SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
และ เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ซักล้าง นายพัชร  กุลโกวิท  ม .6/3  ว 2 นายภิฏฐา  สุรพัฒน์  ม .6/6  ว 2
สบู่ ผงซักฟอก เครื่องสำอาง โครงสร้างสบู่ ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ ชนิดของสบู่ การทำงานของสบู่ โครงสร้างผงซักฟอก ปฏิกิริยาการเกิดผงซักฟอก ส่วนประกอบของผงซักฟอก ผลเสียจากการใช้ผงซักฟอก การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ ความหมายของเครื่องสำอาง กำเนิดและวิวัฒนาการ ประเภทของเครื่องสำอาง ส่วนประกอบของเครื่องสำอาง สารบัญ GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
สบู่
สบู่  คือ เกลือโซเดียมของกรดไขมัน มีสูตรโครงสร้างทั่วไปคือ  โครงสร้างของสบู่ โมเลกุลของสบู่   ประกอบด้วย   2   ส่วน   ได้แก่ 1.)   ส่วนที่ไม่มีขั้ว   เป็นด้านของไฮโดรคาร์บอน 2.)   ส่วนที่มีขั้ว   เป็นด้านของโซเดียมคาร์บอกซิเลต (-COO - Na + ) สบู่ที่ดีควรมีจำนวน  C   อะตอมในหมู่  R   พอเหมาะ จะเป็นสบู่ที่ละลายน้ำได้ดี  ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ปฏิกิริยาการเกิดสบู่   เรียกว่า ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน  (Saponification)   เป็นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไขมันและน้ำมันด้วยเบส  เกิดเกลือของกรดไขมัน  ( สบู่ )  กับกลีเซอรอล  ดังนี้  ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
กระบวนการผลิตสบู่ในอุตสาหกรรมทำได้โดยผสมไขมันหรือน้ำมันกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ และให้ความร้อนโดยการผ่านไอน้ำลงไปในสารผสมเป็นเวลา  12 – 24   ชั่วโมง จากนั้นจึงเติมโซเดียมคลอไรด์ลงไปเพื่อแยกสบู่ออกจากสารละลาย ทำสบู่ให้บริสุทธิ์ ผสมน้ำหอมหรือสีลงไปเพื่อให้ได้กลิ่นหรือสีตามที่ต้องการ แล้วทำให้เป็นก้อนเพื่อจำหน่ายต่อไป กลีเซอรอลซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการทำสบู่จะแยกออกจากสารละลายและนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง พลาสติก และใช้เป็นสารให้รสหวานในอาหารหรือยา ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ชนิดของสบู่   สบู่มีหลายชนิดขึ้นอยู่กับส่วนผสมที่ใช้   โดยทั่วไปจะมีค่าความเป็นกรด - ด่าง   (pH)   อยู่ระหว่าง   9.0-10.0   1.)   สบู่ก้อน   (Hard soap)   ลักษณะเป็นก้อนสีขาวหรือเทาขาวเมื่อเวลาแห้งและเย็น   มีโซดาเป็นส่วนประกอบหลัก   และมีเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน   ใช้สำหรับภายนอกเท่านั้น   2.)   สบู่ชนิดอ่อน   (soft soap)   ลักษณะคล้ายน้ำผึ้งหรือเยลลี่   (Jelly)   สีเหลืองใสทำด้วยน้ำมันมะกอกและโซดา   ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
3.)   สบู่เหลว   (liquid soap)   มีส่วนผสมของเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน   และอาจมีส่วนผสมของน้ำมันมะกอก   เมล็ดถั่ว   เมล็ดฝ้าย   4.)   ซินเดท   (synndet)   เป็นสบู่ที่มีส่วนผสมของสาร  ที่ให้ความชุ่มชื้นกับผิวหนัง   นอกจากนี้   อาจมีสบู่ชนิดต่างๆ   ซึ่งจะมีส่วนประกอบแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์การใช้ เช่น   สบู่ยาที่มีส่วนผสมของไทรโคลซาน   (triclosan)   และไทรโคคาร์บอน   (trichocarbon)   ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งฤทธิ์ของแบคทีเรีย   สบู่ที่มีส่วนผสมของ  lanolin   เพื่อทำให้มีความชุ่มชื้นมากขึ้นซึ่งการเลือกใช้สบู่ก็ขึ้นอยู่กับลักษณะของผิวหนังและวัตถุประสงค์ของการใช้ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
เมื่อสบู่ละลายน้ำ จะแตกตัวให้ไอออนบวกและไอออนลบ ส่วนที่เป็นไอออนลบจะเป็นตัวที่ใช้ชำระล้างสิ่งต่างๆได้ โดยหันด้านที่มีขั้วละลายในน้ำที่ล้อมรอบ และด้านที่ไม่มีขั้วล้อมรอบหยดน้ำมันและสิ่งสกปรก ทำให้สิ่งสกปรกนั้นหลุดออกมาและแพร่กระจายอยู่ในน้ำในรูปของอิมัลชัน  สบู่จึงใช้ทำความสะอาดได้ การทำงานของสบู่ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
สบู่กับน้ำกระด้าง น้ำกระด้าง  เป็นน้ำที่ประกอบด้วย  Fe 2+ , Mg 2+   และ   Ca 2+   ของ HCO 3 - , Cl -   และ   SO 4 2-   Mg 2+   และ   Ca 2+   จะเข้าไปแทนที่  Na +   ในสบู่ ทำให้เกิดสารประกอบที่ไม่ละลายน้ำลอยขึ้นมาเป็นฝ้าอยู่บนผิวน้ำเรียกว่า  “ ไคลสบู่ ” เนื่องจากสบู่จะเกิดตะกอนไอออนในน้ำกระด้างทำให้เกิดการสิ้นเปลืองในการใช้สบู่ จึงได้มี การสังเคราะห์สารอื่นใช้ชำระล้างซักฟอกได้เช่นเดียวกับสบู่ สารสังเคราะห์นั้นก็คือ ผงซักฟอก ซึ่งไม่ตกตะกอนในน้ำกระด้าง ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ผงซักฟอก
ผงซักฟอก   คือ เกลือโซเดียมซัลโฟเนตของสารไฮโดรคาร์บอน มีสมบัติชำระล้างสิ่งสกปรกทั้งหลายได้เช่นเดียวกับสบู่  มีสูตรโครงสร้างทั่วไป คือ  โครงสร้างของผงซักฟอก โมเลกุลประกอบด้วย  2   ส่วน ได้แก่ 1.)   ส่วนที่ไม่มีขั้ว เป็นด้านของไฮโดรคาร์บอน 2.)   ส่วนที่มีขั้ว เป็นด้านของโซเดียมซัลโฟเนต ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
1.)  ส่วนที่ไม่มีขั้วเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดโซ่ตรงทั้งหมด ผงซักฟอกชนิดนี้ จุลินทรีย์ในน้ำสามารถย่อยสลายได้อย่างสมบูรณ์ ถ้ามีออกซิเจนอยู่ในน้ำอย่างเพียงพอ ก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาวะแวดล้อมได้น้อย 2.)  ส่วนที่ไม่มีขั้วเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดโซ่ตรงเกือบทั้งหมด มีโซ่กิ่งและเบนซีนบ้าง จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายผงซักฟอกได้เป็นส่วนใหญ่ เหลือตกค้างอยู่บ้าง ก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาวะแวดล้อมได้ 3.)   ส่วนที่ไม่มีขั้วเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดโซ่กิ่งเป็นส่วนใหญ่ และมีเบนซีน ระบบเอนไซม์ของจุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายได้ จึงก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาวะแวดล้อมมาก โดยผงซักฟอกที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน   จะมีโครงสร้างแตกต่างกันในส่วนที่ไม่มีขั้ว ดังนี้ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ปฏิกิริยาการเกิดผงซักฟอก 2.)   ผลิตภัณฑ์ของสารปิโตรเลียมทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ดังสมการ  1.)   แอลกอฮอล์โซ่ยาวทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ดังสมการ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
1. )   สารลดแรงตึงผิว เป็นพวกสารอินทรีย์ ทำหน้าที่เป็นตัวละลายไขมัน ช่วยลดแรงตึงผิวของน้ำ ทำให้น้ำซึมเข้าไปสัมผัสกับสิ่งสกปรกต่าง ๆ ได้ จึงสามารถชำระล้างสิ่งสกปรกออกมาได้ทั้งในน้ำกระด้างและน้ำธรรมดา สารนี้ต้องเป็นสารเคมีประเภทมีประจุลบ  (anionic)   ประจุบวก  (cationic)   หรือไม่มีประจุ  (nonionic )  ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือผสมกัน  ส่วนประกอบของผงซักฟอก  ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ในกรณีที่เป็นสารเคมีประเภทมีประจุลบ ต้องไม่เป็นแอลคิลเบนซีนซัลโฟเนตที่มีโครงสร้างแบบกิ่ง  (branched alkylbenzene   sulphonate)   ตัวอย่างเช่นโซเดียมแอลคิลอะริลซัลโฟเนต  (sodium alkyl aryl sulphonate)   ส่วนสารลดแรงตึงผิวประเภทมีประจุบวก เช่น เซทิลไตรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด์ (cetyl trimethyl   ammonium bronide)   และสารลดแรงตึงผิวประเภทไม่มีประจุ เช่น   เอทิลินออกไซด์คอนเดนเซตออฟแอลคิลแฟตตีแอลกอฮอล์  (ethylene oxide condonsatc of alkyl fatty alcohols)   สารเหล่านี้เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำหน้าที่ชำระล้างสิ่งสกปรก ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
2. )   สารลดความกระด้างของน้ำ เช่น โซเดียม ไตรโพลีฟอสเฟต  (sodium   tripolyphosphare, STPP)   โซเดียมไพโรฟอสเฟต  (sodium   pyrophosphate)   เกลือของกรดไนทริโลไตรแอซีติค  (nitrilotriacetic acid, NTA)   เกลือของกรดเอทิลีนไดแอมีนเททระ แอซีติก (ethylenediamine   tetrac e tic acid, EDTA)   สารใดสารหนึ่ง หรือผสมกัน สารพวกนี้ไม่ช่วยให้สิ่งสกปรกหลุดออกจากเสื้อผ้าหรือจากของใช้โดยตรง แต่ทำหน้าที่เสริมประสิทธิภาพของสารลดแรงตึงผิว โดยทำให้น้ำเป็นด่างเหมาะแก่การปฏิบัติงานของผงซักฟอก ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
สารลดความกระด้างมีหน้าที่ช่วยแก้ความกระด้างของน้ำ เนื่องจากความกระด้างของน้ำ  Ca+2,   Mg+2)   จะรบกวนการทำงานของสารลดแรงตึงผิวที่จะดึงสิ่งสกปรกออกจากผ้า นอกจากนี้ สารลดความกระด้าง ยังช่วยควบคุมสมดุลของค่า ความเป็นกรดเป็นด่างให้อยู่ในระดับที่พอเหมาะ และคงที่ได้ด้วย สารลดความกระด้างมีหลายชนิด ตัวอย่างเช่น สารโซเดียมไตรโพลิฟอสเฟต สารทดแทนสารประกอบ  STPP 3 .)   สารรักษาระดับความเป็นด่าง  (alkaline buider)   เป็นสารที่รักษาระดับความเป็นด่างให้คงที่ตลอดช่วงการใช้งาน ได้แก่ โซเดียมซิลิเกต  (sodium silicatc)   โซเดียมคาร์บอเนต  (sodium carbonate)   โซเดียมเซสควิ - คาร์บอเนต  (sodium   sesquicarbonate)   สารใดสารหนึ่ง หรือผสมกัน ช่วยให้ผงซักฟอกไม่กัดภาชนะที่ใช้ซัก กันสนิม และช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพของสารลดแรงตึงผิว ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
4 .)   สารกันคราบคืน  (anti soil   redeposition agent)   เช่น โซเดียมคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส  (sodium   carboxymethyl cellulose)   เป็นตัวกันไม่ให้เกิดตะกอนขึ้นในระหว่างองค์ประกอบต่างๆ 5 .)   สารเพิ่มความสดใส  (optical brightening agent   of optical   brightener)   เป็นสารที่มีสมบัติดูดแสงอัลตราไวโอเลตไว้ ทำให้เกิดการเรืองแสงสะท้อนเข้าตาและทำให้เสื้อผ้าแลดูขาวนิยมใช้กันมากได้แก่  Stibene derivative ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ผลเสียที่เกิดจากการใช้ผงซักฟอก 1.)  มีการเติมสารจำพวกฟอสเฟตเช่น โซเดียมไตรพอลิฟอสเฟต ลงไปในผงซักฟอก เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำความสะอาดและลดความกระด้างของน้ำ สารฟอสเฟตที่ตกค้างอยู่ในน้ำทิ้งจากการซักล้าง เมื่อปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ จะทำให้พืชน้ำเจริญเติบโต รวดเร็ว ทำให้ขวางทางคมนาคมทางน้ำ ทำลายทัศนียภาพ ทำให้  O 2   ละลายลงสู่น้ำไม่ได้ เมื่อพืชน้ำตายจะเกิดการย่อยสลายซึ่งต้องใช้  o 2   ในน้ำมาก ทำให้สิ่งมีชีวิตขาด  O 2   และล้มตายได้ ทำให้น้ำขาด  O 2   เกิดปัญหาน้ำเน่าเสีย 2.)  ผงซักฟอกชนิดที่  C  อะตอม ใน  R   แตกกิ่งก้านสาขามาก จุลินทรีย์ในน้ำย่อยสลายไม่ได้ ทำให้เกิดปัญหาตกค้างในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในน้ำ เมื่อเข้าสู่ร่างกายของคนจะทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ สามารถทำได้โดย เติมสารละลายแอมโมเนียมโมลิบเดต  (NH 4 ) 2 MoO 4   ลงไปในน้ำตัวอย่าง จะเกิดตะกอนสีเหลืองดังสมการ 3NH 4 +   +  12MoO 4 2-  +  PO 4 3-  +  24H + (NH 4 ) 3 PO 4 .12MoO 3  +  12H 2 O ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
เครื่องสำอาง
เครื่องสำอาง เครื่องสำอาง   หมายถึง   ผลิตภัณฑ์สิ่งปรุงเพื่อใช้บนผิวหนัง   หรือส่วนใดส่วนหึ่งของร่างกาย   โดยใช้ทา   ถู   นวด   พ่น   หรือโรย   มีจุดประสงค์เพื่อทำความสะอาด   หรือส่งเสริมให้เกิดความสวยงาม   หรือเพื่อเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะ คำว่า   cosmetics   มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า   kosmetikos   ซึ่งมีความหมายว่า   ตกแต่งให้สวยงามเพื่อดึงดูดความสนใจจากผู้พบเห็น   (  คำว่า  komos แปลว่า   เครื่องประดับ )  โดยในสมัยแรกๆนั้น   ใช้เครื่องสำอางเนื่องจากความจำเป็น   เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมหรือธรรมชาติ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
กำเนิดและวิวัฒนาการ   เท่าที่ปรากฎในโบราณคดี   สันนิษฐานว่าคงมีการใช้เครื่องหอมในพิธีศาสนา   สำหรับบูชาพระเจ้าโดยการเผา   ใช้น้ำมันพืชทาตัวหรือใช้อาบศพเพื่อไม่ให้เน่าเปื่อย   มีการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันจากประเทศตะวันออก   และใช้เครื่องหอมนี้ไม่ต่ำกว่า   5000   ปี   เชื่อว่าอียิปต์เป็นชาติแรกที่รู้จักศิลปะการตกแต่งและการใช้เครื่องสำอางและแพร่ไปถึงแลสซีเรีย   บาบีโลน   เปอร์เซียและกรีก   เมื่อคราวที่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้ยกทัพเข้ายึดประเทศอียิปต์   ประเทศในยุโรปบางส่วน   ตลอดจนถึงกรีก   ทำให้ความรู้เรื่องเครื่องสำอางแพร่หลาย ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ศูนย์การของความเจริญอยู่ที่เมืองอเล็กซานเดรีย   จนถึงสมัยจูเลียส   ซีซาร์รบชนะกรีก   ก็ได้รับศิลปวิทยาการต่างๆมาจากกรีก   ศูนย์การของศิลปวิทยาการต่างๆได้ย้ายมาอยู่ที่กรุงโรม   มีการอาบน้ำหอม   ในระยะที่โรมันกำลังรุ่งเรือง   ซีซาร์ได้ยกกองทัพไปตีอียิปต์ซึ่งมีพระนางคลีโอพัตราเป็นราชินี   รู้จักวิธีการใช้ศิลปะการตกแต่งใบหน้าและร่างกาย   ทำให้การใช้เครื่องสำอางเป็นที่แพร่หลายยิ่งขึ้น   ในคริสต์ศตวรรษที่   2 Galen   บิดาแห่งเภสัชกรรม   กายวิภาค   อายุศาสตร์และปรัชญา   ได้ประดิษฐ์ coldcream ขึ้นเป็นครั้งแรก   ต่อมา   เมื่อจักรวรรดิโรมันอ่อนกำลังลง   ประเทศที่นำหน้าเรื่องเครื่องสำอางคือฝรั่งเศส   และมีสเปนเป็นคู่แข่ง ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ส่วนประกอบของเครื่องสำอาง 1.   หัวน้ำหอม      1.1   หัวน้ำหอมที่ได้จากธรรมชาติ      1.2   หัวน้ำหอมที่ได้จากการสังเคราะห์ 2.   ไขมัน         2.1   ไขมันที่ได้จากสัตว์หรือแมลง       2.2   ไขมันที่ได้จากพืช   2.3   ไขมันที่ได้จากน้ำมันแร่       2.4   ไขมันที่ได้จากการสังเคราะห์   ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
3.   น้ำมัน         3.1   น้ำมันที่ได้จากสัตว์       3.2   น้ำมันที่ได้จากพืช       3.3   น้ำมันที่ได้จากน้ำมันแร่       3.4   น้ำมันที่ได้จากการสังเคราะห์ 4.   ตัวทำละลาย       4.1   น้ำ       4.2   แอลกอฮอล์       4.3   เอสเทอร์       4.4   คีโตน 5.   สี   ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
เครื่องสำอางที่ใช้ในชีวิตประจำวัน   จำแนกเป็นประเภทตามวัตถุประสงค์ของการใช้เป็น   2   ประเภท   คือ 1.)   เครื่องสำอางประเภทบำรุงรักษา   ได้แก่   เครื่องสำอางที่ใช้ทำความสะอาด   และบำรุง รักษาผม   ใบหน้าและลำตัว 2. )   เครื่องสำอางประเภทเสริมแต่ง   ได้แก่   เครื่องสำอางที่ใช้เพื่อประโยชน์ในทางส่งเสริม ให้ผู้ใช้สวยงามขึ้นโดยช่วยแก้ไขจุดบกพร่อง   และเน้นส่วนที่ดีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
ประเภทของเครื่องสำอาง   1.   เครื่องสำอางสำหรับผม   ได้แก่ 1.1   แชมพู 1.2   น้ำยาโกรกผม 1.3   น้ำยาจัดลอนผม 1.4   น้ำยาดัดผม 1.5   สิ่งปรุงแต่งเพื่อกำจัดรังแค 1.6   สิ่งปรุงแต่งสีของเส้นผมและขน 1.7   สิ่งปรุงแต่งปรับสภาพเส้นผม 1.8   สิ่งปรุงแต่งทรงผม   ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
3.   เครื่องสำอางสำหรับใบหน้า   ได้แก่ 3.1   ครีม และโลชั่นล้างหน้า 3.2   สิ่งปรุงสมานผิว   และ สิ่งปรุงทำให้ผิวสดชื่น 3.3   สิ่งปรุงรองพื้น 3.4   สิ่งปรุงผัดหน้า 3.5   สิ่งปรุงแต่งตา 3.6   รูจ 3.7   ลิปสติก 3.8   อีโมเลียนต์ 2.   เครื่องสำอางแอโรซอล ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
4.   เครื่องสำอางสำหรับลำตัว   ได้แก่ 4.1   ครีม และโลชั่นทาผิว 4.2   ครีม และโลชั่นทามือ ทาตัว 4.3   สิ่งปรุงป้องกันแดด และ แต่งผิวให้คล้ำ 4.4   น้ำยาทาเล็บ และ น้ำยาล้างเล็บ 4.5   สิ่งปรุงระงับเหงื่อ และ กลิ่นตัว 5.   เครื่องหอม   ได้แก่ 5.1   น้ำหอม 5.2   ครีมหอม ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
6.   เบ็ดเตล็ด   ได้แก่ 6.1   สิ่งปรุงสำหรับทา โกน 6.2   สิ่งปรุงที่ทำให้สีผิวจาง และ ฟอกสีผิว 6.3   สิ่งปรุงผสมน้ำอาบ 6.4   ฝุ่นโรยตัว 6.5   สิ่งปรุงที่ทำให้ขนร่วง ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
จบการรายงานเพียงเท่านี้ครับ กลับหน้าแรก

More Related Content

What's hot

สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชPongsakorn Pc
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติlamphoei
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 

What's hot (20)

สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 

Viewers also liked

อบรมคอม
อบรมคอมอบรมคอม
อบรมคอมjubjub2520
 
Phosphorus And Calcium Cycle
Phosphorus And Calcium CyclePhosphorus And Calcium Cycle
Phosphorus And Calcium Cycleguest5d505f
 
ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...thongdeenok
 
Moghleag present
Moghleag presentMoghleag present
Moghleag presentOhzaa Oh
 
Lo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelchesLo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelchesluisreggiardo
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกadriamycin
 
สารลดแรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิวสารลดแรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิวJanesita Sinpiang
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556TODSAPRON TAWANNA
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationBELL N JOYE
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
Determination of hardness of water
Determination of hardness of waterDetermination of hardness of water
Determination of hardness of waterAnand Prithviraj
 

Viewers also liked (15)

อบรมคอม
อบรมคอมอบรมคอม
อบรมคอม
 
Phosphorus And Calcium Cycle
Phosphorus And Calcium CyclePhosphorus And Calcium Cycle
Phosphorus And Calcium Cycle
 
ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...ผงซักฟอก...
ผงซักฟอก...
 
Moghleag present
Moghleag presentMoghleag present
Moghleag present
 
Lo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelchesLo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelches
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
 
สารลดแรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิวสารลดแรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิว
 
Toxico for extern
Toxico for externToxico for extern
Toxico for extern
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
Determination of hardness of water?
Determination of hardness of water?Determination of hardness of water?
Determination of hardness of water?
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
water hardness
water hardnesswater hardness
water hardness
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Determination of hardness of water
Determination of hardness of waterDetermination of hardness of water
Determination of hardness of water
 

Similar to Oil

การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวkasetpcc
 
Namyem ^^
Namyem ^^Namyem ^^
Namyem ^^Yen Za
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรPornthip Nabnain
 
ผิวสวยด้วย Enummi 1
ผิวสวยด้วย Enummi 1ผิวสวยด้วย Enummi 1
ผิวสวยด้วย Enummi 14LIFEYES
 

Similar to Oil (12)

การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลว
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Namyem ^^
Namyem ^^Namyem ^^
Namyem ^^
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Enzyme
EnzymeEnzyme
Enzyme
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
 
ผิวสวยด้วย Enummi 1
ผิวสวยด้วย Enummi 1ผิวสวยด้วย Enummi 1
ผิวสวยด้วย Enummi 1
 
Chap8
Chap8Chap8
Chap8
 

Oil

  • 1. และ เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ซักล้าง นายพัชร กุลโกวิท ม .6/3 ว 2 นายภิฏฐา สุรพัฒน์ ม .6/6 ว 2
  • 2. สบู่ ผงซักฟอก เครื่องสำอาง โครงสร้างสบู่ ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ ชนิดของสบู่ การทำงานของสบู่ โครงสร้างผงซักฟอก ปฏิกิริยาการเกิดผงซักฟอก ส่วนประกอบของผงซักฟอก ผลเสียจากการใช้ผงซักฟอก การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ ความหมายของเครื่องสำอาง กำเนิดและวิวัฒนาการ ประเภทของเครื่องสำอาง ส่วนประกอบของเครื่องสำอาง สารบัญ GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO GO ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 4. สบู่ คือ เกลือโซเดียมของกรดไขมัน มีสูตรโครงสร้างทั่วไปคือ โครงสร้างของสบู่ โมเลกุลของสบู่ ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1.) ส่วนที่ไม่มีขั้ว เป็นด้านของไฮโดรคาร์บอน 2.) ส่วนที่มีขั้ว เป็นด้านของโซเดียมคาร์บอกซิเลต (-COO - Na + ) สบู่ที่ดีควรมีจำนวน C อะตอมในหมู่ R พอเหมาะ จะเป็นสบู่ที่ละลายน้ำได้ดี ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 5. ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ เรียกว่า ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (Saponification) เป็นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไขมันและน้ำมันด้วยเบส เกิดเกลือของกรดไขมัน ( สบู่ ) กับกลีเซอรอล ดังนี้ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 6. กระบวนการผลิตสบู่ในอุตสาหกรรมทำได้โดยผสมไขมันหรือน้ำมันกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ และให้ความร้อนโดยการผ่านไอน้ำลงไปในสารผสมเป็นเวลา 12 – 24 ชั่วโมง จากนั้นจึงเติมโซเดียมคลอไรด์ลงไปเพื่อแยกสบู่ออกจากสารละลาย ทำสบู่ให้บริสุทธิ์ ผสมน้ำหอมหรือสีลงไปเพื่อให้ได้กลิ่นหรือสีตามที่ต้องการ แล้วทำให้เป็นก้อนเพื่อจำหน่ายต่อไป กลีเซอรอลซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการทำสบู่จะแยกออกจากสารละลายและนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง พลาสติก และใช้เป็นสารให้รสหวานในอาหารหรือยา ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 7. ชนิดของสบู่ สบู่มีหลายชนิดขึ้นอยู่กับส่วนผสมที่ใช้ โดยทั่วไปจะมีค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 9.0-10.0 1.) สบู่ก้อน (Hard soap) ลักษณะเป็นก้อนสีขาวหรือเทาขาวเมื่อเวลาแห้งและเย็น มีโซดาเป็นส่วนประกอบหลัก และมีเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน ใช้สำหรับภายนอกเท่านั้น 2.) สบู่ชนิดอ่อน (soft soap) ลักษณะคล้ายน้ำผึ้งหรือเยลลี่ (Jelly) สีเหลืองใสทำด้วยน้ำมันมะกอกและโซดา ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 8. 3.) สบู่เหลว (liquid soap) มีส่วนผสมของเกลือโปแตสเซี่ยมของกรดไขมัน และอาจมีส่วนผสมของน้ำมันมะกอก เมล็ดถั่ว เมล็ดฝ้าย 4.) ซินเดท (synndet) เป็นสบู่ที่มีส่วนผสมของสาร ที่ให้ความชุ่มชื้นกับผิวหนัง นอกจากนี้ อาจมีสบู่ชนิดต่างๆ ซึ่งจะมีส่วนประกอบแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์การใช้ เช่น สบู่ยาที่มีส่วนผสมของไทรโคลซาน (triclosan) และไทรโคคาร์บอน (trichocarbon) ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งฤทธิ์ของแบคทีเรีย สบู่ที่มีส่วนผสมของ lanolin เพื่อทำให้มีความชุ่มชื้นมากขึ้นซึ่งการเลือกใช้สบู่ก็ขึ้นอยู่กับลักษณะของผิวหนังและวัตถุประสงค์ของการใช้ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 9. เมื่อสบู่ละลายน้ำ จะแตกตัวให้ไอออนบวกและไอออนลบ ส่วนที่เป็นไอออนลบจะเป็นตัวที่ใช้ชำระล้างสิ่งต่างๆได้ โดยหันด้านที่มีขั้วละลายในน้ำที่ล้อมรอบ และด้านที่ไม่มีขั้วล้อมรอบหยดน้ำมันและสิ่งสกปรก ทำให้สิ่งสกปรกนั้นหลุดออกมาและแพร่กระจายอยู่ในน้ำในรูปของอิมัลชัน สบู่จึงใช้ทำความสะอาดได้ การทำงานของสบู่ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 10. สบู่กับน้ำกระด้าง น้ำกระด้าง เป็นน้ำที่ประกอบด้วย Fe 2+ , Mg 2+ และ Ca 2+ ของ HCO 3 - , Cl - และ SO 4 2- Mg 2+ และ Ca 2+ จะเข้าไปแทนที่ Na + ในสบู่ ทำให้เกิดสารประกอบที่ไม่ละลายน้ำลอยขึ้นมาเป็นฝ้าอยู่บนผิวน้ำเรียกว่า “ ไคลสบู่ ” เนื่องจากสบู่จะเกิดตะกอนไอออนในน้ำกระด้างทำให้เกิดการสิ้นเปลืองในการใช้สบู่ จึงได้มี การสังเคราะห์สารอื่นใช้ชำระล้างซักฟอกได้เช่นเดียวกับสบู่ สารสังเคราะห์นั้นก็คือ ผงซักฟอก ซึ่งไม่ตกตะกอนในน้ำกระด้าง ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 12. ผงซักฟอก คือ เกลือโซเดียมซัลโฟเนตของสารไฮโดรคาร์บอน มีสมบัติชำระล้างสิ่งสกปรกทั้งหลายได้เช่นเดียวกับสบู่ มีสูตรโครงสร้างทั่วไป คือ โครงสร้างของผงซักฟอก โมเลกุลประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1.) ส่วนที่ไม่มีขั้ว เป็นด้านของไฮโดรคาร์บอน 2.) ส่วนที่มีขั้ว เป็นด้านของโซเดียมซัลโฟเนต ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 13. 1.) ส่วนที่ไม่มีขั้วเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดโซ่ตรงทั้งหมด ผงซักฟอกชนิดนี้ จุลินทรีย์ในน้ำสามารถย่อยสลายได้อย่างสมบูรณ์ ถ้ามีออกซิเจนอยู่ในน้ำอย่างเพียงพอ ก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาวะแวดล้อมได้น้อย 2.) ส่วนที่ไม่มีขั้วเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดโซ่ตรงเกือบทั้งหมด มีโซ่กิ่งและเบนซีนบ้าง จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายผงซักฟอกได้เป็นส่วนใหญ่ เหลือตกค้างอยู่บ้าง ก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาวะแวดล้อมได้ 3.) ส่วนที่ไม่มีขั้วเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดโซ่กิ่งเป็นส่วนใหญ่ และมีเบนซีน ระบบเอนไซม์ของจุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายได้ จึงก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาวะแวดล้อมมาก โดยผงซักฟอกที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน จะมีโครงสร้างแตกต่างกันในส่วนที่ไม่มีขั้ว ดังนี้ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 14. ปฏิกิริยาการเกิดผงซักฟอก 2.) ผลิตภัณฑ์ของสารปิโตรเลียมทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ดังสมการ 1.) แอลกอฮอล์โซ่ยาวทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ดังสมการ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 15. 1. )   สารลดแรงตึงผิว เป็นพวกสารอินทรีย์ ทำหน้าที่เป็นตัวละลายไขมัน ช่วยลดแรงตึงผิวของน้ำ ทำให้น้ำซึมเข้าไปสัมผัสกับสิ่งสกปรกต่าง ๆ ได้ จึงสามารถชำระล้างสิ่งสกปรกออกมาได้ทั้งในน้ำกระด้างและน้ำธรรมดา สารนี้ต้องเป็นสารเคมีประเภทมีประจุลบ (anionic) ประจุบวก (cationic) หรือไม่มีประจุ (nonionic ) ประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือผสมกัน ส่วนประกอบของผงซักฟอก ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 16. ในกรณีที่เป็นสารเคมีประเภทมีประจุลบ ต้องไม่เป็นแอลคิลเบนซีนซัลโฟเนตที่มีโครงสร้างแบบกิ่ง (branched alkylbenzene sulphonate) ตัวอย่างเช่นโซเดียมแอลคิลอะริลซัลโฟเนต (sodium alkyl aryl sulphonate) ส่วนสารลดแรงตึงผิวประเภทมีประจุบวก เช่น เซทิลไตรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด์ (cetyl trimethyl ammonium bronide) และสารลดแรงตึงผิวประเภทไม่มีประจุ เช่น เอทิลินออกไซด์คอนเดนเซตออฟแอลคิลแฟตตีแอลกอฮอล์ (ethylene oxide condonsatc of alkyl fatty alcohols) สารเหล่านี้เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำหน้าที่ชำระล้างสิ่งสกปรก ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 17. 2. ) สารลดความกระด้างของน้ำ เช่น โซเดียม ไตรโพลีฟอสเฟต (sodium tripolyphosphare, STPP) โซเดียมไพโรฟอสเฟต (sodium pyrophosphate) เกลือของกรดไนทริโลไตรแอซีติค (nitrilotriacetic acid, NTA) เกลือของกรดเอทิลีนไดแอมีนเททระ แอซีติก (ethylenediamine tetrac e tic acid, EDTA) สารใดสารหนึ่ง หรือผสมกัน สารพวกนี้ไม่ช่วยให้สิ่งสกปรกหลุดออกจากเสื้อผ้าหรือจากของใช้โดยตรง แต่ทำหน้าที่เสริมประสิทธิภาพของสารลดแรงตึงผิว โดยทำให้น้ำเป็นด่างเหมาะแก่การปฏิบัติงานของผงซักฟอก ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 18. สารลดความกระด้างมีหน้าที่ช่วยแก้ความกระด้างของน้ำ เนื่องจากความกระด้างของน้ำ Ca+2, Mg+2) จะรบกวนการทำงานของสารลดแรงตึงผิวที่จะดึงสิ่งสกปรกออกจากผ้า นอกจากนี้ สารลดความกระด้าง ยังช่วยควบคุมสมดุลของค่า ความเป็นกรดเป็นด่างให้อยู่ในระดับที่พอเหมาะ และคงที่ได้ด้วย สารลดความกระด้างมีหลายชนิด ตัวอย่างเช่น สารโซเดียมไตรโพลิฟอสเฟต สารทดแทนสารประกอบ STPP 3 .) สารรักษาระดับความเป็นด่าง (alkaline buider) เป็นสารที่รักษาระดับความเป็นด่างให้คงที่ตลอดช่วงการใช้งาน ได้แก่ โซเดียมซิลิเกต (sodium silicatc) โซเดียมคาร์บอเนต (sodium carbonate) โซเดียมเซสควิ - คาร์บอเนต (sodium sesquicarbonate) สารใดสารหนึ่ง หรือผสมกัน ช่วยให้ผงซักฟอกไม่กัดภาชนะที่ใช้ซัก กันสนิม และช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพของสารลดแรงตึงผิว ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 19. 4 .) สารกันคราบคืน (anti soil redeposition agent) เช่น โซเดียมคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (sodium carboxymethyl cellulose) เป็นตัวกันไม่ให้เกิดตะกอนขึ้นในระหว่างองค์ประกอบต่างๆ 5 .) สารเพิ่มความสดใส (optical brightening agent of optical brightener) เป็นสารที่มีสมบัติดูดแสงอัลตราไวโอเลตไว้ ทำให้เกิดการเรืองแสงสะท้อนเข้าตาและทำให้เสื้อผ้าแลดูขาวนิยมใช้กันมากได้แก่ Stibene derivative ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 20. ผลเสียที่เกิดจากการใช้ผงซักฟอก 1.) มีการเติมสารจำพวกฟอสเฟตเช่น โซเดียมไตรพอลิฟอสเฟต ลงไปในผงซักฟอก เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำความสะอาดและลดความกระด้างของน้ำ สารฟอสเฟตที่ตกค้างอยู่ในน้ำทิ้งจากการซักล้าง เมื่อปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ จะทำให้พืชน้ำเจริญเติบโต รวดเร็ว ทำให้ขวางทางคมนาคมทางน้ำ ทำลายทัศนียภาพ ทำให้ O 2 ละลายลงสู่น้ำไม่ได้ เมื่อพืชน้ำตายจะเกิดการย่อยสลายซึ่งต้องใช้ o 2 ในน้ำมาก ทำให้สิ่งมีชีวิตขาด O 2 และล้มตายได้ ทำให้น้ำขาด O 2 เกิดปัญหาน้ำเน่าเสีย 2.) ผงซักฟอกชนิดที่ C อะตอม ใน R แตกกิ่งก้านสาขามาก จุลินทรีย์ในน้ำย่อยสลายไม่ได้ ทำให้เกิดปัญหาตกค้างในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในน้ำ เมื่อเข้าสู่ร่างกายของคนจะทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 21. การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ สามารถทำได้โดย เติมสารละลายแอมโมเนียมโมลิบเดต (NH 4 ) 2 MoO 4 ลงไปในน้ำตัวอย่าง จะเกิดตะกอนสีเหลืองดังสมการ 3NH 4 + + 12MoO 4 2- + PO 4 3- + 24H + (NH 4 ) 3 PO 4 .12MoO 3 + 12H 2 O ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 23. เครื่องสำอาง เครื่องสำอาง หมายถึง ผลิตภัณฑ์สิ่งปรุงเพื่อใช้บนผิวหนัง หรือส่วนใดส่วนหึ่งของร่างกาย โดยใช้ทา ถู นวด พ่น หรือโรย มีจุดประสงค์เพื่อทำความสะอาด หรือส่งเสริมให้เกิดความสวยงาม หรือเพื่อเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะ คำว่า cosmetics มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า kosmetikos ซึ่งมีความหมายว่า ตกแต่งให้สวยงามเพื่อดึงดูดความสนใจจากผู้พบเห็น ( คำว่า komos แปลว่า เครื่องประดับ ) โดยในสมัยแรกๆนั้น ใช้เครื่องสำอางเนื่องจากความจำเป็น เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมหรือธรรมชาติ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 24. กำเนิดและวิวัฒนาการ เท่าที่ปรากฎในโบราณคดี สันนิษฐานว่าคงมีการใช้เครื่องหอมในพิธีศาสนา สำหรับบูชาพระเจ้าโดยการเผา ใช้น้ำมันพืชทาตัวหรือใช้อาบศพเพื่อไม่ให้เน่าเปื่อย มีการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันจากประเทศตะวันออก และใช้เครื่องหอมนี้ไม่ต่ำกว่า 5000 ปี เชื่อว่าอียิปต์เป็นชาติแรกที่รู้จักศิลปะการตกแต่งและการใช้เครื่องสำอางและแพร่ไปถึงแลสซีเรีย บาบีโลน เปอร์เซียและกรีก เมื่อคราวที่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้ยกทัพเข้ายึดประเทศอียิปต์ ประเทศในยุโรปบางส่วน ตลอดจนถึงกรีก ทำให้ความรู้เรื่องเครื่องสำอางแพร่หลาย ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 25. ศูนย์การของความเจริญอยู่ที่เมืองอเล็กซานเดรีย จนถึงสมัยจูเลียส ซีซาร์รบชนะกรีก ก็ได้รับศิลปวิทยาการต่างๆมาจากกรีก ศูนย์การของศิลปวิทยาการต่างๆได้ย้ายมาอยู่ที่กรุงโรม มีการอาบน้ำหอม ในระยะที่โรมันกำลังรุ่งเรือง ซีซาร์ได้ยกกองทัพไปตีอียิปต์ซึ่งมีพระนางคลีโอพัตราเป็นราชินี รู้จักวิธีการใช้ศิลปะการตกแต่งใบหน้าและร่างกาย ทำให้การใช้เครื่องสำอางเป็นที่แพร่หลายยิ่งขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 2 Galen บิดาแห่งเภสัชกรรม กายวิภาค อายุศาสตร์และปรัชญา ได้ประดิษฐ์ coldcream ขึ้นเป็นครั้งแรก ต่อมา เมื่อจักรวรรดิโรมันอ่อนกำลังลง ประเทศที่นำหน้าเรื่องเครื่องสำอางคือฝรั่งเศส และมีสเปนเป็นคู่แข่ง ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 26. ส่วนประกอบของเครื่องสำอาง 1. หัวน้ำหอม     1.1 หัวน้ำหอมที่ได้จากธรรมชาติ    1.2 หัวน้ำหอมที่ได้จากการสังเคราะห์ 2. ไขมัน     2.1 ไขมันที่ได้จากสัตว์หรือแมลง      2.2 ไขมันที่ได้จากพืช 2.3 ไขมันที่ได้จากน้ำมันแร่     2.4 ไขมันที่ได้จากการสังเคราะห์ ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 27. 3. น้ำมัน     3.1 น้ำมันที่ได้จากสัตว์     3.2 น้ำมันที่ได้จากพืช     3.3 น้ำมันที่ได้จากน้ำมันแร่     3.4 น้ำมันที่ได้จากการสังเคราะห์ 4. ตัวทำละลาย     4.1 น้ำ     4.2 แอลกอฮอล์     4.3 เอสเทอร์     4.4 คีโตน 5. สี ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 28. เครื่องสำอางที่ใช้ในชีวิตประจำวัน จำแนกเป็นประเภทตามวัตถุประสงค์ของการใช้เป็น 2 ประเภท คือ 1.) เครื่องสำอางประเภทบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องสำอางที่ใช้ทำความสะอาด และบำรุง รักษาผม ใบหน้าและลำตัว 2. ) เครื่องสำอางประเภทเสริมแต่ง ได้แก่ เครื่องสำอางที่ใช้เพื่อประโยชน์ในทางส่งเสริม ให้ผู้ใช้สวยงามขึ้นโดยช่วยแก้ไขจุดบกพร่อง และเน้นส่วนที่ดีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 29. ประเภทของเครื่องสำอาง 1. เครื่องสำอางสำหรับผม ได้แก่ 1.1 แชมพู 1.2 น้ำยาโกรกผม 1.3 น้ำยาจัดลอนผม 1.4 น้ำยาดัดผม 1.5 สิ่งปรุงแต่งเพื่อกำจัดรังแค 1.6 สิ่งปรุงแต่งสีของเส้นผมและขน 1.7 สิ่งปรุงแต่งปรับสภาพเส้นผม 1.8 สิ่งปรุงแต่งทรงผม ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 30. 3. เครื่องสำอางสำหรับใบหน้า ได้แก่ 3.1 ครีม และโลชั่นล้างหน้า 3.2 สิ่งปรุงสมานผิว และ สิ่งปรุงทำให้ผิวสดชื่น 3.3 สิ่งปรุงรองพื้น 3.4 สิ่งปรุงผัดหน้า 3.5 สิ่งปรุงแต่งตา 3.6 รูจ 3.7 ลิปสติก 3.8 อีโมเลียนต์ 2. เครื่องสำอางแอโรซอล ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 31. 4. เครื่องสำอางสำหรับลำตัว ได้แก่ 4.1 ครีม และโลชั่นทาผิว 4.2 ครีม และโลชั่นทามือ ทาตัว 4.3 สิ่งปรุงป้องกันแดด และ แต่งผิวให้คล้ำ 4.4 น้ำยาทาเล็บ และ น้ำยาล้างเล็บ 4.5 สิ่งปรุงระงับเหงื่อ และ กลิ่นตัว 5. เครื่องหอม ได้แก่ 5.1 น้ำหอม 5.2 ครีมหอม ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ
  • 32. 6. เบ็ดเตล็ด ได้แก่ 6.1 สิ่งปรุงสำหรับทา โกน 6.2 สิ่งปรุงที่ทำให้สีผิวจาง และ ฟอกสีผิว 6.3 สิ่งปรุงผสมน้ำอาบ 6.4 ฝุ่นโรยตัว 6.5 สิ่งปรุงที่ทำให้ขนร่วง ย้อนกลับ ถัดไป สารบัญ