SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นายเกรียงศักดิ์ กลั่นบุศย์เลขที่ ๑๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๓
เสนอ
นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ก
คำนำ
รายงานเรื่องประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโปรแกรม
สานักงานขั้นสูง จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ ประเภท ลักษณะ และ
ส่วนประกอบต่างๆของคอมพิวเตอร์
หวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้
ผู้จัดทา
ข
สำรบัญ
คำนำ ............................................................................................................................................. ก
สำรบัญ........................................................................................................................................... ข
สำรบัญภำพ......................................................................................................................................ค
ควำมหมำยและควำมเป็นมำ................................................................................................................. 1
กำรจำแนกคอมพิวเตอร์ตำมลักษณะ......................................................................................................... 1
แอนะล็อกคอมพิวเตอร์.................................................................................................................... 1
ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ........................................................................................................................ 1
กำรกำเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ............................................................................................. 2
เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค................................................................................................................ 4
ก่อกำเนิด ไมโครโปรเซสเซอร์ ............................................................................................................. 5
ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก.................................................................................................... 5
ลักษณะกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ......................................................................................................... 7
กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์............................................................................................................... 7
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................ 8
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ............................................................................... 8
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ.................................................................................................. 9
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ...............................................................................................................14
ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ..............................................................................................................14
หน่วยรับข้อมูล ( input unit ).......................................................................................................14
หน่วยควำมจำหลัก.......................................................................................................................14
ซอฟต์แวร์ (Software)...............................................................................................................15
บรรณำณุกรม......................................................................................................................................ง
ค
สำรบัญภำพ
ภำพที่ 1........................................................................................................................................... 2
ภำพที่ 2........................................................................................................................................... 3
ภำพที่ 3........................................................................................................................................... 4
ภำพที่ 4........................................................................................................................................... 4
ภำพที่ 5........................................................................................................................................... 6
ภำพที่ 6........................................................................................................................................... 8
ภำพที่ 7.......................................................................................................................................... 9
ภำพที่ 8.........................................................................................................................................10
ภำพที่ 9..........................................................................................................................................10
ภำพที่ 10.......................................................................................................................................10
ภำพที่ 11.......................................................................................................................................11
ภำพที่ 12.......................................................................................................................................11
ภำพที่ 13.......................................................................................................................................12
ภำพที่ 14.......................................................................................................................................12
ภำพที่ 15.......................................................................................................................................12
ภำพที่ 16.......................................................................................................................................13
ภำพที่ 17.......................................................................................................................................13
ภำพที่ 18.......................................................................................................................................14
ภำพที่ 19 ........................................................................................................................................14
ภำพที่ 20.......................................................................................................................................15
1
ควำมหมำยและควำมเป็นมำ
เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า คอมพิวเตอร์ ถ้าแปลกันตรงตัวตามคาภาษาอังกฤษ จะหมายถึงเครื่อง
คานวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่องคานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็
จัดเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือ
ประจาตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือเครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด
ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึงเครื่องคานวณ
อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและ
อัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้าง
กะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่
ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์
กำรจำแนกคอมพิวเตอร์ตำมลักษณะ
วิธีการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ
แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลข
เป็นหลักของการคานวณ แต่จะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าแทน ไม้บรรทัดคานวณ อาจถือเป็นตัวอย่างหนึ่ง
ของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ค่าตัวเลขตามแนวความยาวไม้บรรทัดเป็นหลักของการคานวณ โดยไม้
บรรทัดคานวณจะมีขีดตัวเลขกากับอยู่ เมื่อไม้บรรทัดหลายอันมรประกบรวมกัน การคานวณผล เช่น การ
คูณ จะเป็นการเลื่อนไม้บรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุดหนึ่ง แล้วไป
อ่านผลคูณของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่งแอนะล็อกคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์จะใช้หลักการทานอง
เดียวกัน โดยแรงดันไฟฟ้าจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไม้บรรทัด
ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน จัดเป็นดิจิทัล
คอมพิวเตอร์แทบทั้งหมด ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข มี
หลักการคานวณที่ไม่ใช่แบบไม้บรรทัดคานวณ แต่เป็นแบบลูกคิด โดยแต่และหลักของลูกคิดคือ หลักหน่วย
หลักร้อย และสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ เป็นระบบเลขฐานสินที่แทนตัวเลขจากศูนย์ถ้าเก้าไปสิบตัวตามระบบตัว
เลขที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
2
กำรกำเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย์ Howard Aiken แห่งมหาลัยวิทยาลัยฮาวาร์ด ได้พัฒนาเครื่องคานวณ ตาม
แนวคิด ของ Babbage ร่วมกับวิศวะกรของบริษัท IBM สร้างเครื่องคานวณตามความคิดของ Babbage ได้
สาเร็จ โดยเครื่องดังกล่าวทางานแบบเครื่องจักรกลปนไฟฟ้า และใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อในการนาเข้าข้อมูลสู่
เครื่องเพื่อทาการประมวลผล การพัฒนาดังกล่าวมาเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2487 โดยเครื่องมือนี้มีชื่อว่า MARK 1
และเนื่องจากเครื่องนี้สาเร็จได้จากการสนับสนุน ด้านการเงินและบุคลากรจากบริษัท IBM ดังนั้นจึงมีอีกชื่อ
หนึ่งว่า IBM Automatic Sequence Controlled Calculator และนับเป็นเครื่องคานวณแบบอัตโนมัติเครื่องแรก
ของโลก
ภำพที่ 1
พ.ศ. 2486 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกามีความจาเป็นที่
จะต้อง คิดค้นเครื่องช่วยคานวณ เพื่อใช้คานวณหาทิศทางและระยะทางในการส่งขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่อง
คานวณที่มี อยู่ในสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชั่วโมงในการคานวณ การยิง 1 ครั้ง ดังนั้นกองทัพจึงให้กอง
ทุนอุดหนุนแก่ John W. Mauchly และ Persper Eckert จากหมาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในการสร้าง
คอมพิวเตอร์ จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมา โดยนาหลอดสุญยากาศ (Vacuum Tube) จานวน 18,000
หลอด มาใช้ในการสร้าง ซึ่งมีข้อดีคือ ทาให้เครื่องมีความเร็ว และมีความถูกต้องแม่นยาในการคานวณมาก
ขึ้น ในด้านของความเร็วนั้น เครื่องจักกลมีความเฉื่อยของการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนประกอบ แต่คอมพิวเตอร์
อิเล็กทรอนิกส์ จะใช้อิเล็กตรอนเป็นตัวคลื่อนที่ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้าได้ ด้วยความเร็ว
ใกล้เคียงกับความเร็วของแสง ส่วนความถูกต้องแม่นยาในการทางานของเครื่องจักรกลอาศัยฟันเฟือง รอก
คาน ในการทางาน ทาให้ทางานได้ช้า และเเกิดความผิดพลดได้ง่าย
3
พ.ศ. 2489 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ Mauchly และ Eckert คิดค้นขึ้นได้มีชื่อว่า ENIAC ย่อมาจาก
(Electronic Numberical Integrater and Caculator) ประสบความสาเร็จในปี พ.ศ. 2489 ถึงแม้ว่าจะไม่ทันใช้
ในสงครามโลกครั้งที่สอง แต่ความเร็วในการตานวณของ ENIAC ทาให้วงการคอมพิวเตอร์ขณะนั้น ยอมรับ
ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ แต่อย่างไรก็ตาม ENIAC ทางานด้วยไฟฟ้าทั้งหมดทา
ให้ในการทางานแต่ละครั้งจึงทาให้เกิดความร้อนสูงมาก จาเป็นต้องติดตั้งไว้ในห้องที่มีเครือ่งปรับอากาศ
ด้วย นอกจากนี้ ENIAC ยังเก็บได้เฉพาะข้อมูลที่เป็นตัวเลขขนาด 10 หลัก และเก็บได้เพียง 20 จานวน
เท่านั้น ส่วนชุดคาสั่งนั้น ยังไม่สามารถเก็บไว้ในเครื่องได้ การส่งชุดคาสั่งเข้าเครื่องจะต้องใช้วิธีการเดิน
สายไฟสร้างวงจร ถ้ามีการแก้ไขโปรแกรม ก็ต้องมีการเดินสายไฟกันใหม่ ซึ่งใช้เวลาเป็นวัน
ภำพที่ 2
ความคิดต่อมาในการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นก็คือ การค้นหาวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ใน
เครื่อง เพื่อลดความยุ่งยาก ของขั้นตอนการป้ อนคาสั่งเข้าเครื่อง มีนักคณิตศาสตร์เชื้อสายฮังการเรียนชื่อ
Dr.John Von Neumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ ในหน่วยความจาของเครื่องเช่นเดียวกับการเก็บ
ข้อมูลและต่อวงจรไฟฟ้า สาหรับการคานวณ และการปฏิบัติการพื้นฐาน ไว้ให้เรียบร้อยภายในเครื่อง แล้ว
เรียกวงจรเหล่านี้ด้วยรหัสตัวเลขที่กาหนดไว้ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวความคิดนี้ได้แก่
EVAC (Electronic Ddiscreate Variable Automatic Computer) ซึ่งสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2492 และนามาใช้งาน
จริงในปี พ.ศ. 2494 และในเวลาใกล้เคียงกัน ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดส์ ประเทศอังกฤษ ได้มีการสร้าง
คอมพิวเตอร์มีลักษณะคล้ายกับเครื่อง EVAC และให้ชื่อว่า EDSAC (Electronic Delay Strorage Automatic
Caculator)
4
ภำพที่ 3
เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501 begin_of_the_skype_highlighting 2497-2501 end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้กระแสไฟฟ้า
จานวนมาก ทาให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I , IBM 600
ภำพที่ 4
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507 begin_of_the_skype_highlighting 2502-2507
end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรำนซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็น
หน่วยควำมจำ คอมพิวเตอร์มีขนำดเล็กกว่ำยุคแรก ต้นทุนต่ำกว่ำ ใช้กระแสไฟฟ้ ำและมีควำมแม่นยำมำกกว่ำ
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513 begin_of_the_skype_highlighting 2508-2513
end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสำรกึ่งตัวนำที่สำมำรถบรรจุวงจรทำงตรรกะไว้แล้ว
พิมพ์บนแผ่นซิลิกอน(Silicon) เรียกว่ำ "ชิป"
5
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523 begin_of_the_skype_highlighting 2514-2523
end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นกำรรวมวงจรไอซีจำนวนมำกลงในแผ่น
ซิลิกอนชิป 1 แผ่น สำมำรถบรรจุได้มำกกว่ำ 1 ล้ำนวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทำให้เกิดแนวคิดในกำรบรรจุวงจรที่สำคัญ
สำหรับกำรทำงำนพื้นฐำนของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่ำ "ไมโครโปรเชสเซอร์"
คอมพิวเตอร์ยคุที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นกำรพัฒนำไมโครโปรเซสเซอร์ให้มี
ประสิทธิภำพมำกขึ้น
ก่อกำเนิด ไมโครโปรเซสเซอร์
เมื่อก่อนนั้น Intel เป็นบริษัทผลิตชิปไอซี แห่งหนึ่งที่ไม่ใหญ่โตมำกนักเท่ำในปัจจุบัน เมื่อปี ค.ศ.1969 ได้สร้ำง
ควำมสะเทือน ให้กับวงกำรอิเล็คทรอนิคส์ โดยกำรออกชิปหน่วยควำมจำ(Memory)ขนำด 1 Kbyte มำเป็นรำยแรก
บริษัทบิสซิคอมพ์(Busicomp) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องคิดเลขของญี่ปุ่ญได้ทำกำรว่ำจ้ำงให้ Intel ทำกำรผลิตชิปไอซี
ที่บิสซิคอมพ์เป็นคนออกแบบเองที่มีจำนวน 12 ตัว โครงกำรนี้ถูกมอบหมำยให้นำย M.E. Hoff, Jr. ซึ่งเข้ำตัดสินใจที่จะใช้
วิธีกำรออกแบบชิปแบบใหม่ โดยสร้ำงชิปที่ให้ถูกโปรแกรมได้ หมำยถึงว่ำ สำมำรถนำเอำชุดคำสั่งของกำรคำนวณไปเก็บ
ไว้ใน หน่วยควำมจำก่อนแล้วให้ไอซีตัวนี้อ่ำนเข้ำมำแปล ควำมหมำย และทำงำนภำยหลัง
ในปี 1971 Intel ได้นำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลำด โดยใช้ชื่อทำงกำรค้ำว่ำ Intel 4004 ในรำคำ 200 เหรียญสหรัฐ
และเรียกชิปนี้ว่ำเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์(Micro Processor) ก็เพรำะว่ำ 4004 นี้เป็น CPU (Central Processing Unit)
ตัวหนึ่ง ซึ่งมีขนำด 4.2 X 3.2 มิลลิเมตร ภำยในประกอบด้วย ทรำนซิสเตอร์ จำนวน 2250 ตัว และเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์
ขนำด 4 บิต
หลังจำก 1 ปีต่อมำ Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ ขนำด 8 บิตออกมำโดยใช้ชื่อว่ำ 8008 มีชุดคำสั่ง 48 คำสั่ง
และอ้ำงหน่วยควำมจำได้ 16 Kbyte ซึ่งทำง Intel หวังว่ำจะเป็นตัวกระตุ้นตลำดทำงด้ำนชิปหน่วยควำมจำได้อีกทำงหนึ่ง
เมื่อปี 1973 ทำง Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ที่มีชุดคำสั่งพื้นฐำน 74 คำสั่งและสำมำรถอ้ำง
หน่วยควำมจำได้ 64 Kbyte
ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก
เมื่อปี 1975 มีนิตยสำรต่ำงประเทศฉบับหนึ่ง ชื่อว่ำ Popular Electronics ฉบับเดือน มกรำคม ได้ลงบทควำม
เกี่ยวกับเครื่อง ไมโครโปรเซสเซอร์ เครื่องแรกของโลกที่มีชื่อว่ำ อัลแตร์ 8800 (Altair) ซึ่งทำออกมำเป็นชุดคิท โดยบริษัท
6
MITS (Micro Insumentation And Telemetry Systems) ลักษณะของชุดคิท ก็คือ จะอยู่ในรูปของอุปกรณ์แต่ละชิ้น
โดยให้ คุณนำไปประกอบขึ้นใช้เอง
ภำพที่ 5
บริษัท MITS ถูกก่อตั้งเมื่อปี 1969 โดยมีจุดมุ่งหมำยเพื่อทำตลำดในด้ำนเครื่องคิดเลข แต่กำรค้ำชลอตัวลง
ประธำนบริษัท ชื่อ H. Edword Roberts เห็นกำรไกล คิดเปิดตลำดใหม่ซึ่งจะขำยชุดคิด คอมพิวเตอร์ ประมำณเอำไว้ว่ำ
อำจขำย ได้ในจำนวนปีล่ะประมำณ 200-300 ชุด จึงให้ทิมงำนออกแบบบและพัฒนำแล้วเสร็จก่อนถึงคริสต์มำส ในปี
1974 แต่เพิ่งมำ ประกำศตัวในปีถัดไป สำหรับ CPU ที่ใช้คือ 8080 และคำว่ำ ไมโครคอมพิวเตอร์ จึงถูกเรียกใช้เป็นครั้งแรก
เพื่อชุดคิทคอมพิวเตอร์ชุดนี้
ชุดคิทของ อัลแตร์ นี้ประกอบด้วย ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ของบริษัท Intel มี เพำเวอร์ซัพพลำย มีแผงหน้ำปัด
ที่ติดหลอดไฟ เป็นแถวมำให้เพื่อแสดงผล รวมถึงหน่วยควำมจำ 256 Byte ( แหม.. เหมือนของเล่นเรำในสมัยนี้ จังงง )
นอกนั้น ยังมี สล๊อต (Slot) ให้เสียบอุปกร์อื่น ๆ เพิ่มได้ แต่ก็ทำให้ MITS ต้องผิดคำด คือ ภำยใน เดือนเดียว มีจดหมำยส่ง
เข้ำมำขอสั่งซื้อเป็นจำนวนถึง 4,000 ชุดเลยทีเดียว
7
ด้วยชิป 8080 นี่เองได้เป็นแรงดลใจให้บริษัท ดิจิตอลรีเสิร์ช (Digital Research) กำเนิดระบบปฏิบัติกำร
(Operating System) ที่ชื่อว่ำ ซีพีเอ็ม(CP/M หรือ Control Program For Microcomputer) ขึ้นมำ ในขณะที่
Microsoft ยังเพิ่งออก Microsoft Basic รุ่นแรกเองน่ะ
ลักษณะกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์
ก็เหมือนกับสมองของคนเรำ คือ รับข้อมูลมำ แล้วนำข้อมูลไปประมวลผล หลังจำกนั้นก็จะแสดงผลออกมำ ซึ่ง
อำจกล่ำวได้ว่ำทุกส่วนนั้นมีกำรทำงำนที่สัมพันธ์กันเป็นกระบวนกำร โดยจะมีองค์ประกอบพื้นฐำนหลักก็คือ Input
Process และ Output ซึ่งมีขั้นตอนกำรทำงำนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : กำรรับข้อมูลและคำสั่ง (Input)คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคำสั่งเข้ำเครื่องผ่ำนทำงอุปกรณ์ชนิด
ต่ำงๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลที่จะป้ อนเข้ำไป เช่น ถ้ำเป็นกำรพิมพ์ข้อมูลจะใช้แป้ นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์
ข้อควำมหรือโปรแกรมเข้ำเครื่อง แต่ถ้ำเป็นกำรสแกนรูปภำพหรือข้อควำมเข้ำไปไว้ในเครื่องก็จะใช้สแกนเนอร์ (Scanner)
หรือถ้ำเป็นกำรเล่นเกมส์ก็จะมีก้ำนควบคุม (Joystick) สำหรับเคลื่อนตำแหน่งของกำรเล่นบนจอภำพ เป็นต้นขั้นตอนที่ 2 :
กำรประมวลข้อมูล (Process)หลังจำกนำข้อมูลเข้ำมำแล้วนั้น เครื่องก็จะนำข้อมูลหรือคำสั่งไปประมวลผล เพื่อให้ได้
ผลลัพธ์ตำมที่ต้องกำรขั้นตอนที่ 3 : กำรแสดงผลลัพธ์ (Output)เป็นกำรนำผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลมำแสดงผลให้
ทรำบ ซึ่งโดยทั่วไปจะแสดงผลผ่ำนทำงจอภำพ (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทำงกระดำษโดยใช้เครื่องพิมพ์
(Printer) เป็นต้น
กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์
ลักษณะกำรทำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วย (Units) ที่ทำหน้ำที่ต่ำงกัน 4 หน่วย คือ
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นตัวกลำงในกำรรับข้อมูลผ่ำนอุปกรณ์ชนิดต่ำง ๆ เช่น แป้ นพิมพ์
(Keyboard)และสแกนเนอร์ (Scanner) โดยพิมพ์หรือวำดรูป เข้ำไปในเครื่อง
2. หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit : CPU) เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ซึ่งจะ
ควบคุมกำรทำงำน ทั้งหมดของเครื่อง
3. หน่วยควำมจำ (Memory) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลต่ำง ๆ เครื่องไว้ ซึ่งมี 2 ชนิดคือ
3.1 ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยควำมจำหลักที่ทำหน้ำที่อ่ำนข้อมูลเพียงอย่ำงเดียว
3.2 RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยควำมจำรองที่ทำหน้ำที่ในกำรบันทึกข้อมูลไว้ชั่วครำวซึ่ง
หำกเรำปิดเครื่องจะทำให้ข้อมูลสูญหำยได้
8
4. หน่วยแสดงผล (Output) เป็นกำรนำผลลัพธ์ที่ผ่ำนกำรดำเนินกำรตำมกรรมวิธีจำกหน่วยควำมจำ แสดง
ออกมำในรูปแบบที่อ่ำนเข้ำใจได้ง่ำย อำจจะอยู่ในรูป รำยงำน ตำรำง กรำฟ หรือรูปภำพ โดยผ่ำนอุปกรณ์แสดงผล เช่น
เครื่องพิมพ์หรือจอภำพ เป็นต้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ภำพที่ 6
ด้วยควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีและเป็นยุคสำรสนเทศ ไม่ว่ำเรำจะทำอะไรก็สะดวกสบำยไปเสียหมด จะ
ติดตำมข่ำวสำรต่ำงๆ ก็สะดวกสบำยขึ้น กำรติดต่อสื่อสำรก็ง่ำยขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้ทุกอย่ำงนั้นสะดวกขึ้น
เป็นอย่ำงมำก แม้กระทั่งกำรทำงำนของเรำก็ สะดวกขึ้น เพรำะปัจจุบันนี้ ในกำรทำงำนก็มีเทคโนโลยีเข้ำมำเกี่ยวข้อง ที่
เห็นง่ำยๆ เลย ก็คือ กำรนำคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้ในหน่วยงำน ไม่ว่ำจะเป็นหน่วยงำนรำชกำรหรือหน่วยงำนเอกชนล้วน
แล้วแต่นำคอมพิวเตอร์เข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งในกำรทำงำนทั้งนั้น แล้วรู้กันหรือไหมว่ำ คอมพิวเตอร์ที่เรำใช้กันอยู่ทุกวันนั้นมี
ส่วนประกอบอะไรบ้ำง และมีควำมสำคัญอย่ำงไร วันนี้เรำมำรู้จักกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของ
คอมพิวเตอร์ ที่เรำใช้งำนกันอยู่ดีกว่ำ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ
รู้กันมั้ยว่ำส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้ำง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบหลักๆ อยู่ 4 ส่วนด้วยกัน เริ่ม
จำก
1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลำงหรือที่รู้จักกันในนำมของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือ
เรียกว่ำซิป ซึ่งส่วนนี้มีควำมสำคัญมำกที่สุดของฮำร์ดแวร์ เพรำะว่ำมีหน้ำที่ในกำรประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อนเข้ำมำ ซึ่ง
ซีพียูนั้นมีรุ่นต่ำงๆ ออกมำวำงขำยตำมท้องตลำดมำกมำย ซึ่งแต่ละรุ่นก็รำคำแตกต่ำงกันออกไป
9
2. หน่วยควำมจำ (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยควำมจำหลักที่จำเป็นในกำรเก็บข้อมูล
ต่ำงๆ หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำหน่วยควำมจำสำรองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วครำว ซึ่งหน่วยควำมจำแรมจะทำหน้ำที่
เก็บชุดคำสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กำลังทำงำนอยู่ด้วย
3. ส่วนอินพุต/เอำต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สำมำรถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่ำง ๆ เช่น
เครื่องอ่ำนบัตร คีย์บอร์ด เมำส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภำพ
4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในกำรจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮำร์ดดิสก์ ที่ใช้ในกำรเก็บข้อมูลอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
ภำพที่ 7
จอภำพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์กำรแสดงผลที่สำคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพรำะเรำ
สำมำรถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่ำนจอภำพของเรำ จอภำพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือจอแบบ
ซีอำร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภำพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่ำงกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็คือจอแบบซีอำร์ที (CRT)
ส่วนใหญ่เป็นจอภำพที่นิยมใช้สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนำดใหญ่คล้ำยโทรทัศน์ เมื่อก่อนได้รับควำมนิยมเป็นอย่ำง
มำก แต่เมื่อจอภำพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ำมำแทน จอภำพแบบซีอำร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เรำแทบไม่เห็นร้ำน
ขำยคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วำงขำยอีกแล้ว ส่วนจอภำพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและในแบบ
ของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจำกเป็นจอภำพที่มีขนำดรูปร่ำงที่บำงทำให้สะดวกสำหรับกำรพกพำไปไหนมำไหน แต่จอภำพแบบแอล
ซีดีนี้ก็มีรำคำที่แพงกว่ำจอภำพแบบซีอำร์ที
10
ภำพที่ 8
เคส (case) คือ กล่องหรือโครงสร้ำงสำหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่ำงๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภำยในนั้น ซึ่งขนำดของ
เคสก็จะแตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่กำรใช้งำนหรือควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนของแต่ละคนรวมทั้งสถำนที่เก็บอุปกรณ์
เหล่ำนั้นด้วยว่ำมีขนำดพื้นที่มำกน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพำวเวอร์ซัพพลำยติดมำด้วย
ภำพที่ 9
พำวเวอร์ซัพพลำย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้ำที่ในกำรจ่ำยกระแสไฟฟ้ ำให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้ำคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮำร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ ก็ควรเลือกพำวเวอร์ซัพ
พลำยที่มีจำนวนวัตต์สูง เพื่อให้สำมำรถ จ่ำยกระแสไฟได้เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ภำพที่ 10
คีย์บอร์ดหรือแป้ นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐำนที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมี เนื่องจำกตัวคีย์บอร์ด
ใช้สำหรับกำรพิมพ์หรือป้ อมข้อมูลต่ำงลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็นตัวอักษรที่เป็นภำษำหลัก
11
ของแต่ละประเทศรวมทั้งภำษำหลักอย่ำงภำษำอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัวเลขและฟังก์ชันต่ำงๆ ที่จำเป็นสำหรับ
กำรใช้งำนและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สำหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของเรำ โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็น
สี่เหลี่ยมผืนผ้ำหรือมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อำจมีลักษณะที่แตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่ควำมคิดสร้ำงสรรค์
ของคนออกแบบนั้นเอง
ภำพที่ 11
ฮำร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ที่
ติดมำพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัวฮำร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมและมีแผงวงจรสำหรับควบคุมกำร
ทำงำนอยู่ด้ำนล่ำงและช่องสำหรับเสียบสำยไฟเลี้ยงและสำยสัญญำณต่ำงๆ โดยที่ส่วนประกอบภำยในจะปิดไว้อย่ำง
มิดชิดเพื่อป้ องกันอันตรำยที่จะเกิดขึ้น
ภำพที่ 12
เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้ ำแผ่นใหญ่ที่รวมเอำชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญๆ ไว้ด้วยกัน ซึ่ง
เป็นส่วนที่ควบคุม กำรทำงำนของ อุปกรณ์ต่ำงๆ ภำยในพีชีทั้งหมด
12
ภำพที่ 13
ซีพียู (CPU) มีหน้ำที่ในกำรประมวลผลหรือเรียกว่ำโปรเซสเซอร์หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีควำมสำคัญมำก
เนื่องจำกมีหน้ำที่ในกำรประมวลผลจำกกำรป้ อนข้อมูลลงไป
ภำพที่ 14
กำร์ดแสดงผล (Display Card) หลักกำรทำงำนพื้นฐำนของกำร์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่ำงๆ ส่ง
ข้อมูลมำประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนำมำแสดงผลบนจอภำพมำที่กำร์ดแสดงผล
จำกนั้น กำร์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มำที่จอภำพ ตำมข้อมูลที่ได้รับมำ กำร์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมำส่วนใหญ่ ก็จะมี
วงจร ในกำรเร่งควำมเร็วกำรแสดงผลภำพสำมมิติ และมีหน่วยควำมจำมำให้มำกพอสมควร
โดยที่กำร์ดบำงรุ่นสำมำรถประมวลผลได้ในตัวกำร์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบำภำระกำรประมวลผลให้ซีพียู จึงทำให้กำร
ทำงำนของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวกำร์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยควำมจำในตัวของมันเอง ถ้ำตัวกำร์ดมี
หน่วยควำมจำมำก ก็จะรับข้อมูลจำกซีพียูได้มำกขึ้น ซึ่งจะช่วยให้กำรแสดงผลบนจอภำพมีควำมเร็วสูงขึ้นด้วย
ภำพที่ 15
เมำส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ควำมรู้สึกที่ดีต่อกำรใช้งำน ช่วยให้กำรใช้งำนง่ำยขึ้นด้วยกำรใช้เมำส์เลื่อน
ตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่ำง ๆ บนจอภำพ หรือเรียกง่ำยๆ ว่ำตัวชี้ตำแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สำยตำจับอยู่ที่จอภำพก็สำมำรถใช้
มือลำกเมำส์ไปมำได้ ระยะทำงและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทำงเดียวกับกำรเลื่อนเมำส์
13
เมำส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทำงกลและแบบใช้แสง แบบทำงกลเป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม ที่มีน้ำหนักและ
แรงเสียดทำนพอดี เมื่อเลื่อนเมำส์ไปในทิศทำงใดจะทำให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมำในทิศทำงนั้น แต่ในปัจจุบันเมำส์แบบ
ลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนำมำใช้กันแล้ว
ภำพที่ 16
แรม (RAM)
เป็นหน่วยควำมจำของระบบ มีหน้ำที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ CPU ประมวลผล แรมเป็นหน่วยควำมจำหลักของ
ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูลเมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงเท่ำนั้น โดยถ้ำเกิดไฟฟ้ ำกระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้
ในหน่วยควำมจำจะหำยไปทันที
ภำพที่ 17
CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็นไดรฟ์ สำหรับอ่ำนข้อมูลจำกแผ่นซีดีรอม
หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้ำหำกต้องกำรบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ ที่สำมำรถเขียนแผ่นได้
เมื่อไดรฟ์ ซีดีรอมเริ่มทำงำนมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยควำมเร็ว หลำยค่ำ ทั้งนี้เพื่อให้อัตรำเร็วในกำรอ่ำนข้อมูลจำก
ซีดีรอมคงที่สม่ำเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่ำจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตำม จำกนั้นแสงเลเซอร์จะฉำยลงซีดีรอม
โดยลำแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตำแหน่งได้ โดยกำรทำงำนของขดลวด ลำแสงเลเซอร์จะทะลุผ่ำนไปที่ซีดีรอม
แล้วถูกสะท้อนกลับ
14
ภำพที่ 18
CD-ROM / DVD-ROM ภำยในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็ก
เตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะมีขนำดเท่ำกัน ทุกเซ็กเตอร์ ทำให้สำมำรถเก็บข้อมูลได้มำกขึ้น
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ภำพที่ 19
ฮำร์ดแวร์ (Hardware)
คือลักษณะทำงกำยของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมำยถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้ำง
(peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮำร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮำร์ดแวร์ประกอบด้วย
หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
หน่วยประมวลผลกลำง ( central processor unit ) หรือ CPU
หน่วยควำมจำหลัก
หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (secondary storage unit )
15
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่ำง ๆ เข้ำสู่คอมพิวเตอร์ จำกนั้น หน่วยประมวลผลกลำง จะ
นำไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมำกให้ผู้ใช้รับทรำบทำง หน่วยแสดงผลลัพธ์
หน่วยควำมจำหลัก จะทำหน้ำที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วครำวที่มีขนำดไม่สูงมำกนัก กำรที่ฮำร์ดแวร์จะทำหน้ำที่ได้มี
ประสิทธิภำพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนกำรทำงำนได้มำกน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยควำมจำหลัก
ของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยควำมจำหลักคือ หำกปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยควำมจำหลักจะหำยไป ในขณะ
ที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จะไม่สูญหำยตรำบเท่ำที่ผู้ใช้ไม่ทำกำรลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมี
ควำมจุที่สูงมำก จึงเหมำะสำหรับกำรเก็บข้อมูลที่มีขนำดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภำยหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูล
สำรองคือกำรเรียกใช้ข้อมูลจะช้ำกว่ำหน่วยควำมจำหลักมำก
ภำพที่ 20
ซอฟต์แวร์ (Software)
คอมพิวเตอร์ฮำร์ดแวร์ที่ประกอบออกมำจำกโรงงำนจะยังไม่สำมำรถทำงำนใดๆ เนื่องจำกต้องมี ซอฟต์แวร์
(Software) ซึ่งเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำงำนต่ำง ๆ ตำมต้องกำร โดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะ
เขียนขึ้นมำจำก ภำษำคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภำษำใดภำษำหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์
(Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภำษำคอมพิวเตอร์เหล่ำนั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่ำง ๆ ขึ้นมำ
ซอฟต์แวร์ สำมำรถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
ง
บรรณำณุกรม
2554. คอมพิวเตอร์. https://sites.google.com/site/non537/home 6 มกรำคม 2558

More Related Content

What's hot

โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
Chanida Manonom
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
ปยล วชย.
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
Fon Edu Com-sci
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพรา
Silver Bullet
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
Jane Janjira
 

What's hot (20)

ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพรา
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 

Viewers also liked

รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
Narinthip Wakuram
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
พัน พัน
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
NooLuck
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
siriluk602
 
Properties
PropertiesProperties
Properties
jimbank
 
ระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่าย
เค้ก
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
NooLuck
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
NooLuck
 
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
sarankorn
 

Viewers also liked (20)

คค
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Properties
PropertiesProperties
Properties
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
 
ระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่าย
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.com
 

Similar to ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
อาย อาย
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
N'Ice Thnaphop
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 

Similar to ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ (16)

ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6
 
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (19)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
เรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนเรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อน
 

ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นายเกรียงศักดิ์ กลั่นบุศย์เลขที่ ๑๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๓ เสนอ นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 2. ก คำนำ รายงานเรื่องประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโปรแกรม สานักงานขั้นสูง จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ ประเภท ลักษณะ และ ส่วนประกอบต่างๆของคอมพิวเตอร์ หวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผู้จัดทา
  • 3. ข สำรบัญ คำนำ ............................................................................................................................................. ก สำรบัญ........................................................................................................................................... ข สำรบัญภำพ......................................................................................................................................ค ควำมหมำยและควำมเป็นมำ................................................................................................................. 1 กำรจำแนกคอมพิวเตอร์ตำมลักษณะ......................................................................................................... 1 แอนะล็อกคอมพิวเตอร์.................................................................................................................... 1 ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ........................................................................................................................ 1 กำรกำเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ............................................................................................. 2 เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค................................................................................................................ 4 ก่อกำเนิด ไมโครโปรเซสเซอร์ ............................................................................................................. 5 ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก.................................................................................................... 5 ลักษณะกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ......................................................................................................... 7 กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์............................................................................................................... 7 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................ 8 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ............................................................................... 8 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ.................................................................................................. 9 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ...............................................................................................................14 ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ..............................................................................................................14 หน่วยรับข้อมูล ( input unit ).......................................................................................................14 หน่วยควำมจำหลัก.......................................................................................................................14 ซอฟต์แวร์ (Software)...............................................................................................................15 บรรณำณุกรม......................................................................................................................................ง
  • 4. ค สำรบัญภำพ ภำพที่ 1........................................................................................................................................... 2 ภำพที่ 2........................................................................................................................................... 3 ภำพที่ 3........................................................................................................................................... 4 ภำพที่ 4........................................................................................................................................... 4 ภำพที่ 5........................................................................................................................................... 6 ภำพที่ 6........................................................................................................................................... 8 ภำพที่ 7.......................................................................................................................................... 9 ภำพที่ 8.........................................................................................................................................10 ภำพที่ 9..........................................................................................................................................10 ภำพที่ 10.......................................................................................................................................10 ภำพที่ 11.......................................................................................................................................11 ภำพที่ 12.......................................................................................................................................11 ภำพที่ 13.......................................................................................................................................12 ภำพที่ 14.......................................................................................................................................12 ภำพที่ 15.......................................................................................................................................12 ภำพที่ 16.......................................................................................................................................13 ภำพที่ 17.......................................................................................................................................13 ภำพที่ 18.......................................................................................................................................14 ภำพที่ 19 ........................................................................................................................................14 ภำพที่ 20.......................................................................................................................................15
  • 5. 1 ควำมหมำยและควำมเป็นมำ เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า คอมพิวเตอร์ ถ้าแปลกันตรงตัวตามคาภาษาอังกฤษ จะหมายถึงเครื่อง คานวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่องคานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็ จัดเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือ ประจาตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือเครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึงเครื่องคานวณ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและ อัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้าง กะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ กำรจำแนกคอมพิวเตอร์ตำมลักษณะ วิธีการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลข เป็นหลักของการคานวณ แต่จะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าแทน ไม้บรรทัดคานวณ อาจถือเป็นตัวอย่างหนึ่ง ของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ค่าตัวเลขตามแนวความยาวไม้บรรทัดเป็นหลักของการคานวณ โดยไม้ บรรทัดคานวณจะมีขีดตัวเลขกากับอยู่ เมื่อไม้บรรทัดหลายอันมรประกบรวมกัน การคานวณผล เช่น การ คูณ จะเป็นการเลื่อนไม้บรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุดหนึ่ง แล้วไป อ่านผลคูณของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่งแอนะล็อกคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์จะใช้หลักการทานอง เดียวกัน โดยแรงดันไฟฟ้าจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไม้บรรทัด ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน จัดเป็นดิจิทัล คอมพิวเตอร์แทบทั้งหมด ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข มี หลักการคานวณที่ไม่ใช่แบบไม้บรรทัดคานวณ แต่เป็นแบบลูกคิด โดยแต่และหลักของลูกคิดคือ หลักหน่วย หลักร้อย และสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ เป็นระบบเลขฐานสินที่แทนตัวเลขจากศูนย์ถ้าเก้าไปสิบตัวตามระบบตัว เลขที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 6. 2 กำรกำเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย์ Howard Aiken แห่งมหาลัยวิทยาลัยฮาวาร์ด ได้พัฒนาเครื่องคานวณ ตาม แนวคิด ของ Babbage ร่วมกับวิศวะกรของบริษัท IBM สร้างเครื่องคานวณตามความคิดของ Babbage ได้ สาเร็จ โดยเครื่องดังกล่าวทางานแบบเครื่องจักรกลปนไฟฟ้า และใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อในการนาเข้าข้อมูลสู่ เครื่องเพื่อทาการประมวลผล การพัฒนาดังกล่าวมาเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2487 โดยเครื่องมือนี้มีชื่อว่า MARK 1 และเนื่องจากเครื่องนี้สาเร็จได้จากการสนับสนุน ด้านการเงินและบุคลากรจากบริษัท IBM ดังนั้นจึงมีอีกชื่อ หนึ่งว่า IBM Automatic Sequence Controlled Calculator และนับเป็นเครื่องคานวณแบบอัตโนมัติเครื่องแรก ของโลก ภำพที่ 1 พ.ศ. 2486 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกามีความจาเป็นที่ จะต้อง คิดค้นเครื่องช่วยคานวณ เพื่อใช้คานวณหาทิศทางและระยะทางในการส่งขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่อง คานวณที่มี อยู่ในสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชั่วโมงในการคานวณ การยิง 1 ครั้ง ดังนั้นกองทัพจึงให้กอง ทุนอุดหนุนแก่ John W. Mauchly และ Persper Eckert จากหมาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในการสร้าง คอมพิวเตอร์ จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมา โดยนาหลอดสุญยากาศ (Vacuum Tube) จานวน 18,000 หลอด มาใช้ในการสร้าง ซึ่งมีข้อดีคือ ทาให้เครื่องมีความเร็ว และมีความถูกต้องแม่นยาในการคานวณมาก ขึ้น ในด้านของความเร็วนั้น เครื่องจักกลมีความเฉื่อยของการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนประกอบ แต่คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ จะใช้อิเล็กตรอนเป็นตัวคลื่อนที่ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้าได้ ด้วยความเร็ว ใกล้เคียงกับความเร็วของแสง ส่วนความถูกต้องแม่นยาในการทางานของเครื่องจักรกลอาศัยฟันเฟือง รอก คาน ในการทางาน ทาให้ทางานได้ช้า และเเกิดความผิดพลดได้ง่าย
  • 7. 3 พ.ศ. 2489 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ Mauchly และ Eckert คิดค้นขึ้นได้มีชื่อว่า ENIAC ย่อมาจาก (Electronic Numberical Integrater and Caculator) ประสบความสาเร็จในปี พ.ศ. 2489 ถึงแม้ว่าจะไม่ทันใช้ ในสงครามโลกครั้งที่สอง แต่ความเร็วในการตานวณของ ENIAC ทาให้วงการคอมพิวเตอร์ขณะนั้น ยอมรับ ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ แต่อย่างไรก็ตาม ENIAC ทางานด้วยไฟฟ้าทั้งหมดทา ให้ในการทางานแต่ละครั้งจึงทาให้เกิดความร้อนสูงมาก จาเป็นต้องติดตั้งไว้ในห้องที่มีเครือ่งปรับอากาศ ด้วย นอกจากนี้ ENIAC ยังเก็บได้เฉพาะข้อมูลที่เป็นตัวเลขขนาด 10 หลัก และเก็บได้เพียง 20 จานวน เท่านั้น ส่วนชุดคาสั่งนั้น ยังไม่สามารถเก็บไว้ในเครื่องได้ การส่งชุดคาสั่งเข้าเครื่องจะต้องใช้วิธีการเดิน สายไฟสร้างวงจร ถ้ามีการแก้ไขโปรแกรม ก็ต้องมีการเดินสายไฟกันใหม่ ซึ่งใช้เวลาเป็นวัน ภำพที่ 2 ความคิดต่อมาในการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นก็คือ การค้นหาวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ใน เครื่อง เพื่อลดความยุ่งยาก ของขั้นตอนการป้ อนคาสั่งเข้าเครื่อง มีนักคณิตศาสตร์เชื้อสายฮังการเรียนชื่อ Dr.John Von Neumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ ในหน่วยความจาของเครื่องเช่นเดียวกับการเก็บ ข้อมูลและต่อวงจรไฟฟ้า สาหรับการคานวณ และการปฏิบัติการพื้นฐาน ไว้ให้เรียบร้อยภายในเครื่อง แล้ว เรียกวงจรเหล่านี้ด้วยรหัสตัวเลขที่กาหนดไว้ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวความคิดนี้ได้แก่ EVAC (Electronic Ddiscreate Variable Automatic Computer) ซึ่งสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2492 และนามาใช้งาน จริงในปี พ.ศ. 2494 และในเวลาใกล้เคียงกัน ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดส์ ประเทศอังกฤษ ได้มีการสร้าง คอมพิวเตอร์มีลักษณะคล้ายกับเครื่อง EVAC และให้ชื่อว่า EDSAC (Electronic Delay Strorage Automatic Caculator)
  • 8. 4 ภำพที่ 3 เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501 begin_of_the_skype_highlighting 2497-2501 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้กระแสไฟฟ้า จานวนมาก ทาให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I , IBM 600 ภำพที่ 4 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507 begin_of_the_skype_highlighting 2502-2507 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรำนซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็น หน่วยควำมจำ คอมพิวเตอร์มีขนำดเล็กกว่ำยุคแรก ต้นทุนต่ำกว่ำ ใช้กระแสไฟฟ้ ำและมีควำมแม่นยำมำกกว่ำ คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513 begin_of_the_skype_highlighting 2508-2513 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสำรกึ่งตัวนำที่สำมำรถบรรจุวงจรทำงตรรกะไว้แล้ว พิมพ์บนแผ่นซิลิกอน(Silicon) เรียกว่ำ "ชิป"
  • 9. 5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523 begin_of_the_skype_highlighting 2514-2523 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นกำรรวมวงจรไอซีจำนวนมำกลงในแผ่น ซิลิกอนชิป 1 แผ่น สำมำรถบรรจุได้มำกกว่ำ 1 ล้ำนวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทำให้เกิดแนวคิดในกำรบรรจุวงจรที่สำคัญ สำหรับกำรทำงำนพื้นฐำนของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่ำ "ไมโครโปรเชสเซอร์" คอมพิวเตอร์ยคุที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นกำรพัฒนำไมโครโปรเซสเซอร์ให้มี ประสิทธิภำพมำกขึ้น ก่อกำเนิด ไมโครโปรเซสเซอร์ เมื่อก่อนนั้น Intel เป็นบริษัทผลิตชิปไอซี แห่งหนึ่งที่ไม่ใหญ่โตมำกนักเท่ำในปัจจุบัน เมื่อปี ค.ศ.1969 ได้สร้ำง ควำมสะเทือน ให้กับวงกำรอิเล็คทรอนิคส์ โดยกำรออกชิปหน่วยควำมจำ(Memory)ขนำด 1 Kbyte มำเป็นรำยแรก บริษัทบิสซิคอมพ์(Busicomp) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องคิดเลขของญี่ปุ่ญได้ทำกำรว่ำจ้ำงให้ Intel ทำกำรผลิตชิปไอซี ที่บิสซิคอมพ์เป็นคนออกแบบเองที่มีจำนวน 12 ตัว โครงกำรนี้ถูกมอบหมำยให้นำย M.E. Hoff, Jr. ซึ่งเข้ำตัดสินใจที่จะใช้ วิธีกำรออกแบบชิปแบบใหม่ โดยสร้ำงชิปที่ให้ถูกโปรแกรมได้ หมำยถึงว่ำ สำมำรถนำเอำชุดคำสั่งของกำรคำนวณไปเก็บ ไว้ใน หน่วยควำมจำก่อนแล้วให้ไอซีตัวนี้อ่ำนเข้ำมำแปล ควำมหมำย และทำงำนภำยหลัง ในปี 1971 Intel ได้นำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลำด โดยใช้ชื่อทำงกำรค้ำว่ำ Intel 4004 ในรำคำ 200 เหรียญสหรัฐ และเรียกชิปนี้ว่ำเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์(Micro Processor) ก็เพรำะว่ำ 4004 นี้เป็น CPU (Central Processing Unit) ตัวหนึ่ง ซึ่งมีขนำด 4.2 X 3.2 มิลลิเมตร ภำยในประกอบด้วย ทรำนซิสเตอร์ จำนวน 2250 ตัว และเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์ ขนำด 4 บิต หลังจำก 1 ปีต่อมำ Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ ขนำด 8 บิตออกมำโดยใช้ชื่อว่ำ 8008 มีชุดคำสั่ง 48 คำสั่ง และอ้ำงหน่วยควำมจำได้ 16 Kbyte ซึ่งทำง Intel หวังว่ำจะเป็นตัวกระตุ้นตลำดทำงด้ำนชิปหน่วยควำมจำได้อีกทำงหนึ่ง เมื่อปี 1973 ทำง Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ที่มีชุดคำสั่งพื้นฐำน 74 คำสั่งและสำมำรถอ้ำง หน่วยควำมจำได้ 64 Kbyte ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก เมื่อปี 1975 มีนิตยสำรต่ำงประเทศฉบับหนึ่ง ชื่อว่ำ Popular Electronics ฉบับเดือน มกรำคม ได้ลงบทควำม เกี่ยวกับเครื่อง ไมโครโปรเซสเซอร์ เครื่องแรกของโลกที่มีชื่อว่ำ อัลแตร์ 8800 (Altair) ซึ่งทำออกมำเป็นชุดคิท โดยบริษัท
  • 10. 6 MITS (Micro Insumentation And Telemetry Systems) ลักษณะของชุดคิท ก็คือ จะอยู่ในรูปของอุปกรณ์แต่ละชิ้น โดยให้ คุณนำไปประกอบขึ้นใช้เอง ภำพที่ 5 บริษัท MITS ถูกก่อตั้งเมื่อปี 1969 โดยมีจุดมุ่งหมำยเพื่อทำตลำดในด้ำนเครื่องคิดเลข แต่กำรค้ำชลอตัวลง ประธำนบริษัท ชื่อ H. Edword Roberts เห็นกำรไกล คิดเปิดตลำดใหม่ซึ่งจะขำยชุดคิด คอมพิวเตอร์ ประมำณเอำไว้ว่ำ อำจขำย ได้ในจำนวนปีล่ะประมำณ 200-300 ชุด จึงให้ทิมงำนออกแบบบและพัฒนำแล้วเสร็จก่อนถึงคริสต์มำส ในปี 1974 แต่เพิ่งมำ ประกำศตัวในปีถัดไป สำหรับ CPU ที่ใช้คือ 8080 และคำว่ำ ไมโครคอมพิวเตอร์ จึงถูกเรียกใช้เป็นครั้งแรก เพื่อชุดคิทคอมพิวเตอร์ชุดนี้ ชุดคิทของ อัลแตร์ นี้ประกอบด้วย ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ของบริษัท Intel มี เพำเวอร์ซัพพลำย มีแผงหน้ำปัด ที่ติดหลอดไฟ เป็นแถวมำให้เพื่อแสดงผล รวมถึงหน่วยควำมจำ 256 Byte ( แหม.. เหมือนของเล่นเรำในสมัยนี้ จังงง ) นอกนั้น ยังมี สล๊อต (Slot) ให้เสียบอุปกร์อื่น ๆ เพิ่มได้ แต่ก็ทำให้ MITS ต้องผิดคำด คือ ภำยใน เดือนเดียว มีจดหมำยส่ง เข้ำมำขอสั่งซื้อเป็นจำนวนถึง 4,000 ชุดเลยทีเดียว
  • 11. 7 ด้วยชิป 8080 นี่เองได้เป็นแรงดลใจให้บริษัท ดิจิตอลรีเสิร์ช (Digital Research) กำเนิดระบบปฏิบัติกำร (Operating System) ที่ชื่อว่ำ ซีพีเอ็ม(CP/M หรือ Control Program For Microcomputer) ขึ้นมำ ในขณะที่ Microsoft ยังเพิ่งออก Microsoft Basic รุ่นแรกเองน่ะ ลักษณะกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ก็เหมือนกับสมองของคนเรำ คือ รับข้อมูลมำ แล้วนำข้อมูลไปประมวลผล หลังจำกนั้นก็จะแสดงผลออกมำ ซึ่ง อำจกล่ำวได้ว่ำทุกส่วนนั้นมีกำรทำงำนที่สัมพันธ์กันเป็นกระบวนกำร โดยจะมีองค์ประกอบพื้นฐำนหลักก็คือ Input Process และ Output ซึ่งมีขั้นตอนกำรทำงำนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : กำรรับข้อมูลและคำสั่ง (Input)คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคำสั่งเข้ำเครื่องผ่ำนทำงอุปกรณ์ชนิด ต่ำงๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลที่จะป้ อนเข้ำไป เช่น ถ้ำเป็นกำรพิมพ์ข้อมูลจะใช้แป้ นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ ข้อควำมหรือโปรแกรมเข้ำเครื่อง แต่ถ้ำเป็นกำรสแกนรูปภำพหรือข้อควำมเข้ำไปไว้ในเครื่องก็จะใช้สแกนเนอร์ (Scanner) หรือถ้ำเป็นกำรเล่นเกมส์ก็จะมีก้ำนควบคุม (Joystick) สำหรับเคลื่อนตำแหน่งของกำรเล่นบนจอภำพ เป็นต้นขั้นตอนที่ 2 : กำรประมวลข้อมูล (Process)หลังจำกนำข้อมูลเข้ำมำแล้วนั้น เครื่องก็จะนำข้อมูลหรือคำสั่งไปประมวลผล เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ตำมที่ต้องกำรขั้นตอนที่ 3 : กำรแสดงผลลัพธ์ (Output)เป็นกำรนำผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลมำแสดงผลให้ ทรำบ ซึ่งโดยทั่วไปจะแสดงผลผ่ำนทำงจอภำพ (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทำงกระดำษโดยใช้เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ลักษณะกำรทำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วย (Units) ที่ทำหน้ำที่ต่ำงกัน 4 หน่วย คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นตัวกลำงในกำรรับข้อมูลผ่ำนอุปกรณ์ชนิดต่ำง ๆ เช่น แป้ นพิมพ์ (Keyboard)และสแกนเนอร์ (Scanner) โดยพิมพ์หรือวำดรูป เข้ำไปในเครื่อง 2. หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit : CPU) เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ซึ่งจะ ควบคุมกำรทำงำน ทั้งหมดของเครื่อง 3. หน่วยควำมจำ (Memory) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลต่ำง ๆ เครื่องไว้ ซึ่งมี 2 ชนิดคือ 3.1 ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยควำมจำหลักที่ทำหน้ำที่อ่ำนข้อมูลเพียงอย่ำงเดียว 3.2 RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยควำมจำรองที่ทำหน้ำที่ในกำรบันทึกข้อมูลไว้ชั่วครำวซึ่ง หำกเรำปิดเครื่องจะทำให้ข้อมูลสูญหำยได้
  • 12. 8 4. หน่วยแสดงผล (Output) เป็นกำรนำผลลัพธ์ที่ผ่ำนกำรดำเนินกำรตำมกรรมวิธีจำกหน่วยควำมจำ แสดง ออกมำในรูปแบบที่อ่ำนเข้ำใจได้ง่ำย อำจจะอยู่ในรูป รำยงำน ตำรำง กรำฟ หรือรูปภำพ โดยผ่ำนอุปกรณ์แสดงผล เช่น เครื่องพิมพ์หรือจอภำพ เป็นต้น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ภำพที่ 6 ด้วยควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีและเป็นยุคสำรสนเทศ ไม่ว่ำเรำจะทำอะไรก็สะดวกสบำยไปเสียหมด จะ ติดตำมข่ำวสำรต่ำงๆ ก็สะดวกสบำยขึ้น กำรติดต่อสื่อสำรก็ง่ำยขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้ทุกอย่ำงนั้นสะดวกขึ้น เป็นอย่ำงมำก แม้กระทั่งกำรทำงำนของเรำก็ สะดวกขึ้น เพรำะปัจจุบันนี้ ในกำรทำงำนก็มีเทคโนโลยีเข้ำมำเกี่ยวข้อง ที่ เห็นง่ำยๆ เลย ก็คือ กำรนำคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้ในหน่วยงำน ไม่ว่ำจะเป็นหน่วยงำนรำชกำรหรือหน่วยงำนเอกชนล้วน แล้วแต่นำคอมพิวเตอร์เข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งในกำรทำงำนทั้งนั้น แล้วรู้กันหรือไหมว่ำ คอมพิวเตอร์ที่เรำใช้กันอยู่ทุกวันนั้นมี ส่วนประกอบอะไรบ้ำง และมีควำมสำคัญอย่ำงไร วันนี้เรำมำรู้จักกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์ ที่เรำใช้งำนกันอยู่ดีกว่ำ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ รู้กันมั้ยว่ำส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้ำง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบหลักๆ อยู่ 4 ส่วนด้วยกัน เริ่ม จำก 1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลำงหรือที่รู้จักกันในนำมของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือ เรียกว่ำซิป ซึ่งส่วนนี้มีควำมสำคัญมำกที่สุดของฮำร์ดแวร์ เพรำะว่ำมีหน้ำที่ในกำรประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อนเข้ำมำ ซึ่ง ซีพียูนั้นมีรุ่นต่ำงๆ ออกมำวำงขำยตำมท้องตลำดมำกมำย ซึ่งแต่ละรุ่นก็รำคำแตกต่ำงกันออกไป
  • 13. 9 2. หน่วยควำมจำ (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยควำมจำหลักที่จำเป็นในกำรเก็บข้อมูล ต่ำงๆ หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำหน่วยควำมจำสำรองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วครำว ซึ่งหน่วยควำมจำแรมจะทำหน้ำที่ เก็บชุดคำสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กำลังทำงำนอยู่ด้วย 3. ส่วนอินพุต/เอำต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สำมำรถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่ำง ๆ เช่น เครื่องอ่ำนบัตร คีย์บอร์ด เมำส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภำพ 4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในกำรจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮำร์ดดิสก์ ที่ใช้ในกำรเก็บข้อมูลอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ ภำพที่ 7 จอภำพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์กำรแสดงผลที่สำคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพรำะเรำ สำมำรถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่ำนจอภำพของเรำ จอภำพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือจอแบบ ซีอำร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภำพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่ำงกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็คือจอแบบซีอำร์ที (CRT) ส่วนใหญ่เป็นจอภำพที่นิยมใช้สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนำดใหญ่คล้ำยโทรทัศน์ เมื่อก่อนได้รับควำมนิยมเป็นอย่ำง มำก แต่เมื่อจอภำพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ำมำแทน จอภำพแบบซีอำร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เรำแทบไม่เห็นร้ำน ขำยคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วำงขำยอีกแล้ว ส่วนจอภำพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและในแบบ ของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจำกเป็นจอภำพที่มีขนำดรูปร่ำงที่บำงทำให้สะดวกสำหรับกำรพกพำไปไหนมำไหน แต่จอภำพแบบแอล ซีดีนี้ก็มีรำคำที่แพงกว่ำจอภำพแบบซีอำร์ที
  • 14. 10 ภำพที่ 8 เคส (case) คือ กล่องหรือโครงสร้ำงสำหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่ำงๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภำยในนั้น ซึ่งขนำดของ เคสก็จะแตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่กำรใช้งำนหรือควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนของแต่ละคนรวมทั้งสถำนที่เก็บอุปกรณ์ เหล่ำนั้นด้วยว่ำมีขนำดพื้นที่มำกน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพำวเวอร์ซัพพลำยติดมำด้วย ภำพที่ 9 พำวเวอร์ซัพพลำย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้ำที่ในกำรจ่ำยกระแสไฟฟ้ ำให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้ำคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮำร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ ก็ควรเลือกพำวเวอร์ซัพ พลำยที่มีจำนวนวัตต์สูง เพื่อให้สำมำรถ จ่ำยกระแสไฟได้เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ภำพที่ 10 คีย์บอร์ดหรือแป้ นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐำนที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมี เนื่องจำกตัวคีย์บอร์ด ใช้สำหรับกำรพิมพ์หรือป้ อมข้อมูลต่ำงลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็นตัวอักษรที่เป็นภำษำหลัก
  • 15. 11 ของแต่ละประเทศรวมทั้งภำษำหลักอย่ำงภำษำอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัวเลขและฟังก์ชันต่ำงๆ ที่จำเป็นสำหรับ กำรใช้งำนและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สำหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของเรำ โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็น สี่เหลี่ยมผืนผ้ำหรือมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อำจมีลักษณะที่แตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ของคนออกแบบนั้นเอง ภำพที่ 11 ฮำร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ที่ ติดมำพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัวฮำร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมและมีแผงวงจรสำหรับควบคุมกำร ทำงำนอยู่ด้ำนล่ำงและช่องสำหรับเสียบสำยไฟเลี้ยงและสำยสัญญำณต่ำงๆ โดยที่ส่วนประกอบภำยในจะปิดไว้อย่ำง มิดชิดเพื่อป้ องกันอันตรำยที่จะเกิดขึ้น ภำพที่ 12 เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้ ำแผ่นใหญ่ที่รวมเอำชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญๆ ไว้ด้วยกัน ซึ่ง เป็นส่วนที่ควบคุม กำรทำงำนของ อุปกรณ์ต่ำงๆ ภำยในพีชีทั้งหมด
  • 16. 12 ภำพที่ 13 ซีพียู (CPU) มีหน้ำที่ในกำรประมวลผลหรือเรียกว่ำโปรเซสเซอร์หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีควำมสำคัญมำก เนื่องจำกมีหน้ำที่ในกำรประมวลผลจำกกำรป้ อนข้อมูลลงไป ภำพที่ 14 กำร์ดแสดงผล (Display Card) หลักกำรทำงำนพื้นฐำนของกำร์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่ำงๆ ส่ง ข้อมูลมำประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนำมำแสดงผลบนจอภำพมำที่กำร์ดแสดงผล จำกนั้น กำร์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มำที่จอภำพ ตำมข้อมูลที่ได้รับมำ กำร์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมำส่วนใหญ่ ก็จะมี วงจร ในกำรเร่งควำมเร็วกำรแสดงผลภำพสำมมิติ และมีหน่วยควำมจำมำให้มำกพอสมควร โดยที่กำร์ดบำงรุ่นสำมำรถประมวลผลได้ในตัวกำร์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบำภำระกำรประมวลผลให้ซีพียู จึงทำให้กำร ทำงำนของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวกำร์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยควำมจำในตัวของมันเอง ถ้ำตัวกำร์ดมี หน่วยควำมจำมำก ก็จะรับข้อมูลจำกซีพียูได้มำกขึ้น ซึ่งจะช่วยให้กำรแสดงผลบนจอภำพมีควำมเร็วสูงขึ้นด้วย ภำพที่ 15 เมำส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ควำมรู้สึกที่ดีต่อกำรใช้งำน ช่วยให้กำรใช้งำนง่ำยขึ้นด้วยกำรใช้เมำส์เลื่อน ตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่ำง ๆ บนจอภำพ หรือเรียกง่ำยๆ ว่ำตัวชี้ตำแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สำยตำจับอยู่ที่จอภำพก็สำมำรถใช้ มือลำกเมำส์ไปมำได้ ระยะทำงและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทำงเดียวกับกำรเลื่อนเมำส์
  • 17. 13 เมำส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทำงกลและแบบใช้แสง แบบทำงกลเป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม ที่มีน้ำหนักและ แรงเสียดทำนพอดี เมื่อเลื่อนเมำส์ไปในทิศทำงใดจะทำให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมำในทิศทำงนั้น แต่ในปัจจุบันเมำส์แบบ ลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนำมำใช้กันแล้ว ภำพที่ 16 แรม (RAM) เป็นหน่วยควำมจำของระบบ มีหน้ำที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ CPU ประมวลผล แรมเป็นหน่วยควำมจำหลักของ ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูลเมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงเท่ำนั้น โดยถ้ำเกิดไฟฟ้ ำกระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ ในหน่วยควำมจำจะหำยไปทันที ภำพที่ 17 CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็นไดรฟ์ สำหรับอ่ำนข้อมูลจำกแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้ำหำกต้องกำรบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ ที่สำมำรถเขียนแผ่นได้ เมื่อไดรฟ์ ซีดีรอมเริ่มทำงำนมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยควำมเร็ว หลำยค่ำ ทั้งนี้เพื่อให้อัตรำเร็วในกำรอ่ำนข้อมูลจำก ซีดีรอมคงที่สม่ำเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่ำจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตำม จำกนั้นแสงเลเซอร์จะฉำยลงซีดีรอม โดยลำแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตำแหน่งได้ โดยกำรทำงำนของขดลวด ลำแสงเลเซอร์จะทะลุผ่ำนไปที่ซีดีรอม แล้วถูกสะท้อนกลับ
  • 18. 14 ภำพที่ 18 CD-ROM / DVD-ROM ภำยในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็ก เตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะมีขนำดเท่ำกัน ทุกเซ็กเตอร์ ทำให้สำมำรถเก็บข้อมูลได้มำกขึ้น องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ภำพที่ 19 ฮำร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทำงกำยของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมำยถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้ำง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮำร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮำร์ดแวร์ประกอบด้วย หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) หน่วยประมวลผลกลำง ( central processor unit ) หรือ CPU หน่วยควำมจำหลัก หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (secondary storage unit )
  • 19. 15 หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่ำง ๆ เข้ำสู่คอมพิวเตอร์ จำกนั้น หน่วยประมวลผลกลำง จะ นำไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมำกให้ผู้ใช้รับทรำบทำง หน่วยแสดงผลลัพธ์ หน่วยควำมจำหลัก จะทำหน้ำที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วครำวที่มีขนำดไม่สูงมำกนัก กำรที่ฮำร์ดแวร์จะทำหน้ำที่ได้มี ประสิทธิภำพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนกำรทำงำนได้มำกน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยควำมจำหลัก ของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยควำมจำหลักคือ หำกปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยควำมจำหลักจะหำยไป ในขณะ ที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จะไม่สูญหำยตรำบเท่ำที่ผู้ใช้ไม่ทำกำรลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมี ควำมจุที่สูงมำก จึงเหมำะสำหรับกำรเก็บข้อมูลที่มีขนำดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภำยหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูล สำรองคือกำรเรียกใช้ข้อมูลจะช้ำกว่ำหน่วยควำมจำหลักมำก ภำพที่ 20 ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮำร์ดแวร์ที่ประกอบออกมำจำกโรงงำนจะยังไม่สำมำรถทำงำนใดๆ เนื่องจำกต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำงำนต่ำง ๆ ตำมต้องกำร โดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะ เขียนขึ้นมำจำก ภำษำคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภำษำใดภำษำหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภำษำคอมพิวเตอร์เหล่ำนั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่ำง ๆ ขึ้นมำ ซอฟต์แวร์ สำมำรถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )