อย ทนนาน แต่นมนวล
่
ุ่
10. ไขมันหมู จะได้ สบูที่มีเนื ้อแข็ง อายุการใช้ งานนาน ฟองน้ อย แต่ทนนาน
่
11. ขี ้ผึ ้ง ได้ สบูเ่ นื ้อแข็ง อายุการใช้ งานนาน ฟองน้ อย แต่ทนนาน
12. ไขมันแพะ ได้ สบูเ่ นื ้อนุม ได้ ความชุ่มชื ้นแก่ผิว ผิวนุมเนียน
่
่
เบส (ด่าง) ทีใช้ มี 3 ชนิด คือ
่
1.
2.
3.

ขี ้เถ้ า ใช้ ในการผลิตสบูในสมัยโบราณ ปั จจุบนมีการพัฒนาใช้ เป็ นด่างแทน
่
ั
โซดาไฟ หรื อโซเดียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้ สบูก้อนแข้ ง
่
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้ สบูเ่ หลว

สบู่ คือ เกลือโซเดียมของกรดไขมัน มีสตรโครงสร้ างทัวไปคือ
ู
่
โครงสร้ างของสบู่
โมเลกุลของสบู่ ประกอบด้ วย 2 ส่วน ได้ แก่
1.) ส่วนที่ไม่มีขว เป็ นด้ านของไฮโดรคาร์ บอน
ั้
2.) ส่วนที่มีขว เป็ นด้ านของโซเดียมคาร์ บอกซิเลต (-COO-Na+)
ั้

สบูที่ดีควรมีจานวน C อะตอมในหมู่ R พอเหมาะ จะเป็ นสบูที่ละลายน ้าได้ ดี
่
่

ปฏิกิริยาการเกิดสบู่
เรี ยกว่า ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (Saponification) เป็ นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไขมันและน ้ามันด้ วยเบส
เกิดเกลือของกรดไขมัน (สบู) กับกลีเซอรอล
่
ดังนี ้
กระบวนการผลิตสบูในอุตสาหกรรมทาได้ โดยผสมไขมันหรื อน ้ามันกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
่
และให้ ความร้ อนโดยการผ่านไอน ้าลงไปในสารผสมเป็ นเวลา 12 – 24 ชัวโมง จากนันจึงเติมโซเดียมคลอไรด์ลง
่
้
ไปเพื่อแยกสบูออกจากสารละลาย ทาสบูให้ บริ สทธิ์ ผสมน ้าหอมหรื อสีลงไปเพื่อให้ ได้ กลินหรื อสีตามที่ต้องการ
่
่
ุ
่
แล้ วทาให้ เป็ นก้ อนเพือจาหน่ายต่อไป
่
กลีเซอรอลซึงเป็ นผลพลอยได้ จากกระบวนการทาสบูจะแยกออกจากสารละลายและนาไปใช้ ประโยชน์
่
่
ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง พลาสติก และใช้ เป็ นสารให้ รสหวานในอาหารหรื อยา
ชนิดของสบู่
สบูมีหลายชนิดขึ ้นอยูกบส่วนผสมที่ใช้ โดยทัวไปจะมีคาความเป็ นกรด-ด่าง (pH) อยูระหว่าง 9.0-10.0
่
่ ั
่
่
่
1.) สบูก้อน (Hard soap) ลักษณะเป็ นก้ อนสีขาวหรื อเทาขาวเมือเวลาแห้ งและเย็น มีโซดาเป็ นส่วนประกอบหลัก
่
่
และมีเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน ใช้ สาหรับภายนอกเท่านัน
้

2.) สบูชนิดอ่อน (soft soap) ลักษณะคล้ ายน ้าผึ ้งหรื อเยลลี่ (Jelly) สีเหลืองใสทาด้ วยน ้ามันมะกอกและโซดา
่
3.) สบูเ่ หลว (liquid soap) มีสวนผสมของเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน และอาจมีสวนผสมของน ้ามันมะกอก
่
่
เมล็ดถัว เมล็ดฝ้ าย
่

4.) ซินเดท (synndet) เป็ นสบูที่มสวนผสมของสาร ที่ให้ ความชุ่มชื ้นกับผิวหนัง
่ ี ่

นอกจากนี ้ อาจมีสบูชนิดต่างๆ ซึงจะมีสวนประกอบแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์การใช้ เช่น สบูยา
่
่
่
่
ที่มีสวนผสมของไทรโคลซาน (triclosan) และไทรโคคาร์ บอน (trichocarbon) ซึงมีฤทธิ์ยบยังฤทธิ์ของแบคทีเรีย
่
่
ั ้
สบูทมีสวนผสมของ lanolin เพื่อทาให้ มความชุมชื ้นมากขึ ้นซึงการเลือกใช้ สบูก็ขึ ้นอยูกบลักษณะของผิวหนังและ
่ ี่ ่
ี
่
่
่
่ ั
วัตถุประสงค์ของการใช้
การทางานของสบู่
เมื่อสบูละลายน ้า จะแตกตัวให้ ไอออนบวกและไอออนลบ ส่วนที่เป็ นไอออนลบจะเป็ นตัวทีใช้ ชาระล้ างสิงต่างๆได้
่
่
่
โดยหันด้ านที่มขวละลายในน ้าทีล้อมรอบ และด้ านที่ไม่มีขวล้ อมรอบหยดน ้ามันและสิงสกปรก ทาให้ สงสกปรก
ี ั้
่
ั้
่
ิ่
นันหลุดออกมาและแพร่กระจายอยูในน ้าในรูปของอิมลชัน สบูจึงใช้ ทาความสะอาดได้
้
่
ั
่
สบู่กับน้ากระด้ าง
นากระด้ าง เป็ นน ้าที่ประกอบด้ วย Fe2+, Mg2+ และ Ca2+ ของHCO3-, Cl- และ SO42้
Mg2+ และ Ca2+ จะเข้ าไปแทนที่ Na+ ในสบู่ ทาให้ เกิดสารประกอบที่ไม่ละลายน ้าลอยขึ ้นมาเป็ นฝาอยู่
้
บนผิวน ้าเรี ยกว่า “ไคลสบู่”
เนื่องจากสบูจะเกิดตะกอนไอออนในน ้ากระด้ างทาให้ เกิดการสิ ้นเปลืองในการใช้ สบู่ จึงได้ มี การสังเคราะห์สาร
่
อื่นใช้ ชาระล้ างซักฟอกได้ เช่นเดียวกับสบู่ สารสังเคราะห์นนก็คอ ผงซักฟอก ซึงไม่ตกตะกอนในน ้ากระด้ าง
ั้ ื
่
ข้ อควรระวังในการทาสบู่


อุปกรณ์ที่ใช้ ในการผลิตสบูหลายๆอย่างหาได้ จากในครัว แต่ต้องจาไว้ วาเมื่อนามาผลิตสบูแล้ วจะนามา
่
่
่
ปรุงอาหารอื่นๆไม่ได้ อก และเนื่องจากโซเดียมไฮดรอกไซด์จะทาปฏิกิริยากับอลูมเิ นียม ดีบก สังกะสี
ี
ุ
และโลหะอื่นๆ จึงไม่ควรนามาใช้ ในการผลิตสบู่ เนื่องจากสามารถออกฤทธิ์ในการกัดทาลายโลหะได้
ในการผสมส่วนผสมต่างๆลงในภาชนะนี ้ต้ องระมัดระวังมากเป็ นพิเศษ



อย่ าเทนาลงในโซเดียมไฮดรอกไซด์ ให้ คอยๆเทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน ้า เพราะเมือโซเดียม
้
่
่
ไฮดรอกไซด์ถกผสมกับน ้าที่อณหภูมิปกติ อุณหภูมิจะเพิมขึ ้นทันทีทนใดจนเกือบถึง 100 องศา
ู
ุ
่
ั
เซลเซียส หรื อประมาณ 90 – 95 องศาเซลเซียส ถ้ าเทน ้าลงในโซเดียมไฮดรอกไซด์อาจทาให้ เกิด “จุด
ร้ อนแรง” ( hot spot ) ซึงสามารถหลอมละลายภาชนะได้ หรื ออาจเกิดการระเบิดได้ จึงควรค่อยๆเท
่
โซเดียม ไฮดรอกไซด์ลงในน ้า



อย่าใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในภาชนะอลูมิเนียม เนื่องจากจะกัดอลูมิเนียม



ขณะที่ทาการผลิตสบูควรสวมถุงมือยางและรองเท้ า หากใส่เสื ้อผ้ าปกปิ ดผิวหนังได้ มากที่สดจะเป็ นการ
่
ุ
ดี ใส่ผ้าปิ ดจมูกหรื อว่าตาก็จะดีมาก



อย่าให้ เด็กๆหรื อสัตว์เลี ้ยงอยูใกล้ ๆขณะใช้ โซเดียมไฮเดียมไฮดรอกไซด์
่



อย่าสูดไอระเหยของโซเดียมไฮดรอกไซด์ ควรผลิตสบูในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ ดี
่



ควรมีน ้าส้ มสายชูไว้ ใกล้ ๆ เพื่อทาให้ โซเดียมไฮดรอกไซด์ซงเป็ นด่างมีความเป็ นกลางจะได้ ไม่กดกร่อน
ึ่
ั
หากกระเด็นถูกผิวหน้ าหรื อร่างกาย หลังจากล้ างด้ วยน ้าส้ มสายชูแล้ วให้ ล้างด้ วยน ้าเย็นออกให้ หมด



หากเกิดอุบตเิ หตุกลืนกินโซเดียมไฮดรอกไซด์ ให้ รีบดื่มนมแล้ วรี บนาส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ั



เก็บโซเดียมโฮดรอกไซด์ไว้ ในที่ปลอดภัยจากมือเด็กและไม่ควรเปิ ดถุงไว้ ปิ ดให้ สนิท และเก็บไว้ ใน
ภาชนะที่มีฝาปิ ดมิดชิดอีกชันหนึง
้ ่
การคานวณสูตรสบู่
สบูเ่ กิดจากการทาปฏิกริยาระหว่างไขมัน ด่างและน ้า ที่อณหภูมิที่เหมาะสมดังสมการ
ุ
ไขมัน + สารละลายด่าง è สบู่ + กลีเซอลีน
1. ขันตอนการตังสูตรสบู่ เริ่ มจากการเลือกชนิดของไขมันหรื อน ้ามันที่จะใช้ ทาสบู่ ไขมันหรื อ
้
้
น ้ามันแต่ละชนิดจะทาให้ ได้ สบูทมีคณสมบัติที่แตกต่างกัน ในการทาสบูแต่ละครังสามารถ
่ ี่ ุ
่
้
เลือกใช้ น ้ามันเพียงชนิดเดียว หรือหลายชนิดรวมกันก็ได้ เพื่อให้ ได้ สบูที่มีคณสมบัติตามที่
่ ุ
ต้ องการ ส่วนปริ มาณของน ้ามันที่จะใช้ ผลิตสบู่ ก็ขึ ้นอยูกบว่าจะผลิตสบูมากน้ อยเพียงใด
่ ั
่
2. ด่างทีจะใช้ ในการทาสบูแข็ง จะใช้ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ส่วนปริ มาณของด่างทีจะใช้
่
่
่
ขึ ้นอยูกบค่า Saponification ของน ้ามันแต่ละชนิด ค่า Saponification คือ ปริ มาณของด่างที่
่ ั
ทาปฏิกริ ยาพอดีกบไขมัน (หนัก 1 กรัม)
ั
ค่ า Saponification หรือปริมาณของด่ างที่ทาปฏิกริยาพอดีกับไขมันชนิดต่ าง ๆ
(ไขมันหนัก 1 กรัม)
ไขมันหรือนามัน (1 กรัม)
้

โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)

ไขมันวัว

0.1292

ไขมันหมู

0.1276

น ้ามันมะพร้ าว

0.169

น ้ามันปาล์ม

0.1306

น ้ามันมะกอก

0.1246

น ้ามันราข้ าว

0.1233

น ้ามันเมล็ดทานตะวัน

0.1256

น ้ามันถัวเหลือง
่

0.1246

น ้ามันละหุง
่

0.1183

น ้ามันงา

0.1266

น ้ามันข้ าวโพด

0.126

ขี ้ผึ ้ง

0.0617
ตัวอย่ าง


ถ้ าใช้ น ้ามันมะพร้ าว 300 กรัม จะใช้ NaOH = 0.169 x 300 = 50.7 กรัม



ถ้ าใช้ น ้ามันปาล์ม 300 กรัม จะใช้ NaOH = 0.13 x 300 = 39 กรัม



ถ้ าใช้ น ้ามันงา

400 กรัม จะใช้ NaOH = 0.126 x 400 = 50.4 กรัม

ดังนันถ้ าใช้ น ้ามัน 3 ชนิด (น ้ามันมะพร้ าว 300 กรัม น ้ามันปาล์ม 300 กรัม น ้ามันงา 400 กรัม)
้
รวมกันเป็ น 1,000 กรัม จะต้ องใช้ NaOH เท่ากับ 50.7 + 39 + 50.4 เท่ากับ140.1 กรัม
3. น ้า ที่ใช้ ละลาย ด่างควรเป็ นน ้าฝน น ้าประปา หรื อน ้ากรอง ไม่ควรใช้ น ้าบ่อ หรื อน ้าบาดาล
ปริ มาณน ้าทีใช้ ละลายด่าง หาได้ จากสูตรดังต่อไปนี ้
่
น ้าหนัก = (น ้าหนักด่าง x 3.33) - น ้าหนักด่าง
จากตัวอย่าง = (140.1 x 3.33) - 140.1 = 326.43 กรัม
น ้าหนักน ้าทีใช้ ละลายด่างจากตัวอย่าง คือ 326.43 ก
่
การผลิตสบูโดยทัวไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม มอก. 29-2545 เรื่ อง สบูถตว กาหนดว่า
่
่
ุ
่ ู ั
ส่วนประกอบส่วนใหญ่ของ สบูถตว คือไขมัน โดยกาหนดปริ มาณไม่น้อยกว่า 76.5 % w/w และไฮดรอกไซด์
่ ู ั
อิสระ(คานวณเป็ น sodium oxide) กาหนดไม่เกิน 0.05 % w/w ยกเว้ นสบูเ่ ด็กและสบูสงเคราะห์มีได้ ไม่เกิน 0.01
่ ั
% w/w
โดยทัวไปความเป็ นกรด-ด่างของสบูถตวจะอยูในช่วง 9 ถึง 10 ยกเว้ นสบูบางสูตรที่มี สารให้ ความชุ่ม
่
่ ู ั
่
่
ชื ้นเป็ นส่วนประกอบในปริ มาณสูงจะมีคาความเป็ นกรด-ด่าง ไม่เกิน 7
่
สบูถตวใช้ เพื่อทาความสะอาดร่างกาย เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ แล้ ล้างออก จัดเป็ นเครื่ องสาอางทัวไปตาม
่ ู ั
่
ประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติเครื่ องสาอาง พ.ศ. 2535
เรื่ อง กาหนดชื่อ ประเภท ชนิด หรื อลักษณะของ เครื่ องสาอางที่มการควบคุมฉลากและประกาศคณะกรรมการ
ี
เครื่ องสาอาง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2536) เรื่ องฉลากของเครื่ องสาอางกาหนดว่าฉลากของเครื่ องสาอางทัวไปอย่าง
่
น้ อยต้ องระบุชื่อเครื่ องสาอาง ประเภท ชื่อส่วน ประกอบสาคัญ ชื่อและที่ตงของผลิต /นาเข้ า วันเดือนปี ที่ผลิต
ั้
วิธีใช้ เครื่ องสาอาง ปริ มาณสุทธิ และคาเตือนเกี่ยวกับ อันตรายทีอาจเกิดขึ ้นต่ออนามัยของบุคคล (ถ้ ามี) ซึง
่
่
ผู้บริ โภคควรอ่านฉลากและปฏิบติตามวิธีใช้ และคาเตือนเพื่อความปลอดภัยของผู้บริ โภค
ั
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ นกศึกษารู้จกและทราบถึงหน้ าที่ของส่วนประกอบใยสูตรตารับผลิตภัณฑ์ทาความ
ั
ั
สะอาดผิวกายชนิดต่างๆ
2. เพื่อให้ นกศึกษาสามารถเตรี ยมสูตรจารับด้ วยเทตนิตทีถกต้ องและเหมาะสม
ั
่ ู
อุปกรณ์
1. Beaker
2. Sterring rod
3. Droper
4. Carbopol ETD 2020
5. Triethanolamine
6. Texapon N40
7. Plantacare 1200 UP
8. Glucopon 215 UP
9. Comperlan KD
10. Glycerin
11. Citric acid
12. น ้ามันมะพร้ าว, น ้ามันมะกอก
13. Sodium hydroxide
14. Potassium hydroxide
วิธีการทดลอง
ตารับที่ 1.1 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ ทาความสะอาดผิวกาย 50 กรัม
Formula(%w/w)

working formula

Phase A
Water,sufficient to make

100.0

50.0

Glycerin

3.0

1.5

Carbopol ETD2020 (2%w/w)

0.5

12.5

Triethanolamine

q.s.

Phase B

Phase C
Texapon N40

50.0

25.0

Comperlan KD

10.0

5.0

Scrub

0.2

0.1

Perfume

q.s.

Color

q.s.

Phase D
การคานวณ
1. Water

Master Formula

100%w/w

ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 100x 50/100 เท่ากับ 50 กรัม
2. Glycerin

Master Formula

3%w/w

ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 3x 50/100 เท่ากับ 1.5 กรัม
3. Carbopol ETD2020

Master Formula

0.5%w/w

ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ0.5x 50/100 เท่ากับ 0.25 กรัม
*ห้ องปฏิบติการมี Carbopol ETD2020 (2%w/w)
ั
ดังนัน มี Carbopol ETD2020 2 กรัม ในสารสะลาย 100 กรัม
้
ต้ องการ Carbopol ETD2020 0.25 กรัม ใช้ สารละลาย 12.5 กรัม
4. Texapon N40

Master Formula

50%w/w

ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 50x 50/100 เท่ากับ 25 กรัม
5. Comperlan KD Master Formula

10%w/w

ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 10x 50/100 เท่ากับ 5 กรัม
6. Scrub

Master Formula

0.2%w/w

ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 0.2x 50/100 เท่ากับ 0.1 กรัม

วิธีทา
1.
2.
3.
4.
5.
6.

ชังสาร ตามสูตรตารับทังหมด ตาม Working Formula
่
้
ผสมสารใน phase A ลงใน Carbopol ETD2020 ที่เตรี ยมไว้ ใน Beaker
Neutralize Carbopol ETD2020 ด้ วย phase B จนกระทังได้ เจลใส (pH ประมาณ 6-7)
่
เท phase C ลงในข้ อ 3 พร้ อมกวนผสมเบาๆ ด้ วย stirring rod ระวังอย่าให้ เกิดฟองมากเกิน
ใส่ phase D ลงในข้ อ 4 กวนผสมเบาๆให้ เข้ ากัน
บรรจุในภาชนะ
ตารับที่ 1.3 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ สบู่ก้อน 20 กรัม
Formula(%w/w)

working formula

Phase A
น ้ามันมะพร้ าว

100.0

20.00

Sodium hydroxide

16.92

3.39

Water

35.00

7.00

Perfume

q.s.

Color

q.s.

Phase B

การคานวณ
1. Water

Master Formula 35.00
ถ้ าใช้ น ้ามันมะพร้ าว 100 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 20x 35/100 เท่ากับ 7 กรัม

2. Sodium hydroxide

Master Formula 3%w/w

ใช้ น ้ามันมะพร้ าว 100 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 16.25x 20/100 เท่ากับ 3.39 กรัม
วิธีทา
1.
2.
3.
4.
5.
6.

ชังสาร ตามสูตรตารับทังหมด ตาม Working Formula
่
้
ละลาย sodium hydroxide จากนัน ใหอุณหภูมิประมาณ 60 องศา
้
นาน ้ามะพร้ าวให้ ความร้ อนประมาณ 60 องศา
เท สารละลายข้ อ 1 ลงในข้ อ 2 คนผสมไปเรื่ อยๆ จนสบูจบตัวเหนียวข้ น
่ั
เติมน ้าหอม และ แต่งสี
เทใส่แม่พมพ์ ทิ ้งไว้ ให้ เย็นจนสบูแข๊ งตัว ( 1-7 วัน) แกะออกจากพิมพ์
ิ
่
ผลการทดลอง
ตารับที่ 1.2 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ ทาความสะอาดผิวกาย 50 กรัม
ในการเตรี ยมสูตรผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดผิวกาย 50 กรัม ในขันตอนการเท phase C ลง
้
ในข้ อ 3 และขันตอนใส่ phase D ลงในข้ อ 4 ต้ องกวนผสมเบาๆให้ เข้ ากันด้ วย stirring rod ระวังอย่าให้ เกิดฟอง
้
มากเกิน เนื่องจาก Texapon N40 มีคณสมบัติลดแรงตึงผิวของน ้า ทาให้ เกิดฟอง ผลิตภัณฑ์ที่ได้ จะเกิดฟองมาก
ุ
เกินไป แต่เมื่อทิ ้งไว้ ในภาชนะบรรจุระยะเวลาหนึง ฟองจะหายไป ได้ ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นเจลใสเป็ นเนื ้อเดียวกัน เนื ้อ
่
สัมผัสจะมีลกษณะนุม ลืน และมีเนื ้อสัมผัสเม็ดกลมแข็งจาก scrub
ั
่ ่

รูปที่ 1 ตารับที่ได้ ก่อนแต่ งสี

รูปที่ 2 pH ของตารับที่วัดได้

รูปที่ 3 ตารับหลังแต่ งสี

ตารับที่ 1.3 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ สบู่ก้อน 20 กรัม
หลังจากดาเนินการทดลองตามขันตอนแล้ ว ปรากฏว่า น ้ามันมะพร้ าว สามารถผลิตสบูที่มีคณสมบัติ
้
่ ุ
ในการชาระล้ างได้ ดี มีฟองนุม และ ลักษณะเป็ นก้ อน ทึบแสง สีขาว มีความมันเล็กน้ อย กลินหอมน ้ามันมะพร้ าว
่
่
และทาการวัด pH ได้ ประมาณ 7 สบูมีความแข็งที่พอเหมาะไม่เหลวจนเกินไป
่
สรุ ปผล และข้ อเสนอแนะ
คณะผู้จดทาได้ ทดลองและดาเนินการผลิตสบูน ้ามันมะพร้ าว แล้ วสรุปผลและอภิรายผล ดังนี ้
ั
่
สรุ ปผล
1. สบูน ้ามันมะพร้ าวนาไปใช้ มีคณสมบัติในการชาระล้ างได้ ดี
่
ุ
2. รูปลักษณ์หลังแกะออกจากแม่พิมพ์ มีลกษณะน่าใช้ ไม่เหลวหรื อร่วนจนเกินไป กลินหอม น่าใช้
ั
่
ข้ อเสนอแนะ
1. ควรมีการทดลองเปรี ยบเทียบการใช้ ไขมันชนิดต่าง ๆ
2. ควรศึกษาการทาสบูจากด่างและกรดไขมันแต่หลากหลายมากขึ ้น
่

ที่ 1 ตารับที่ได้ ก่อนทาให้ เย็น

รูปที่ 2 pH ของตารับที่วดได้
ั

รูปที่ 3 ตารับหลังทาให้ เย็น

คุณสมบัตของสารในตารับ
ิ
Carbopol ETD2020 INCI Name Acrylates/C10-30 Alkyl Acrylate Crosspolymer
ทาหน้ าที่ สารก่อเจล
Ref:http://ge-iic.com/files/fichas%20productos/Carbopol_Ultrez_21_hoja_tecnica.pdf
Triethanolamine INCI Name

Triethanolamine

ทาหน้ าที่ สารคุณสมบัติเป็ นด่าง ปรับ pH และทาให้ เจลใส
Ref:www.makingcosmetics.com/msds1/msds-triethanolamine.pdf‎
Glycerin

INCI Name Glycerin
ทาหน้ าที่ สารให้ ความหนืดในตารับ และชุ่มชื ้นแก่ผิว
Ref:http://www.newdirectionsaromatics.ca/msds/MSDS_GlycerinVegetableUSP.pdf

Texapon N 40 INCI Name SODIUM LAURETH SULFATE
ทาหน้ าที่ สารลดแรงตึงผิวประจุลบ
Ref:http://www.cosming.com/SearchDetails/Cosming/0/500219/texapon-n-40-is/_en
Comperlan KD INCI Name Cocamide DEA
ทาหน้ าที่ สารเพิ่มฟองและสารทาให้ ข้น
Ref:http://products.cognis.com/data/basf-pcan/pds2/pds2web.nsf/A3351433B2263D42C125765700419693/$File/COMPERLAN_r_KD_E.pdf
Sodium hydroxide INCI Name

Sodium Hydroxide

ทาหน้ าที่ ด่างอ่อน ใช้ ทาปฏิกิริยากับกรดไขมันในปฏิกิริยาSaponificatio
Ref:http://www.saffireblue.ca/shop/resource-center/msds-index/sodium-hydroxide-pearlsmsds
น ้ามันมะพร้ าว

INCI Name Coconut Oil (Cocos nucifera)

ทาหน้ าที่ กรดไขมัน ใช้ ทาปฏิกิริยากับด่างเพื่อทาสบู่ในปฏิกิริยาSaponificatio
Ref:http://agbangakarite.com/msds_coconutoil.php
Scrub ทาหน้ าที่ สารเม็ดละเอียดช่วยขัดผิวกาย
Triethanolamine (TEA)
สารเคมีชนิดนี ้พบมากในเครื่ องสาอางจาพวกบอดี ้ โลชัน แชมพู โฟมโกนหนวด เจล สบู่ และครี มบารุ ง
่
รอบดวงตา กับหน้ าที่ในการปรับค่า pH ไม่ให้ เป็ นกรด-ด่าง มากเกินไป ซึงหากร่ างกายได้ รับในปริ มาณน้ อยก็ไม่
่
เกิดอันตราย แต่หากสะสมในปริ มาณมาก อาจทาให้ ผิวเกิดการระคายเคืองได้ อย่างไรก็ดี หญิงตังครรภ์ควรเลียง
้
่
เพราะเป็ นสารเคมีที่มีผลต่อทารกในครรภ์ในช่วงพัฒนาการทางสมอง
Glycerin
กลีเซอรอล (glycerol) อาจเรี ยกว่า กลีเซอรี น (glycerineหรื อglycerin ) มีโครงสร้ างโมเลกุลเป็ นโพลิ
ออล (polyol) เป็ นสารที่เป็ นของเหลว ใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีรสหวานเล็กน้ อย (ความหวานสัมพัทธ์ 60) ใน
โมเลกุลมีหมูไฮดรอกซิล (-OH) 3 หมู่ จึงทาให้ ละลายน ้าได้ ดี มีสมบัติในการจับกับน ้าได้ ดี (hydroscopic) กลีเซ
่
อรอลเป็ นส่วนประกอบหลักในโมเลกุลของไตรกลีเซอร์ ไรด์ (triglyceride) ซึ่งได้ จากการรวมตัวของกลี เซอรอล
กับกรดไขมัน (fatty acid) 3 โมเลกุล
Texapon N40
หรื อ หัวสบู่, หัวแชมพู, Sodium Lauryl Ether Sulfate, SLES, Surfactant,สารลดแรงตึงผิว, Sodium
laureth sulfate sodium lauryl ether sulfate (SLES) หรื อ sodium laurethsulfate เป็ นสารทาให้ เกิดฟอง มักใช้
ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด และแชมพู อาจทาให้ เกิดการระคายเคืองตาและผิวหนัง หากเกิดอาการหลังจากใช้
ผลิตภัณฑ์ควรหยุดใช้ ทนที ผงข้ นคือ sodium chloride เพิ่มความเข้ มข้ นในการทาสบู่เหลว น ้ายาล้ างจาน ผง
ั
ฟอง ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ของผงฟองคือ (SODIUM LAURYL SULFATE) ชื่อทางเคมีเรี ยกว่า EMAL 10P หรื อ
เอ็น 40 คือTexapon N 40 Sodium Laureth Sulfate มีความเข้ มข้ นประมาณ 40 เป็ นสารที่มีคณสมบัติลดแรง
ุ
ตึงผิวของน ้า ทาให้ เกิดฟองช่วยให้ สิ่งสกปรก คราบไขมันหลุดออกไปได้ ง่ายขึ ้น จึงเรี ยกง่ายๆ ว่ าเป็ น สารทา
ความสะอาด สารลดแรงตึงชนิดนี ้มีสวนเสียคือ มีฤทธิ์ทาให้ กระบวนการปองกันผิวและดูแลเส้ นผมตามธรรมชาติ
่
้
อ่อนแอลง เสียงต่อการระคายเคือง และหากกระบวนการผลิตมีการปนเปื อนก็อาจเป็ นสารก่อมะเร็ งได้
่
้
Comperlan KD
เป็ นสารเคมีที่ใช้ เพิ่มความเข้ มข้ นของน ้ายาต่างๆและมีคณสมบัติในการเพิ่มฟองซึงตัว Comperlan KD
ุ
่
นันต่างจากสารเพิ่มฟองอื่นๆที่ฟองที่ได้ เป็ นเนื ้อละเอียด
้
สรุ ปผลการทดลอง
หลักการพืนฐานในการผลิตสบู่ธรรมชาติ
้
สบูผลิตขึ ้นจากส่วนผสมพื ้นฐาน 3 อย่าง คือ น ้า ด่าง(โซดาไฟ) และไขมัน เมื่อด่างผสมกับน ้า เป็ นสารละลาย
่
ด่างถูกนาไปผสมกับไขมัน ได้ ผลผลิตเป็ นสบูธรรมชาติซงเป็ นส่วนผสมของ สบู่ 5 ส่วนและกลีเซอรี น 1 ส่วน ใน
่
ึ่
สบูธรรมชาติ กลีเซอรี นที่เกิดขึ ้นจะยังคงอยูในสบู่ มีคณสมบัตเิ พิ่มความชุ่มชื ้น และทาให้ ผิวพรรณนุมนวล ซึง
่
่
ุ
่
่
กระบวนการที่จะแนะนาในการผลิตสบูธรรมชาติในที่นี ้ เป็ นกระบวนการผลิตแบบเย็น (cold process method )
่
ซึงเป็ นหลักการพื ้นฐานในการผลิตสบู่
่
สบู่ธรรมชาติ( Real Soap ) เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดไขมัน กับ สารละลายด่าง เกิดเป็ นสบู่ ก็คือเกลือของ
กรดไขมัน กับ กลีเซอรี น (glycerine) เป็ นผลพลอยได้ เรี ยกขบวนการนี ้ว่า Sponification ดังสมการ
กรดไขมัน + สารละลายด่าง = เกลือ (สบู)
่
+ กลีเซอรี น
Fatty acid (oil) + Base (lye) = “A Salt” (soap) + glycerine
เอกสารอ้ างอิง
อังคนา วิชิต.เอกสารประกอบการสอน SOAP&LIQUID SOAP: วิทยาศาสตร์ เครื่ องสาอาง2.
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย. 2556.
อังคนา วิชิต.เอกสารประกอบการปฏิบัตการที่ 2 การเตรี ยมสูตรตารั บผลิตภัณฑ์ ทาความ
ิ
สะอาดผิวกาย (skin cleanser): วิทยาศาสตร์ เครื่ องสาอาง2. คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย. 2556.
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2539). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเครื่องสาอาง: ข้ อกาหนด
ทั่วไป. มอก. 152-2539.:มาตรฐานสบู่ ถูตัว. มอก. 29-2545. กรุงเทพฯ: สานักงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม.
ุ
ข้ อมูลสารค้ นหาจาก www.google.com ตามแนบท้ ายสารแต่ละชนิด ทังหมดเข้ าถึงเมื่อ: 23
้
กันยายน 2556

More Related Content

What's hot

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
Gwang Mydear
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
Pat Pataranutaporn
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Thanyamon Chat.
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลว
kasetpcc
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
adriamycin
 
9789740330110
97897403301109789740330110
9789740330110
CUPress
 
ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...
thongdeenok
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
Nattawoot Boonmee
 
Lipstick production process
Lipstick production processLipstick production process
Lipstick production process
Trung Milanô
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
Dnavaroj Dnaka
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
BELL N JOYE
 
Extraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeExtraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from Coffee
BELL N JOYE
 

Viewers also liked (20)

การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลว
 
รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก
 
สารลดแรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิวสารลดแรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิว
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุมคู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
 
9789740330110
97897403301109789740330110
9789740330110
 
ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
Lipstick production process
Lipstick production processLipstick production process
Lipstick production process
 
Rainbow lipstick
Rainbow lipstickRainbow lipstick
Rainbow lipstick
 
เคร องสำอาง6-26-38
เคร  องสำอาง6-26-38เคร  องสำอาง6-26-38
เคร องสำอาง6-26-38
 
Chapter 3 Biological Molecules
Chapter 3  Biological  MoleculesChapter 3  Biological  Molecules
Chapter 3 Biological Molecules
 
Proteins and nucleic acids
Proteins  and nucleic acidsProteins  and nucleic acids
Proteins and nucleic acids
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
Oil
OilOil
Oil
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
 
Toxico for extern
Toxico for externToxico for extern
Toxico for extern
 
Extraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeExtraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from Coffee
 

Similar to รายงานแลป สบู่(Soap) 2556

Similar to รายงานแลป สบู่(Soap) 2556 (7)

อบรมคอม
อบรมคอมอบรมคอม
อบรมคอม
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เบส
เบสเบส
เบส
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
LOC
LOCLOC
LOC
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

รายงานแลป สบู่(Soap) 2556

  • 1. ปฏิบัติการที่ 2 การเตรียมสูตรตารับผลิตภัณฑ์ ทาความสะอาดผิวกาย (skin cleanser) สบู่ สบู่ เป็ นสิงที่ใช้ ในการทาความสะอาดร่างกาย เช่น การอาบน ้า การล้ างมือ สบูจะช่วยละลายไขมัน ทา ่ ่ ให้ การชาระล้ างสะอาดมากขึ ้น สบู่ก้อน คือส่วนผสมระหว่างกรด (ไขมัน) กับเบส (ด่าง) ในอัตราส่วนที่ทาให้ สามารถทาความสะอาดได้ ดี และไม่เป็ นอันตรายต่อผิว คือมีคา pH อยูระหว่าง 8-10 (ในเอกสารจดแจ้ งของ อย.ให้ ผ้ ผลิตสบูก้อนระบุวามี ่ ่ ู ่ ่ ค่า ph ไม่เกิน 11) กรดหรื อกรดไขมัน เช่นน ้ามันพืช ไขมันสัตว์ เบส เช่นโซดาไฟ โดยทัวไปอัตราส่วนผสมที่ ่ เหมาะสมคือเมื่อผสมกันแล้ วควรจะเหลือกรดไขมันอยูประมาณ 5% หากไม่มีเครื่ องมือในการวัดค่า pH ให้ เก็บ ่ สบูเ่ อาไว้ อย่างน้ อย 15-30 วัน เพือให้ คา pH ลดลง อยูในอัตราที่เหมาะสม ่ ่ ่ กรด (ไขมัน) และเบส (ด่ าง) ที่นามาทาสบู่ ไขมันแต่ละชนิดประกอบด้ วยกรดไขมันมากกว่า 1 ชนิด ตามธรรมชาติกรดไขมันเหล่านี ้จะไม่อยูอิสระ แต่รวมตัวกับสารกลีเซอรอลในไขมันอยูในรูปกลีเซอไรด์ เมื่อด่าง ่ ่ ทาปฏิกิริยากับกรดไขมัน กรดไขมันจะหลุดออกจากกลีเซอไรด์ รวมตัวเป็ นสบู่ สารที่เกาะอยูกบกรดไขมันก็จะ ่ ั หลุดออกมาเป็ นกลีเซอรี น ปฏิกิริยาของ กรดไขมันแต่ละชนิดเมื่อรวมตัวกับด่างแล้ ว จะให้ สบูที่มีคณสมบัติ ่ ุ แตกต่างกัน เช่น กรดลอริ ก (lauric acid) มีมากในน ้ามันมะพร้ าว เป็ นกรดไขมันที่ทาปฏิกิริยากับด่างแล้ วให้ สาร ที่มีฟองมาก เป็ นต้ น คุณสมบัติของสบูที่ได้ จากกรดไขมันต่างชนิดกัน ่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. น ้ามันมะพร้ าว สบูที่ผลิตได้ มีเนื ้อแข็ง กรอบ แตกง่าย สีขาวข้ น มีฟองมากเป็ นครีม ให้ ฟองทีคงทน ่ ่ พอควร เมื่อใช้ แล้ วทาให้ ผิวแห้ ง น ้ามันปาล์ม ให้ สบูที่แข็งเล็กน้ อย มีฟองน้ อย ฟองคงทนอยูนาน มีคณสมบัติในการชะล้ างได้ ดี แต่ทา ่ ่ ุ ให้ ผิวแห้ ง น ้ามันราข้ าว ให้ วิตามินอีมาก ทาให้ สบูมีความชุ่มชื ้น บารุงผิว ช่วยลดความแห้ งของผิว ่ น ้ามันถัวเหลือง เป็ นน ้ามันทีเ่ ข้ าได้ ดีกบน ้ามันอื่น ให้ ความชุมชื ้น รักษาผิว แต่เก็บไว้ ได้ ไม่นาน มีกลิน ่ ั ่ ่ หืนง่าย น ้ามันงา เป็ นน ้ามันที่ให้ วิตามินอี และให้ ความชุมชื ้น รักษาผิว แต่มีกลินเฉพาะตัว ่ ่ น ้ามันมะกอก ทาให้ ได้ สบูที่แข็งพอสมควร ใช้ ได้ นาน มีฟองเป็ นครี มนุมนวลมาก ให้ ความชุมชื ้น ไม่ทา ่ ่ ่ ให้ ผิวแห้ ง น ้ามันละหุง ช่วยทาให้ สบูมีฟองขนาดเล็กจานวนมาก ทาให้ สบูเ่ ป็ นเนื ้อเดียวกันดี สบูไม่แตก ทาให้ สบู่ ่ ่ ่ มีความนุมเนียน และช่วยให้ ผิวนุม ่ ่ น ้ามันเมล็ดทานตะวัน ทาให้ สบูนมขึ ้น แต่ฟองน้ อย ่ ุ่ ไขมันวัว จะได้ สบูที่มีเนื ้อแข็งสีขาวอายุการใช้ งานนานมีฟองน้ อย ทนนาน แต่นมนวล ่ ุ่
  • 2. 10. ไขมันหมู จะได้ สบูที่มีเนื ้อแข็ง อายุการใช้ งานนาน ฟองน้ อย แต่ทนนาน ่ 11. ขี ้ผึ ้ง ได้ สบูเ่ นื ้อแข็ง อายุการใช้ งานนาน ฟองน้ อย แต่ทนนาน 12. ไขมันแพะ ได้ สบูเ่ นื ้อนุม ได้ ความชุ่มชื ้นแก่ผิว ผิวนุมเนียน ่ ่ เบส (ด่าง) ทีใช้ มี 3 ชนิด คือ ่ 1. 2. 3. ขี ้เถ้ า ใช้ ในการผลิตสบูในสมัยโบราณ ปั จจุบนมีการพัฒนาใช้ เป็ นด่างแทน ่ ั โซดาไฟ หรื อโซเดียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้ สบูก้อนแข้ ง ่ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้ สบูเ่ หลว สบู่ คือ เกลือโซเดียมของกรดไขมัน มีสตรโครงสร้ างทัวไปคือ ู ่ โครงสร้ างของสบู่ โมเลกุลของสบู่ ประกอบด้ วย 2 ส่วน ได้ แก่ 1.) ส่วนที่ไม่มีขว เป็ นด้ านของไฮโดรคาร์ บอน ั้ 2.) ส่วนที่มีขว เป็ นด้ านของโซเดียมคาร์ บอกซิเลต (-COO-Na+) ั้ สบูที่ดีควรมีจานวน C อะตอมในหมู่ R พอเหมาะ จะเป็ นสบูที่ละลายน ้าได้ ดี ่ ่ ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ เรี ยกว่า ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (Saponification) เป็ นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไขมันและน ้ามันด้ วยเบส เกิดเกลือของกรดไขมัน (สบู) กับกลีเซอรอล ่ ดังนี ้
  • 3. กระบวนการผลิตสบูในอุตสาหกรรมทาได้ โดยผสมไขมันหรื อน ้ามันกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ่ และให้ ความร้ อนโดยการผ่านไอน ้าลงไปในสารผสมเป็ นเวลา 12 – 24 ชัวโมง จากนันจึงเติมโซเดียมคลอไรด์ลง ่ ้ ไปเพื่อแยกสบูออกจากสารละลาย ทาสบูให้ บริ สทธิ์ ผสมน ้าหอมหรื อสีลงไปเพื่อให้ ได้ กลินหรื อสีตามที่ต้องการ ่ ่ ุ ่ แล้ วทาให้ เป็ นก้ อนเพือจาหน่ายต่อไป ่ กลีเซอรอลซึงเป็ นผลพลอยได้ จากกระบวนการทาสบูจะแยกออกจากสารละลายและนาไปใช้ ประโยชน์ ่ ่ ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง พลาสติก และใช้ เป็ นสารให้ รสหวานในอาหารหรื อยา ชนิดของสบู่ สบูมีหลายชนิดขึ ้นอยูกบส่วนผสมที่ใช้ โดยทัวไปจะมีคาความเป็ นกรด-ด่าง (pH) อยูระหว่าง 9.0-10.0 ่ ่ ั ่ ่ ่ 1.) สบูก้อน (Hard soap) ลักษณะเป็ นก้ อนสีขาวหรื อเทาขาวเมือเวลาแห้ งและเย็น มีโซดาเป็ นส่วนประกอบหลัก ่ ่ และมีเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน ใช้ สาหรับภายนอกเท่านัน ้ 2.) สบูชนิดอ่อน (soft soap) ลักษณะคล้ ายน ้าผึ ้งหรื อเยลลี่ (Jelly) สีเหลืองใสทาด้ วยน ้ามันมะกอกและโซดา ่
  • 4. 3.) สบูเ่ หลว (liquid soap) มีสวนผสมของเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน และอาจมีสวนผสมของน ้ามันมะกอก ่ ่ เมล็ดถัว เมล็ดฝ้ าย ่ 4.) ซินเดท (synndet) เป็ นสบูที่มสวนผสมของสาร ที่ให้ ความชุ่มชื ้นกับผิวหนัง ่ ี ่ นอกจากนี ้ อาจมีสบูชนิดต่างๆ ซึงจะมีสวนประกอบแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์การใช้ เช่น สบูยา ่ ่ ่ ่ ที่มีสวนผสมของไทรโคลซาน (triclosan) และไทรโคคาร์ บอน (trichocarbon) ซึงมีฤทธิ์ยบยังฤทธิ์ของแบคทีเรีย ่ ่ ั ้ สบูทมีสวนผสมของ lanolin เพื่อทาให้ มความชุมชื ้นมากขึ ้นซึงการเลือกใช้ สบูก็ขึ ้นอยูกบลักษณะของผิวหนังและ ่ ี่ ่ ี ่ ่ ่ ่ ั วัตถุประสงค์ของการใช้ การทางานของสบู่ เมื่อสบูละลายน ้า จะแตกตัวให้ ไอออนบวกและไอออนลบ ส่วนที่เป็ นไอออนลบจะเป็ นตัวทีใช้ ชาระล้ างสิงต่างๆได้ ่ ่ ่ โดยหันด้ านที่มขวละลายในน ้าทีล้อมรอบ และด้ านที่ไม่มีขวล้ อมรอบหยดน ้ามันและสิงสกปรก ทาให้ สงสกปรก ี ั้ ่ ั้ ่ ิ่ นันหลุดออกมาและแพร่กระจายอยูในน ้าในรูปของอิมลชัน สบูจึงใช้ ทาความสะอาดได้ ้ ่ ั ่ สบู่กับน้ากระด้ าง นากระด้ าง เป็ นน ้าที่ประกอบด้ วย Fe2+, Mg2+ และ Ca2+ ของHCO3-, Cl- และ SO42้ Mg2+ และ Ca2+ จะเข้ าไปแทนที่ Na+ ในสบู่ ทาให้ เกิดสารประกอบที่ไม่ละลายน ้าลอยขึ ้นมาเป็ นฝาอยู่ ้ บนผิวน ้าเรี ยกว่า “ไคลสบู่”
  • 5. เนื่องจากสบูจะเกิดตะกอนไอออนในน ้ากระด้ างทาให้ เกิดการสิ ้นเปลืองในการใช้ สบู่ จึงได้ มี การสังเคราะห์สาร ่ อื่นใช้ ชาระล้ างซักฟอกได้ เช่นเดียวกับสบู่ สารสังเคราะห์นนก็คอ ผงซักฟอก ซึงไม่ตกตะกอนในน ้ากระด้ าง ั้ ื ่ ข้ อควรระวังในการทาสบู่  อุปกรณ์ที่ใช้ ในการผลิตสบูหลายๆอย่างหาได้ จากในครัว แต่ต้องจาไว้ วาเมื่อนามาผลิตสบูแล้ วจะนามา ่ ่ ่ ปรุงอาหารอื่นๆไม่ได้ อก และเนื่องจากโซเดียมไฮดรอกไซด์จะทาปฏิกิริยากับอลูมเิ นียม ดีบก สังกะสี ี ุ และโลหะอื่นๆ จึงไม่ควรนามาใช้ ในการผลิตสบู่ เนื่องจากสามารถออกฤทธิ์ในการกัดทาลายโลหะได้ ในการผสมส่วนผสมต่างๆลงในภาชนะนี ้ต้ องระมัดระวังมากเป็ นพิเศษ  อย่ าเทนาลงในโซเดียมไฮดรอกไซด์ ให้ คอยๆเทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน ้า เพราะเมือโซเดียม ้ ่ ่ ไฮดรอกไซด์ถกผสมกับน ้าที่อณหภูมิปกติ อุณหภูมิจะเพิมขึ ้นทันทีทนใดจนเกือบถึง 100 องศา ู ุ ่ ั เซลเซียส หรื อประมาณ 90 – 95 องศาเซลเซียส ถ้ าเทน ้าลงในโซเดียมไฮดรอกไซด์อาจทาให้ เกิด “จุด ร้ อนแรง” ( hot spot ) ซึงสามารถหลอมละลายภาชนะได้ หรื ออาจเกิดการระเบิดได้ จึงควรค่อยๆเท ่ โซเดียม ไฮดรอกไซด์ลงในน ้า  อย่าใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในภาชนะอลูมิเนียม เนื่องจากจะกัดอลูมิเนียม  ขณะที่ทาการผลิตสบูควรสวมถุงมือยางและรองเท้ า หากใส่เสื ้อผ้ าปกปิ ดผิวหนังได้ มากที่สดจะเป็ นการ ่ ุ ดี ใส่ผ้าปิ ดจมูกหรื อว่าตาก็จะดีมาก  อย่าให้ เด็กๆหรื อสัตว์เลี ้ยงอยูใกล้ ๆขณะใช้ โซเดียมไฮเดียมไฮดรอกไซด์ ่  อย่าสูดไอระเหยของโซเดียมไฮดรอกไซด์ ควรผลิตสบูในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ ดี ่  ควรมีน ้าส้ มสายชูไว้ ใกล้ ๆ เพื่อทาให้ โซเดียมไฮดรอกไซด์ซงเป็ นด่างมีความเป็ นกลางจะได้ ไม่กดกร่อน ึ่ ั หากกระเด็นถูกผิวหน้ าหรื อร่างกาย หลังจากล้ างด้ วยน ้าส้ มสายชูแล้ วให้ ล้างด้ วยน ้าเย็นออกให้ หมด  หากเกิดอุบตเิ หตุกลืนกินโซเดียมไฮดรอกไซด์ ให้ รีบดื่มนมแล้ วรี บนาส่งโรงพยาบาลโดยด่วน ั  เก็บโซเดียมโฮดรอกไซด์ไว้ ในที่ปลอดภัยจากมือเด็กและไม่ควรเปิ ดถุงไว้ ปิ ดให้ สนิท และเก็บไว้ ใน ภาชนะที่มีฝาปิ ดมิดชิดอีกชันหนึง ้ ่
  • 6. การคานวณสูตรสบู่ สบูเ่ กิดจากการทาปฏิกริยาระหว่างไขมัน ด่างและน ้า ที่อณหภูมิที่เหมาะสมดังสมการ ุ ไขมัน + สารละลายด่าง è สบู่ + กลีเซอลีน 1. ขันตอนการตังสูตรสบู่ เริ่ มจากการเลือกชนิดของไขมันหรื อน ้ามันที่จะใช้ ทาสบู่ ไขมันหรื อ ้ ้ น ้ามันแต่ละชนิดจะทาให้ ได้ สบูทมีคณสมบัติที่แตกต่างกัน ในการทาสบูแต่ละครังสามารถ ่ ี่ ุ ่ ้ เลือกใช้ น ้ามันเพียงชนิดเดียว หรือหลายชนิดรวมกันก็ได้ เพื่อให้ ได้ สบูที่มีคณสมบัติตามที่ ่ ุ ต้ องการ ส่วนปริ มาณของน ้ามันที่จะใช้ ผลิตสบู่ ก็ขึ ้นอยูกบว่าจะผลิตสบูมากน้ อยเพียงใด ่ ั ่ 2. ด่างทีจะใช้ ในการทาสบูแข็ง จะใช้ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ส่วนปริ มาณของด่างทีจะใช้ ่ ่ ่ ขึ ้นอยูกบค่า Saponification ของน ้ามันแต่ละชนิด ค่า Saponification คือ ปริ มาณของด่างที่ ่ ั ทาปฏิกริ ยาพอดีกบไขมัน (หนัก 1 กรัม) ั ค่ า Saponification หรือปริมาณของด่ างที่ทาปฏิกริยาพอดีกับไขมันชนิดต่ าง ๆ (ไขมันหนัก 1 กรัม) ไขมันหรือนามัน (1 กรัม) ้ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ไขมันวัว 0.1292 ไขมันหมู 0.1276 น ้ามันมะพร้ าว 0.169 น ้ามันปาล์ม 0.1306 น ้ามันมะกอก 0.1246 น ้ามันราข้ าว 0.1233 น ้ามันเมล็ดทานตะวัน 0.1256 น ้ามันถัวเหลือง ่ 0.1246 น ้ามันละหุง ่ 0.1183 น ้ามันงา 0.1266 น ้ามันข้ าวโพด 0.126 ขี ้ผึ ้ง 0.0617
  • 7. ตัวอย่ าง  ถ้ าใช้ น ้ามันมะพร้ าว 300 กรัม จะใช้ NaOH = 0.169 x 300 = 50.7 กรัม  ถ้ าใช้ น ้ามันปาล์ม 300 กรัม จะใช้ NaOH = 0.13 x 300 = 39 กรัม  ถ้ าใช้ น ้ามันงา 400 กรัม จะใช้ NaOH = 0.126 x 400 = 50.4 กรัม ดังนันถ้ าใช้ น ้ามัน 3 ชนิด (น ้ามันมะพร้ าว 300 กรัม น ้ามันปาล์ม 300 กรัม น ้ามันงา 400 กรัม) ้ รวมกันเป็ น 1,000 กรัม จะต้ องใช้ NaOH เท่ากับ 50.7 + 39 + 50.4 เท่ากับ140.1 กรัม 3. น ้า ที่ใช้ ละลาย ด่างควรเป็ นน ้าฝน น ้าประปา หรื อน ้ากรอง ไม่ควรใช้ น ้าบ่อ หรื อน ้าบาดาล ปริ มาณน ้าทีใช้ ละลายด่าง หาได้ จากสูตรดังต่อไปนี ้ ่ น ้าหนัก = (น ้าหนักด่าง x 3.33) - น ้าหนักด่าง จากตัวอย่าง = (140.1 x 3.33) - 140.1 = 326.43 กรัม น ้าหนักน ้าทีใช้ ละลายด่างจากตัวอย่าง คือ 326.43 ก ่ การผลิตสบูโดยทัวไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม มอก. 29-2545 เรื่ อง สบูถตว กาหนดว่า ่ ่ ุ ่ ู ั ส่วนประกอบส่วนใหญ่ของ สบูถตว คือไขมัน โดยกาหนดปริ มาณไม่น้อยกว่า 76.5 % w/w และไฮดรอกไซด์ ่ ู ั อิสระ(คานวณเป็ น sodium oxide) กาหนดไม่เกิน 0.05 % w/w ยกเว้ นสบูเ่ ด็กและสบูสงเคราะห์มีได้ ไม่เกิน 0.01 ่ ั % w/w โดยทัวไปความเป็ นกรด-ด่างของสบูถตวจะอยูในช่วง 9 ถึง 10 ยกเว้ นสบูบางสูตรที่มี สารให้ ความชุ่ม ่ ่ ู ั ่ ่ ชื ้นเป็ นส่วนประกอบในปริ มาณสูงจะมีคาความเป็ นกรด-ด่าง ไม่เกิน 7 ่ สบูถตวใช้ เพื่อทาความสะอาดร่างกาย เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ แล้ ล้างออก จัดเป็ นเครื่ องสาอางทัวไปตาม ่ ู ั ่ ประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติเครื่ องสาอาง พ.ศ. 2535 เรื่ อง กาหนดชื่อ ประเภท ชนิด หรื อลักษณะของ เครื่ องสาอางที่มการควบคุมฉลากและประกาศคณะกรรมการ ี เครื่ องสาอาง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2536) เรื่ องฉลากของเครื่ องสาอางกาหนดว่าฉลากของเครื่ องสาอางทัวไปอย่าง ่ น้ อยต้ องระบุชื่อเครื่ องสาอาง ประเภท ชื่อส่วน ประกอบสาคัญ ชื่อและที่ตงของผลิต /นาเข้ า วันเดือนปี ที่ผลิต ั้ วิธีใช้ เครื่ องสาอาง ปริ มาณสุทธิ และคาเตือนเกี่ยวกับ อันตรายทีอาจเกิดขึ ้นต่ออนามัยของบุคคล (ถ้ ามี) ซึง ่ ่ ผู้บริ โภคควรอ่านฉลากและปฏิบติตามวิธีใช้ และคาเตือนเพื่อความปลอดภัยของผู้บริ โภค ั
  • 8. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ นกศึกษารู้จกและทราบถึงหน้ าที่ของส่วนประกอบใยสูตรตารับผลิตภัณฑ์ทาความ ั ั สะอาดผิวกายชนิดต่างๆ 2. เพื่อให้ นกศึกษาสามารถเตรี ยมสูตรจารับด้ วยเทตนิตทีถกต้ องและเหมาะสม ั ่ ู อุปกรณ์ 1. Beaker 2. Sterring rod 3. Droper 4. Carbopol ETD 2020 5. Triethanolamine 6. Texapon N40 7. Plantacare 1200 UP 8. Glucopon 215 UP 9. Comperlan KD 10. Glycerin 11. Citric acid 12. น ้ามันมะพร้ าว, น ้ามันมะกอก 13. Sodium hydroxide 14. Potassium hydroxide
  • 9. วิธีการทดลอง ตารับที่ 1.1 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ ทาความสะอาดผิวกาย 50 กรัม Formula(%w/w) working formula Phase A Water,sufficient to make 100.0 50.0 Glycerin 3.0 1.5 Carbopol ETD2020 (2%w/w) 0.5 12.5 Triethanolamine q.s. Phase B Phase C Texapon N40 50.0 25.0 Comperlan KD 10.0 5.0 Scrub 0.2 0.1 Perfume q.s. Color q.s. Phase D
  • 10. การคานวณ 1. Water Master Formula 100%w/w ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 100x 50/100 เท่ากับ 50 กรัม 2. Glycerin Master Formula 3%w/w ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 3x 50/100 เท่ากับ 1.5 กรัม 3. Carbopol ETD2020 Master Formula 0.5%w/w ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ0.5x 50/100 เท่ากับ 0.25 กรัม *ห้ องปฏิบติการมี Carbopol ETD2020 (2%w/w) ั ดังนัน มี Carbopol ETD2020 2 กรัม ในสารสะลาย 100 กรัม ้ ต้ องการ Carbopol ETD2020 0.25 กรัม ใช้ สารละลาย 12.5 กรัม 4. Texapon N40 Master Formula 50%w/w ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 50x 50/100 เท่ากับ 25 กรัม 5. Comperlan KD Master Formula 10%w/w ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 10x 50/100 เท่ากับ 5 กรัม 6. Scrub Master Formula 0.2%w/w ถ้ า 50 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 0.2x 50/100 เท่ากับ 0.1 กรัม วิธีทา 1. 2. 3. 4. 5. 6. ชังสาร ตามสูตรตารับทังหมด ตาม Working Formula ่ ้ ผสมสารใน phase A ลงใน Carbopol ETD2020 ที่เตรี ยมไว้ ใน Beaker Neutralize Carbopol ETD2020 ด้ วย phase B จนกระทังได้ เจลใส (pH ประมาณ 6-7) ่ เท phase C ลงในข้ อ 3 พร้ อมกวนผสมเบาๆ ด้ วย stirring rod ระวังอย่าให้ เกิดฟองมากเกิน ใส่ phase D ลงในข้ อ 4 กวนผสมเบาๆให้ เข้ ากัน บรรจุในภาชนะ
  • 11. ตารับที่ 1.3 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ สบู่ก้อน 20 กรัม Formula(%w/w) working formula Phase A น ้ามันมะพร้ าว 100.0 20.00 Sodium hydroxide 16.92 3.39 Water 35.00 7.00 Perfume q.s. Color q.s. Phase B การคานวณ 1. Water Master Formula 35.00 ถ้ าใช้ น ้ามันมะพร้ าว 100 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 20x 35/100 เท่ากับ 7 กรัม 2. Sodium hydroxide Master Formula 3%w/w ใช้ น ้ามันมะพร้ าว 100 กรัม คิดเป็ น Working Formula คือ 16.25x 20/100 เท่ากับ 3.39 กรัม วิธีทา 1. 2. 3. 4. 5. 6. ชังสาร ตามสูตรตารับทังหมด ตาม Working Formula ่ ้ ละลาย sodium hydroxide จากนัน ใหอุณหภูมิประมาณ 60 องศา ้ นาน ้ามะพร้ าวให้ ความร้ อนประมาณ 60 องศา เท สารละลายข้ อ 1 ลงในข้ อ 2 คนผสมไปเรื่ อยๆ จนสบูจบตัวเหนียวข้ น ่ั เติมน ้าหอม และ แต่งสี เทใส่แม่พมพ์ ทิ ้งไว้ ให้ เย็นจนสบูแข๊ งตัว ( 1-7 วัน) แกะออกจากพิมพ์ ิ ่
  • 12. ผลการทดลอง ตารับที่ 1.2 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ ทาความสะอาดผิวกาย 50 กรัม ในการเตรี ยมสูตรผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดผิวกาย 50 กรัม ในขันตอนการเท phase C ลง ้ ในข้ อ 3 และขันตอนใส่ phase D ลงในข้ อ 4 ต้ องกวนผสมเบาๆให้ เข้ ากันด้ วย stirring rod ระวังอย่าให้ เกิดฟอง ้ มากเกิน เนื่องจาก Texapon N40 มีคณสมบัติลดแรงตึงผิวของน ้า ทาให้ เกิดฟอง ผลิตภัณฑ์ที่ได้ จะเกิดฟองมาก ุ เกินไป แต่เมื่อทิ ้งไว้ ในภาชนะบรรจุระยะเวลาหนึง ฟองจะหายไป ได้ ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นเจลใสเป็ นเนื ้อเดียวกัน เนื ้อ ่ สัมผัสจะมีลกษณะนุม ลืน และมีเนื ้อสัมผัสเม็ดกลมแข็งจาก scrub ั ่ ่ รูปที่ 1 ตารับที่ได้ ก่อนแต่ งสี รูปที่ 2 pH ของตารับที่วัดได้ รูปที่ 3 ตารับหลังแต่ งสี ตารับที่ 1.3 เตรียมสูตรผลิตภัณฑ์ สบู่ก้อน 20 กรัม หลังจากดาเนินการทดลองตามขันตอนแล้ ว ปรากฏว่า น ้ามันมะพร้ าว สามารถผลิตสบูที่มีคณสมบัติ ้ ่ ุ ในการชาระล้ างได้ ดี มีฟองนุม และ ลักษณะเป็ นก้ อน ทึบแสง สีขาว มีความมันเล็กน้ อย กลินหอมน ้ามันมะพร้ าว ่ ่ และทาการวัด pH ได้ ประมาณ 7 สบูมีความแข็งที่พอเหมาะไม่เหลวจนเกินไป ่ สรุ ปผล และข้ อเสนอแนะ คณะผู้จดทาได้ ทดลองและดาเนินการผลิตสบูน ้ามันมะพร้ าว แล้ วสรุปผลและอภิรายผล ดังนี ้ ั ่ สรุ ปผล 1. สบูน ้ามันมะพร้ าวนาไปใช้ มีคณสมบัติในการชาระล้ างได้ ดี ่ ุ 2. รูปลักษณ์หลังแกะออกจากแม่พิมพ์ มีลกษณะน่าใช้ ไม่เหลวหรื อร่วนจนเกินไป กลินหอม น่าใช้ ั ่
  • 13. ข้ อเสนอแนะ 1. ควรมีการทดลองเปรี ยบเทียบการใช้ ไขมันชนิดต่าง ๆ 2. ควรศึกษาการทาสบูจากด่างและกรดไขมันแต่หลากหลายมากขึ ้น ่ ที่ 1 ตารับที่ได้ ก่อนทาให้ เย็น รูปที่ 2 pH ของตารับที่วดได้ ั รูปที่ 3 ตารับหลังทาให้ เย็น คุณสมบัตของสารในตารับ ิ Carbopol ETD2020 INCI Name Acrylates/C10-30 Alkyl Acrylate Crosspolymer ทาหน้ าที่ สารก่อเจล Ref:http://ge-iic.com/files/fichas%20productos/Carbopol_Ultrez_21_hoja_tecnica.pdf Triethanolamine INCI Name Triethanolamine ทาหน้ าที่ สารคุณสมบัติเป็ นด่าง ปรับ pH และทาให้ เจลใส Ref:www.makingcosmetics.com/msds1/msds-triethanolamine.pdf‎ Glycerin INCI Name Glycerin ทาหน้ าที่ สารให้ ความหนืดในตารับ และชุ่มชื ้นแก่ผิว Ref:http://www.newdirectionsaromatics.ca/msds/MSDS_GlycerinVegetableUSP.pdf Texapon N 40 INCI Name SODIUM LAURETH SULFATE ทาหน้ าที่ สารลดแรงตึงผิวประจุลบ Ref:http://www.cosming.com/SearchDetails/Cosming/0/500219/texapon-n-40-is/_en
  • 14. Comperlan KD INCI Name Cocamide DEA ทาหน้ าที่ สารเพิ่มฟองและสารทาให้ ข้น Ref:http://products.cognis.com/data/basf-pcan/pds2/pds2web.nsf/A3351433B2263D42C125765700419693/$File/COMPERLAN_r_KD_E.pdf Sodium hydroxide INCI Name Sodium Hydroxide ทาหน้ าที่ ด่างอ่อน ใช้ ทาปฏิกิริยากับกรดไขมันในปฏิกิริยาSaponificatio Ref:http://www.saffireblue.ca/shop/resource-center/msds-index/sodium-hydroxide-pearlsmsds น ้ามันมะพร้ าว INCI Name Coconut Oil (Cocos nucifera) ทาหน้ าที่ กรดไขมัน ใช้ ทาปฏิกิริยากับด่างเพื่อทาสบู่ในปฏิกิริยาSaponificatio Ref:http://agbangakarite.com/msds_coconutoil.php Scrub ทาหน้ าที่ สารเม็ดละเอียดช่วยขัดผิวกาย Triethanolamine (TEA) สารเคมีชนิดนี ้พบมากในเครื่ องสาอางจาพวกบอดี ้ โลชัน แชมพู โฟมโกนหนวด เจล สบู่ และครี มบารุ ง ่ รอบดวงตา กับหน้ าที่ในการปรับค่า pH ไม่ให้ เป็ นกรด-ด่าง มากเกินไป ซึงหากร่ างกายได้ รับในปริ มาณน้ อยก็ไม่ ่ เกิดอันตราย แต่หากสะสมในปริ มาณมาก อาจทาให้ ผิวเกิดการระคายเคืองได้ อย่างไรก็ดี หญิงตังครรภ์ควรเลียง ้ ่ เพราะเป็ นสารเคมีที่มีผลต่อทารกในครรภ์ในช่วงพัฒนาการทางสมอง Glycerin กลีเซอรอล (glycerol) อาจเรี ยกว่า กลีเซอรี น (glycerineหรื อglycerin ) มีโครงสร้ างโมเลกุลเป็ นโพลิ ออล (polyol) เป็ นสารที่เป็ นของเหลว ใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีรสหวานเล็กน้ อย (ความหวานสัมพัทธ์ 60) ใน โมเลกุลมีหมูไฮดรอกซิล (-OH) 3 หมู่ จึงทาให้ ละลายน ้าได้ ดี มีสมบัติในการจับกับน ้าได้ ดี (hydroscopic) กลีเซ ่ อรอลเป็ นส่วนประกอบหลักในโมเลกุลของไตรกลีเซอร์ ไรด์ (triglyceride) ซึ่งได้ จากการรวมตัวของกลี เซอรอล กับกรดไขมัน (fatty acid) 3 โมเลกุล
  • 15. Texapon N40 หรื อ หัวสบู่, หัวแชมพู, Sodium Lauryl Ether Sulfate, SLES, Surfactant,สารลดแรงตึงผิว, Sodium laureth sulfate sodium lauryl ether sulfate (SLES) หรื อ sodium laurethsulfate เป็ นสารทาให้ เกิดฟอง มักใช้ ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด และแชมพู อาจทาให้ เกิดการระคายเคืองตาและผิวหนัง หากเกิดอาการหลังจากใช้ ผลิตภัณฑ์ควรหยุดใช้ ทนที ผงข้ นคือ sodium chloride เพิ่มความเข้ มข้ นในการทาสบู่เหลว น ้ายาล้ างจาน ผง ั ฟอง ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ของผงฟองคือ (SODIUM LAURYL SULFATE) ชื่อทางเคมีเรี ยกว่า EMAL 10P หรื อ เอ็น 40 คือTexapon N 40 Sodium Laureth Sulfate มีความเข้ มข้ นประมาณ 40 เป็ นสารที่มีคณสมบัติลดแรง ุ ตึงผิวของน ้า ทาให้ เกิดฟองช่วยให้ สิ่งสกปรก คราบไขมันหลุดออกไปได้ ง่ายขึ ้น จึงเรี ยกง่ายๆ ว่ าเป็ น สารทา ความสะอาด สารลดแรงตึงชนิดนี ้มีสวนเสียคือ มีฤทธิ์ทาให้ กระบวนการปองกันผิวและดูแลเส้ นผมตามธรรมชาติ ่ ้ อ่อนแอลง เสียงต่อการระคายเคือง และหากกระบวนการผลิตมีการปนเปื อนก็อาจเป็ นสารก่อมะเร็ งได้ ่ ้ Comperlan KD เป็ นสารเคมีที่ใช้ เพิ่มความเข้ มข้ นของน ้ายาต่างๆและมีคณสมบัติในการเพิ่มฟองซึงตัว Comperlan KD ุ ่ นันต่างจากสารเพิ่มฟองอื่นๆที่ฟองที่ได้ เป็ นเนื ้อละเอียด ้ สรุ ปผลการทดลอง หลักการพืนฐานในการผลิตสบู่ธรรมชาติ ้ สบูผลิตขึ ้นจากส่วนผสมพื ้นฐาน 3 อย่าง คือ น ้า ด่าง(โซดาไฟ) และไขมัน เมื่อด่างผสมกับน ้า เป็ นสารละลาย ่ ด่างถูกนาไปผสมกับไขมัน ได้ ผลผลิตเป็ นสบูธรรมชาติซงเป็ นส่วนผสมของ สบู่ 5 ส่วนและกลีเซอรี น 1 ส่วน ใน ่ ึ่ สบูธรรมชาติ กลีเซอรี นที่เกิดขึ ้นจะยังคงอยูในสบู่ มีคณสมบัตเิ พิ่มความชุ่มชื ้น และทาให้ ผิวพรรณนุมนวล ซึง ่ ่ ุ ่ ่ กระบวนการที่จะแนะนาในการผลิตสบูธรรมชาติในที่นี ้ เป็ นกระบวนการผลิตแบบเย็น (cold process method ) ่ ซึงเป็ นหลักการพื ้นฐานในการผลิตสบู่ ่ สบู่ธรรมชาติ( Real Soap ) เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดไขมัน กับ สารละลายด่าง เกิดเป็ นสบู่ ก็คือเกลือของ กรดไขมัน กับ กลีเซอรี น (glycerine) เป็ นผลพลอยได้ เรี ยกขบวนการนี ้ว่า Sponification ดังสมการ กรดไขมัน + สารละลายด่าง = เกลือ (สบู) ่ + กลีเซอรี น Fatty acid (oil) + Base (lye) = “A Salt” (soap) + glycerine
  • 16. เอกสารอ้ างอิง อังคนา วิชิต.เอกสารประกอบการสอน SOAP&LIQUID SOAP: วิทยาศาสตร์ เครื่ องสาอาง2. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย. 2556. อังคนา วิชิต.เอกสารประกอบการปฏิบัตการที่ 2 การเตรี ยมสูตรตารั บผลิตภัณฑ์ ทาความ ิ สะอาดผิวกาย (skin cleanser): วิทยาศาสตร์ เครื่ องสาอาง2. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย. 2556. กระทรวงอุตสาหกรรม. (2539). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเครื่องสาอาง: ข้ อกาหนด ทั่วไป. มอก. 152-2539.:มาตรฐานสบู่ ถูตัว. มอก. 29-2545. กรุงเทพฯ: สานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม. ุ ข้ อมูลสารค้ นหาจาก www.google.com ตามแนบท้ ายสารแต่ละชนิด ทังหมดเข้ าถึงเมื่อ: 23 ้ กันยายน 2556