SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Environmental 
Impact 
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
Assessment ( 
Group : 9 
EIA )
ความหมายของผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environ Impact) หมายถึง สิ่งต่างๆ 
ที่เกิดขึ้นใหม่หรือการจับกลุ่มใหม่ของสิ่งแวดล้อม ทั้งที่มนุษย์ 
สร้างขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ มีผลทา ให้สิ่งแวดล้อม 
เดิมหรือสิ่งแวดล้อมอื่นๆได้รับความกระทบกระเทือน จนมีผลทา 
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีผลร้ายต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม 
นั้นๆ (เกษม จันทร์แก้ว:2525 :194)
จากความหมายจะเห็นได้ว่า ผลกระทบนั้นเป็นอะไรก็ได้ ทั้งที่เป็น 
รูปธรรมและนามธรรม ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นมาแล้วจะทา ให้คุณภาพชีวิต 
ทั้งหลาย และคุณภาพสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่อยู่ในบริเวณนั้นได้รับผลกระทบ 
กระเทือนในระยะเวลาที่แตกต่างกันไม่มากก็น้อย เช่น การสร้างถนนใหม่มี 
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรอื่นๆ ได้แก่ ป่าไม้ ดิน น้า แหล่งที่อยู่อาศัย 
ของสตัว์ป่า เกิดฝุ่นและไอเสียจากการคมนาคม ฯลฯ การเปลี่ยนแปลง 
เหล่านี้หากมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว จา เป็นต้องดา เนินการ 
อย่างจริงจังในการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ไม่ให้กระทบกระเทือน 
ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม
EIA คืออะไร ? 
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือ อีไอเอ (EIA) 
หมายถึง การชี้หรือแสดงให้เห็น รวมทั้งการทา นายหรือ 
คาดการณ์ เกี่ยวกับผลกระทบทางบวกและทางลบของโครงการพัฒนาที่ 
มีผลต่อสภาพแวดล้อมทุกๆด้าน ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านชีวภาพหรือ 
นิเวศวิทยา ด้านการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ และด้านคุณภาพชีวิต 
รวมทั้งการพิจาณาและเสนอมาตรการที่จะใช้ในการลดและป้องกัน 
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนแผนการตรวจสอบผละกระทบ 
สิ่งแวดล้อมของโครงการ เพื่อป้องกันผลเสียที่จะเกิดขึ้นด้วย
ดังนั้นในกระบวนการประเมินผละกระทบสิ่งแวดล้อม นอกจาก 
จะแสดงให้เห็นผลกระทบอันเกิดจากการดา เนินโครงการแล้ว ยังเน้นให้มี 
การป้องกันด้านสิ่งแวดล้อมเข้าไปทุกขั้นตอนของการวางแผนและ 
ออกแบบโครงการด้วย หลักการก็คือให้มีการป้องกันไว้ก่อนนั่นคือ ให้มี 
การพิจารณาทางเลือกของโครงการเพื่อที่จะสามารถเปรียบเทียบ พิจารณา 
ทางเลือกที่มีผลกระทบทางลบน้อยที่สุด และให้ประโยชน์หรือผลกระทบ 
ในทางบวกมากที่สุด
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ต้องแสดงขนาดระดับ 
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและตา แหน่งบริเวณหรือพื้นที่ที่ได้รับ 
ผลกระทบจากโครงการที่ชัดเจน พร้อมแสดงแผนผังประกอบ 
ทั้งนี้ ในแต่ละประเด็นการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ 
ขอบเขตพื้นที่การศึกษากฎหมาย หรือนโยบายและระเบียบที่ 
เกี่ยวข้องประกอบ ดังนี้
ลักษณะและขอบเขตผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
- ผลกระทบชั่วคราวหรือผลกระทบถาวร 
- ผลกระทบระยะสั้นหรือผลกระทบระยะยาว 
สา หรับความสา คัญของผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลลัพธ์ของขนาด 
ของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมกับคุณค่าของสิ่งแวดล้อมนั้น 
พิจารณาว่า 
- การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมเกินกว่าระดับที่ยอมรับได้ 
(มาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ที่กา หนด)
- ระยะการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม (เปรียบเทียบกับวงจรชีวิต 
ของสิ่งมีชีวิตหลัก ระบบนิเวศ และการรักษาสมดุลทางชีวภาพ) 
- ความสามารถในการฟื้นตัวของระบบสิ่งแวดล้อม 
- ลักษณะการสะสมของผลกระทบ 
- ขอบเขตพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ 
- การยอมรับของชุมชน และความจา เป็นในการเวนคืนที่ดิน 
- ค่าใช้จ่ายของโครงการกับผลประโยชน์ที่จะได้รับ
กิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่ทาให้สิ่งแวดล้อมเสียสมดุล 
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันมาเป็นระยะเวลาที่ 
ยาวนานเนื่องจากมนุษย์และสิ่งแวดล้อมต้องพึ่งพาอาศัยกันและกันแต่ 
ในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมได้ถูกทา ลายจนก่อให้เกิดผลกระทบและ 
ปรากฏการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ อันเกิดจากการกระทา ของมนุษย์เป็น 
หลักความต้องการปัจจัยสี่ในการดา รงชีวิตของมนุษย์ ก่อให้เกิด 
กิจกรรมต่างๆขึ้นมาอย่างมากมาย เช่น การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม 
เป็นต้น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่ยับยั้งได้ก่อให้เกิด 
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมากมาย เช่น การเกิดมลพิษ จนอาจทา 
ให้ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติให้ใช้อย่างเพียงพอในอนาคต
กิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่ทา ให้สิ่งแวดล้อมเสียสมดุลมีแนวโน้ม 
ว่าอาจก่อให้เกิดผลกระทบในอนาคตที่มีลักษะดังนี้ 
1. มีผลกระทบใหม่ๆเกิดขึ้น อันเป็นผลเนื่องมาจากการค้นพบ 
สารเคมีชนิดใหม่ที่มีความรุนแรงกว่าเดิม หรือการพัฒนาเทคนิคใน 
การฝังขยะลงไปใต้พื้นทะเล 
2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นเพิ่มความรุนแรงเสียหายมากขึ้น เช่น อากาศ 
เป็นพิษ ขยะเป็นพิษ เป็นต้น 
3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นมีการแพร่ขยายออกไปอย่างกว้างขวาง จนแผ่ 
ขยายไปทั่วโลก
4. ระดับความเสียหายหรืออันตรายมีความซับซ้อนเเละส่งผล 
ทางอ้อมมากขึ้น เช่น ผลของอากาศเป็นพิษต่อป่าไม้ หรือการ 
เปลี่ยนแปลงในวิวัฒนาการของสตัว์ เป็นต้น 
5. ผลกระทบที่มีต่อบุคคลเพิ่มมากขึ้น 
6. เมืองใหญ่จะกลายเป็นศูนย์กลางของสภาพแวดล้อมเป็นพิษที่ 
ยิ่งใหญ่ที่สุด 
7. สภาพธรรมชาติที่เสียไปบางประการ ไม่สามารถแก้ไขให้ 
กลับคืนเข้าสู่สภาวะสมดุลได้ดังเดิม เช่นสัตว์ที่สูญพันธุ์ 
8. สภาพภูมิทัศน์ของโลกจะมีความแตกต่างน้อยลง เนื่องจากสัตว์ 
และพืชต้องสูญพันธุ์ เพราะทนความเป็นพิษของสภาพแวดล้อมไม่ได้
9. สัตว์บางชนิดทีมีวงจรชีวิตสั้น เช่น แมลง จะปรับตัวให้เข้ากับ 
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ และอาจเป็นภัยแก่มนุษย์ในที่สุด 
10. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่มีมากขึ้นในอนาคตทา ให้การ 
แก้ปัญหาหรือการควบคุมจะต้อง เป็นในระดับรัฐบาล 
11. ปัจจัยที่ทา ให้เกิดสภาพแวดล้อมเป็นพิษ จะทวีผลกระทบที่ร้ายแรง 
ยิ่งขึ้น
รัฐบาลจึงได้กา หนดให้มีการจัดทา รายงานการประเมินผล 
กระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้มีการดา เนินการมาตั้งแต่มี 
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2518 
และต่อมาได้มีการปรับปรุง แก้ไขเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริม 
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535
การจัดทา รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็น 
การศึกษาผลกระทบของกิจการที่เกิดขึ้น อันอาจส่งผลกระทบต่อ 
สภาวะแวดล้อมบริเวณพื้นที่โครงการ และรอบโครงการ โดยต้อง 
ทา การศึกษาข้อมูลหลายด้าน ได้แก่ 
- พืช สัตว์ ดิน น้า อากาศ 
- ผลกระทบต่อประชาชนในด้านต่างๆเช่น สภาพทางเศรษฐกิจ 
และ สังคมสุขภาพอนามัย 
- ความปลอดภัยของประชาชน
การจัดทา รายการการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นการ 
จัดทา รายงานที่คาดการณ์ถึงความ เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น ตาม 
หลักวิชาการโดยแสดงให้เห็นถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม 
และทรัพยากรต่างๆอย่างชัดเจน เเละจะต้องเสนอมาตรการการ 
ป้องกันเเละเเก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมรวมทั้งมีมาตรการติดตาม 
ตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้อย่างเหมาะสม
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมที่ทาการศึกษา 
ในการศึกษาองค์ประกอบต่างของสิ่งแวดล้อมเพื่อประเมินผล 
กระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการพัฒนาแต่ละโครงการจา เป็นต้อง 
ศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโดยมีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน สาหรับ 
ประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติยึด 
แนวทางในการศึกษาของ U.S. Corps of Engineer เพื่อใช้ในการศึกษา 
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีตัวแปรในการศึกษา 4 ระดับ ดังนี้… 
(สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2527 : 3-6)
ระดับที่ 1 ทรัพยากรทางกายภาพ (Physical Resources) 
เป็นทรัพยากรที่เกี่ยงข้องกับสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหลาย ได้แก่ 
- น้า ผิวดิน 
- น้า ใต้ดิน 
- อากาศ 
- ดิน 
- ธรณีวิทยา
การศึกษาผลกระทบทางด้านทรัพยากรกายภาพเป็นการศึกษา 
ถึงผลกระทบที่มีต่อสภาพภูมิประเทศของบริเวณ ที่ตั้งโครงการ และ 
พื้นที่โดยรอบ ลักษณะของดิน ธรณีวิทยา ทรัพยากร ทรัพยากรแร่ธาตุ 
ต่างๆ น้า บนผิวดิน น้า ใต้ดิน น้า ทะเล อากาศ เสียง และตัวแปรอื่นๆ ที่ 
เกี่ยวข้องกับกายภาพ เป็นการศึกษาด้วย การคาดการณ์ว่ากิจกรรมใดที่ 
อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางด้านลบ หรือเป็นการ 
เพิ่มปัญหา ผลกระทบจากโครงการ
ระดับที่ 2 ทรัพยากรทางด้านนิเวศน์วิทยา หรือ ทางชีวภาพ 
(Ecological or Biological Resources) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับ 
นิเวศวิทยาหรือสิ่งที่มีชีวิต ได้แก่ 
- ป่าไม้ 
- สัตว์ป่า 
- การประมง 
- นิเวศวิทยาทางน้า 
- สิ่งมีชีวิตที่หายาก
การศึกษาผลกระทบด้านทรัพยากรนิเวศวิทยา เป็น 
การศึกษาครอบคลุมทั้งพืชและสัตว์ในบริเวณ โครงการ 
และพื้นที่ใกล้เคียงโดยเน้นระบบนิเวศวิทยา ชนิด ปริมาณ 
และการแพร่กระจายของพืช และสัตว์ที่พบในพื้นที่ที่ศึกษา 
การอพยพย้ายถิ่นของประชากรสัตว์ ความสา คัญของพืช 
หรือสัตว์ที่หายาก
ระดับที่ 3 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ (Human Use Values) 
เป็นสิ่งแวดล้อมประเภทที่เกี่ยวกับการพัฒนาให้เกิดประโยชน์แก่ 
มนุษย์ เช่น 
- การใช้น้า ในการชลประทาน 
- การขนส่งทางบก ทางน้า และทางอากาศ 
- การป้องกันน้า ท่วม 
- การผลิตและส่งกระแสไฟฟ้า 
- ทรัพยากรธรณีและการทา เหมืองแร่ 
- การพัฒนาอุตสาหกรรม 
- การใช้และพัฒนาที่ดิน
การศึกษาผลกระทบด้านคุณค่าการใช้ประโยชน์ของ 
มนุษย์เป็นการสารวจและศึกษาถึงชีวิตความ เป็นอยู่ของ 
ประชาชนที่ใช้บริการต่างๆทั้งของภาครัฐและเอกชน เช่น การ 
ใช้น้า อุปโภคและบริโภค การคมนาคมและการขนส่ง การใช้ 
พลังงานไฟฟ้า โดยทา การศึกษาประเมินว่าโครงการดังกล่าว 
จะมีผลกระทบต่อสิ่งเหล่านี้หรือไม่
ระดับที่ 4 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต (Quality of Life Values) เป็นสิ่งแวดล้อม 
ที่เกี่ยวกับความเป็นอยู่มนุษย์เช่น 
- สภาพเศรษฐกิจและสังคม 
- การย้ายถิ่น 
- การสาธารณสุข 
- โบราณคดีและคุณค่าทางวัฒนธรรม 
- การท่องเที่ยว ความสวนงามตามธรรมชาติ และการพักผ่อนหย่อนใจ
การศึกษาผลกระทบด้านคุณค่าคุณภาพชีวิต ถือว่าเป็นส่วนสา คัญ 
ต่อระบบการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมมาก เพราะการที่ 
ประชาชนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีนั้นจะต้องมีองค์ประกอบ ด้าน 
สิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย การศึกษาในด้านนี้จะศึกษาเกี่ยวกับสภาพทางด้าน 
เศรษฐกิจและสังคม การสาธารณสุขและอาชีวอนามัย ขนบธรรมเนียม 
ประเพณีและวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวเเละนันทนาการ ตลอดจน 
ปัญหาความปลอดภัยของประชาชนในบริเวณใกล้เคียงโครงการ
อย่างไรก็ตาม ในการดา เนินงานตามโครงการพัฒนา 
ต่างๆทั้งในส่วนของภาครัฐและเอกชน ล้วนเเล้วแต่ต้องนา เอา 
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็นปัจจัยในการผลิตทั้งสิ้นและหากมี 
การนาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้อย่างไม่มีขอบเขต อาจ 
ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดมลพิษขึ้นได้ 
ดังนั้น ในการดา เนินการโครงการต่างๆ จึงต้องมีการจัดทา 
รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ประเภทของโครงการที่ต้องจัดทารายงานการประเมินผลกระทบ ได้แก่ 
1. โครงการประเภทโครงสร้างพื้นฐานและโครงการอื่นๆของรัฐ 
รัฐวิสาหกิจ และเอกชน จา แนกออกเป็น 
- โครงการท่าเทียบเรือเเละถมทะเล 
- โครงการท่าอากาศยาน 
- โครงการทางหลวงและทางด่วนพิเศษ 
- โครงการระบบขนส่งมวลชน 
- อื่นๆ เช่น โครงการก่อสร้างศูนย์การประมงชายฝั่งทะเลอันดามัน
2. โครงการพัฒนาแหล่งน้า 
3. โครงการพลังงาน 
4. โครงการด้านที่พักอาศัย บริการชุมชน และสถานที่พักตากอากาศ 
5. โครงการเหมืองแร่ 
6. โครงการด้านอุตสาหกรรม
ในอดีตที่ผ่านมา การดา เนินการตามโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ 
มักจะขึ้นอยู่กับผลการศึกษา ความเป็นไปได้ของโครงการที่มุ่งเน้น 
เฉพาะความเป็นไปได้ทางเทคนิคเเละเศรษฐกิจ และเเม้จะมี 
การศึกษา ผลกระทบทางสิ่งเเวดล้อมอยู่ด้วยก็ตาม แต่กระบวนการ 
ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมดังกล่าว มักจะมุ่งเน้นทางด้าน 
กายภาพและชีวภาพเป็นส่วนใหญ่ จนละเลยการศึกษาผลกระทบที่ 
อาจเกิดขึ้น ต่อสังคม โดยเฉพาะวิถีชีวิตของราษฎรและชุมชนใน 
พื้นที่โครงการ ทา ให้ได้รับการต่อต้านจากประชาชน ในพื้นที่จนเกิด 
ความเสียหายต่อโครงการ หรือต้องระงับโครงการนั้นๆไว้ชั่วคราว 
เช่นกรณีของเขื่อนปากมูล หรือ เขื่อนแก่งเสือเต้น
ดังนั้น เพื่อให้กระบวนการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 
พัฒนาขนาดใหญ่มีความถูกต้อง สมบูรณ์ยิ่งขึ้น หลายฝ่ายเห็นว่า ควรมี 
การศึกษาผลกระทบทางสังคมรวมอยู่ด้วย และควรเป็นการศึกษาที่ แยก 
ต่างหากจากการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อที่จะได้ทราบถึง 
ข้อมูลเกี่ยวกับวิธ๊ชีวิตของราษฎรและชุมชนที่อาจเกิดขึ้นจากการดา เนิน 
โครงการ เเละเพื่อเป็นการเสริมสร้างให้กระบวนการตัดสินใจของรัฐ 
เป็นไปด้วยความรอบคอบและเหมาะสมยิ่งขึ้น
วิธีการศึกษา 
1. เทคนิคการศึกษาที่ใช้ในการสารวจ การวิเคราะห์ รวมทั้งการประเมินผล 
กระทบสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้แบบจา ลองทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งระบุ 
ความเหมาะสมและข้อจา กัดของเทคนิคการศึกษา 
2. ขอบเขตพื้นที่ศึกษา ตามลักษณะ ขนาดที่คาดว่าโครงการทา ให้มี 
ผลกระทบและระบุขอบเขตพื้นที่สา รวจ การเก็บตัวอย่างตามเทคนิค 
การศึกษา พร้อมเสนอแผนที่ประกอบ 
3. ระยะเวลาการศึกษา การสารวจ ความถี่ และความสอดคล้องของฤดูกาล 
ตามเทคนิคการศึกษาที่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมทั้งมี 
ความสอดคล้องและสัมพันธ์กับการดา เนินโครงการ 
4. ที่มาของข้อมูล การอ้างอิงโดยให้กา กับประกอบหรือตารางด้วย
กฎหมาย นโยบาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 
1. กฎหมาย นโยบาย และระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับและกิจกรรม 
โครงการในแต่ละเรื่อง/หัวข้อการศึกษา 
2. ค่ามาตรฐาน ประกอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หาก 
ประเทศไทยกา หนดหรือประกาศใช้แล้ว ก็ให้ระบุมาตรฐานของ 
ประเทศ สา หรับมาตรฐานที่ประเทศไทยยังไม่มี ให้อ้างอิงของ 
ต่างประเทศที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทย โดยให้เสนอ 
เหตุผลประกอบด้วย
แนวความคิดในการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม 
แนวความคิดในการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของ 
เกษม จันทร์แก้ว (2525 :195) พอสรุปได้ดังนี้ 
1. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเป็นการตัดสินใจก่อนการพัฒนา 
2. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาเฉพาะกรณี เพื่อ 
ใช้สา หรับการตัดสินใจพัฒนาโครงการใดโครงการหนึ่ง
3. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาปัญหาที่ 
จะเกิดในอนาคตของโครงการพัฒนา 
4. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาปัญหา 
หลายๆแง่มุมเพื่อวิเคราะห์หาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น 
5. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยหลักการ 
ป้องกันสิ่งแวดล้อม 2 ประการ คือการวางแผนการใช้ที่ดิน และ 
การควบคุมมลพิษ
วัตถุประสงค์ของ EIA 
1. เพื่อจา แนกและคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
ที่อาจจะเกิดจากโครงการทั้งด้านบวกและลบ 
2. เพื่อป้องกันและแก้ไขผลกระทบทางลบ และปรับโครงการ 
ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ตั้งโครงการ ซึ่งจะสามารถช่วยให้มีทางเลือกมาตรการป้องกัน 
และแก้ไขผลกระทบที่มีค่าใช้จ่ายน้อยและมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติมากกว่าการ 
แก้ไขที่จะดา เนินการภายหลัง 
3. เป็นแนวทางในการกา หนดแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่างๆ 
เป็นการนา เสนอข้อมูลหรือทางเลือกในการดา เนินโครงการแก่เจ้าของโครงการ เพื่อใช้ 
ประกอบการวางแผนและตัดสินใจในการดา เนินโครงการ
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สาคัญและ 
แนวทางการประเมิน
1 . ด้านทรัพยากรกายภาพ 
(1) อุทกวิทยาน้าผิวดินและน้าใต้ดิน 
ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ 
- ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ปริมาณน้า ฝน 
- ลักษณะ ปริมาณและทิศทางการไหลของน้า ท่า รวมทั้งสภาพปัญหาในพื้นที่ 
โครงการและบริเวณใกล้เคียง และข้อมูลสภาพพื้นท้องน้า และภาพตัดขวางลา น้า 
- สภาพและปัญหาการกัดเซาะ ลักษณะและปริมาณตะกอนในแหล่งน้า ในพื้นที่ 
โครงการและในบริเวณใกล้เคียงที่ได้รับผลกระทบการโครงการ โดยกา หนดพื้นที่ 
บริเวณใกล้เคียงและพื้นที่ 
ถูกกัดเซาะ 
- สภาพ ปริมาณและทิศทางการไหลของน้า ใต้ดิน รวมทั้งการใช้ประโยชน์น้า ใต้ 
ดินในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียง
การประเมินผลกระทบอุทกวิทยาน้าผิวดินและน้าใต้ดิน 
- ผลกระทบที่เกิดจากโครงสร้างท่าเทียบเรือและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ 
การปรับและถมพื้นที่ หรือแหล่งน้า ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการและ 
บริเวณโดยรอบ โดยพิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นในฤดูแล้งและ 
ฤดูน้า หลาก 
- ผลกระทบซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ ความเร็ว 
ทิศทางการไหลของน้า รวมทั้งการกัดเซาะตลิ่งในพื้นที่โครงการ 
และบริเวณโดยรอบ
(2) คุณภาพน้าผิวดิน น้าทะเล และน้าใต้ดิน 
ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ 
- สภาพและปัญหาคุณภาพน้า ผิวดิน น้า ทะเล และน้า ใต้ดินในพื้นที่ 
โครงการและบริเวณใกล้เคียง รวมทั้งปัญหาการใช้น้า ผิวดินและน้า ใต้ดิน 
- แผนผังแสดงจุดเก็บตัวอย่างน้า และผลการวิเคราะห์คุณภาพน้า ของ 
ตัวอย่างน้า ดังกล่าวในบริเวณแหล่งน้า ที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการ 
- แหล่งกา เนิดน้า เสีย น้า อับเฉาจากเรือ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับท่าเทียบ 
เรือที่ทา ให้เกิดน้า เสีย รวมทั้งปริมาณและคุณลักษณะของน้า เสียดังกล่าว 
- ผังแสดงตา แหน่งระบบระบายของพื้นที่โครงการ
การประเมินผลกระทบคุณภาพน้าผิวดิน น้าทะเล และน้าใต้ดิน 
- ผลกระทบจากการชะล้างตะกอนจากสิ่งก่อสร้าง การพังทลาย 
ของดิน การปรับถมการขุดลอกหน้าท่าและร่องน้า เดินเรือ 
- ผลกระทบจากการปนเปื้อนหรือการระบายน้า เสียตจากกิจกรรม 
ของโครงการลงสู่แหล่งน้า ทา ให้ทีผลกระทบต่อคุณภาพน้า ใต้ 
ดิน น้า ผิวดิน และน้า ทะเล
(3) ด้านสมุทรศาสตร์ 
ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ 
- สภาพและปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง การทับถมของตะกอนหรือการ 
เปลี่ยนแปลงชายฝั่งหรือสภาพเดิมในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงใน 
อดีตโดยศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิ และ/หรือการเปรียบเทียบภาพถ่ายดาวเทียม 
หรือภาพถ่ายทางอากาศ 
- ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะสัณฐานของชายฝั่ง และความลาดชันพื้นท้องน้า 
- ข้อมูลทางด้านสมุทรศาสตร์ เช่น ระดับน้า ช่วงขึ้นและน้า ลง ทิศทาง/ 
ความเร็ว กระแสน้า และลม ลักษณะ/ขนาดและการเคลื่อนตัวของคลื่น 
รวมทั้งขนาด/ชนิดและเคลื่อนตัวของมวลทราย เป็นต้น
- ลักษณะรูปแบบของโครงสร้างและฐานรากของท่าเทียบเรือ 
- ที่ตั้ง ขนาดและความลาดเทของร่องน้า /การขุดลอกร่องน้า 
- ขอบเขต และวิธีการศึกษา รวมทั้งรายละเอียดแบบจา ลองทาง 
คณิตศาสตร์ที่เลือกใช้ เช่น ข้อมูลนา เข้าแบบจา ลอง(Input Data) ข้อมูล 
ที่ใช้ในการปรับแก้แบบจา ลอง(Calibrate) และข้อมูลที่ใช้ในการยืนยัน 
ความถูกต้องของแบบจา ลอง(Verify) สมมติฐาน ข้อจา กัด และความ 
เหมาะสมของแบบจา ลอง เป็นต้น 
- แผนผังแสดงเส้นเท่าระดับความลึกของน้า (ควรใช้ทั้งข้อมูลทุติย 
ภูมิและข้อมูลจากการสา รวจที่ครอบคลุมทุกฤดูกาล)
การประเมินผลกระทบด้านสมุทรศาสตร์ 
- พิจารณาผลกระทบในระดับพื้นที่(Local) และภาพรวม(Region) 
- ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทิศทาง ความเร็ว และระดับน้า รวมทั้งอิทธิพลของคลื่น 
ปริมาณการทับถมของตะกอน และการเคลื่อนตัวมวลทราย อันเนื่องจากโครงสร้าง 
ของโครงการกีดขวาดการไหลของน้า และมวลทราย 
- ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่ง การกัดเซาะ และการตกตะกอนที่เกิดจาก 
โครงการ พร้อมเปรียบเทียบกับสภาพชายฝั่งในปัจจุบันและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง 
ในอนาคตในระยะ 10 ปี และตา แหน่งพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบดังกล่าว 
- ศึกษาผลกระทบการแพร่กระจายหรือฟุ้งกระจายของตะกอนจากการขุดลอกและ 
ถมทะเลหรือแหล่งน้า รวมทั้งการทิ้งตะกอดดิน ตลอดจนศึกษาความเหมาะสมของจุด 
ทิ้งตะกอนดิน
(4) คุณภาพอากาศ 
ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ 
- ข้อมูลความเร็วและทิศทางลมของสถานีตรวจวัดอากาศบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ 
โครงการสัมพันธ์กับแหล่งกา เนิดมลพิษจากโครงการ และข้อมูลพื้นฐานอื่นๆที่ 
จา เป็น 
- แผนผังแสดงจุดเก็บตัวอย่างและผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ โดยพิจารณา 
เลือกจุดเก็บตัวอย่างที่ตั้งอยู่บริเวณเหนือลมและใต้ลมของพื้นที่โครงการ ทั้งนี้การ 
เก็บตัวอย่างดังกล่าวควรพิจารณาอย่างน้อยจุดละ 3 วัน และเป็นพื้นที่ที่ไวต่อการ 
ได้รับผลกระทบจากโครงการ รวมทั้งระบุลักษณะของภูมิอากาศและสภาพบริเวณ 
พื้นที่ในวันที่ตรวจวัดคุณภาพอากาศ เช่น อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น 
สัมพัทธ์ ทิศทางลม ความเร็วลม การก่อสร้างบริเวณใกล้เคียง เป็นต้น
- แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือกิจกรรมในพื้นที่ที่ไว 
ต่อการได้รับผลกระทบในแผนผังดังกล่าว 
- กิจกรรมที่ทา ให้เกิดมลพิษทางอากาศ เช่น การขนถ่ายสินค้า 
กิจกรรมก่อสร้าง
การประเมินผลกระทบคุณภาพอากาศ 
- ประเมินผลกระทบและระดับของมลพิษที่เกิดขึ้นในช่วงการก่อสร้าง 
เช่น ฝุ่น เป็นต้น 
- ประเมินปริมาณมลพิษจากการคมนาคมขนส่ง และการขนถ่ายสินค้า 
โดนพิจารณาลักษณะภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ 
- ประเมินระดับมลพิษในบริเวณพื้นที่ที่ไวต่อการได้รับผลกระทบ 
(Sensitive Receptor Areas) และชุมชนใกล้เคียงโครงการเปรียบเทียบกับ 
ค่ามาตรฐานที่กา หนด
(5) เสียง 
ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ 
แสดงจุดตรวจวัดระดับเสียง โรงคา นึงถึงระยะห่างจากแหล่งกา เนิด 
ของเสียงที่เกิดจากโครงการ พื้นที่ที่ไวต่อการได้รับผลกระทบจากเสียง 
รบกวน เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล อละชุมชนใกล้เคียงพื้นที่โครงการ 
ทั้งนี้การตรวจวัดระดับเสียงควรเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ประมาณ 
3-5 วัน และคา นวณระดับเสียงเป็นค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq24hr) และ 
ระดับเสียงกลางวัน - กลางคืน(Ldn) ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) โดยระบุ 
ลักษณะภูมิอากาศและกิจกรรมบริเวณพื้นที่ตรวจวัดในวันที่ทา การ 
ตรวจวัดระดับเสียง พร้อมแสดงแผนที่ตั้งของจุดตรวจวัดระดับเสียง
การประเมินผลกระทบทางเสียง 
ประเมินระดับเสียงจากโครงการทั้งในช่วงก่อสร้างและ 
ดา เนินการและประเมินผลกระทบของเสียงที่มีต่อพื้นที่ที่ไวต่อ 
การได้รับผลกระทบ(Sensitive Receptor Areas) และชุมชน ตาม 
ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ
2. สภาพแวดล้อมชีวภาพ 
ควรจา แนกชนิด/ประเภทของระบบนิเวศทั้งบนบกและในน้า 
รายละเอียดเกี่ยวกับการศึกษาจะขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทาง 
ชีวภาพในทะเล ในพื้นที่ป่าไม้ หรือในเขตชุมชน จะมีประเด็นที่ 
ควรศึกษาแตกต่างกัน เพื่อประเมินความสูญเสียทรัพยากรชีวภาพ 
และธรรมชาติ และสาหรับการวางแผนการใช้ที่ดินที่เหมาะรอบ 
โครงการด้วย
(1) นิเวศบนบก 
ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ 
- ลักษณะพื้นที่ชุ่มน้า / พืชพรรณและสัตว์ ชนิดของพันธ์เด่นที่ปรากฏ 
(Dominant Species) ความหลากหลาย ความสมบูรณ์ ความ 
หนาแน่น ร้อยละของเรือนยอดที่คลุมพื้นดิน 
- ระบุชนิดของพืชเศรษฐกิจที่พบ และคุณค่าทางเศรษฐกิจต่อท้องถิ่น 
และระบุหากมีพืชที่หายาก กรณีของสตัว์ป่าพิจารณาจา นวนประชากร 
ชนิดพันธ์เด่น(ตัวชี้วัด) ในท้องถิ่นก่อนดา เนินงานเป็นหลัก
- ชนิดและจา นวนของสัตว์ป่าที่พบ โดยการนับโดยตรง 
(Direct Count) และนับโดยทางอ้อม(Indirect Count) ข้อมูล 
ความหลากหลายของชนิดของสัตว์ป่าชนิดต่างๆทั้งสัตว์เลี้ยง 
ลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทิ้นน้า สะเทิ้นบก และนก 
เป็นต้น ควรเน้นสถานภาพประชากรในท้องถิ่น และชนิดพันธ์ 
เด่น ซึ้งเป็นตัวชี้วัดสภาพแวดล้อม 
- ระบุแหล่งที่อยู่ของสัตว์(Habitat Types) ชนิดต่างๆซึ่งควร 
จา แนกตามเขตพืชพรรณที่กา หนด
การประเมินผลกระทบนิเวศบนบก 
- ในกรณีที่เป็นพื้นที่ป่าไม้ คา นวณปริมาตรและปริมาณไม้ที่ต้อง 
ถูกตัด ประเมินความสูญเสียในเชิงเศรษฐกิจป่าไม้เมื่อเปรียบกับ 
ไม่มีโครงการ 
- ประเมินผลกระทบจากการทา ลายหรือรื้อถอนพืชพรรณที่ 
สา คัญและผลกระทบต่อการสูญเสียหรือเป็นอันตราย หรือการ 
เปลี่ยนแปลงแหล่งที่อยู่อาศัยใหม่ของสัตว์ 
- ประเมินผลกระทบต่อระบบนิเวศทางตรงและทางอ้อม
นิเวศนำ้
กำรประเมินนิเวศนำ้
ขั้นตอนการทา EIA 
ในระบบสากลกระบวนการ EIA มีขั้นตอนสา คัญ 5 ขั้นตอน 
แต่กระบวนการ EIA ของไทยยังไม่สมบูรณ์ครบถ้วน จึงเสนอให้ 
ปรับปรุงดังนี้
1. ขั้นกลนั่กรองโครงการ (screening) 
คือการตัดสินใจว่าโครงการประเภทใดขนาดใดต้องทา 
รายงาน EIA และควรทา รายงาน EIA ระดับใด รายงานผลการ 
กระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Initial Environmental Evaluation 
- IEE) หรือรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) 
ประเทศไทยกลั่นกรองโครงการด้วนการออกกฎกระทรวง 
กา หนดประเภทและขนาดโครงการที่ต้องทา รายงาน EIA ไว้ 
อย่างชัดเจนตายตัว แต่มีการจัดทา รายงาน IEE น้อยมาก
2. ขั้นกา หนดขอบเขตการศึกษา (scoping) 
เป็นขั้นตอนที่กา หนดว่ารายงาน EIA ควรศึกษาประเด็น 
อะไร และศึกษาให้ลุ่มลึกระดับใด โดยให้หน่วยงานต่างๆ และ 
ประชาชนให้ความคิดเห็นประกอบ ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มี 
ขั้นตอนนี้ ทา ให้รายงาน EIA ไม่ครอบคลุม ศึกษามากไปในบาง 
ด้าน น้อยไปในบางด้าน
3. ขั้นการจัดทา รายงาน EIA (EIA preparation) 
คือกระบวนการจัดทา ร่างรายงาน EIA ส่วนใหญ่จะมีการ 
นาร่างรายงานไปรับฟังความคิดเห็น จากประชาชนที่ 
เกี่ยวข้องเพื่อนามาปรับปรุงเป็นรายงาน EIA ในประเทศไทย 
การจัดทา รายงาน EIA เป็นภารกิจของเจ้าของโครงการและ 
นิติบุคคลที่ปรึกษา ที่เจ้าของโครงการจัดจ้าง ซึ่งอาจให้ 
ความสา คัญกับการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมมาก 
บ้างน้อยบ้าง
4. ขั้นการพิจารณารายงาน EIA (EIA review) 
ประเทศต่างๆมีระบบการพิจารณารายงาน EIA แตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่เปิดให้ 
หน่วยงานต่างๆและประชาชนมีโอกาสอ่านและให้ความเห็น ปัจจุบันการพิจารณารายงาน 
EIA ของไทยมี สผ. เป็นฝ่ายเลขานุการทั้งด้านบริหารจัดการและวิชาการกลั่นกรองรายงาน 
ก่อนนา เสนอคณะกรรมการผู้ชา นาญการ(คชก.) ซึ่งมีอา นาจหน้าที่ในการพิจารณาเห็นชอบ 
รายงาน (ในกรณีโครงการเอกชน ในกรณีโครงการของรัฐหรือโครงการร่วมทุนเป็นอา นาจ 
หน้าที่ของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พิจารณาเพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรี) 
กระบวนการพิจารณาอาศัยดุลยพินิจ คณะกรรมการผู้ชา นาญมากไป เป็นกระบวนการปิด 
ยังไม่มีการนา เสนอร่างรายงานต่อสาธารณชน นอกจากนั้นฝ่ายประชาชนเห็นว่าเป็นการ 
พิจารณาเพื่อ “เห็นชอบ” โครงการในที่สุด เพราะ คณะกรรมการผู้ชา นาญการ ไม่มีอา นาจ 
หน้าที่ในการพิจารณาให้ยุติโครงการ แต่ฝ่ายเจ้าของโครงการและนิติบุคคลที่ปรึกษาเห็นว่า 
การพิจารณาใช้เวลามากเกินไป
5. ขั้นการติดตามตรวจสอบ (monitoring) 
คือการติดตามตรวจสอบว่าโครงการต่างๆ ปฏิบัติตาม 
เงื่อนไขการป้องกันและ ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ระบุไว้ใน 
รายงาน EIA หรือไม่ และติดตามดูระบบ EIA ในภาพรวมว่า มี 
ประสิทธิภาพและจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร ปัจจุบันการติดตาม 
ตรวจสอบของไทย ยังไม่มีสภาพบังคับเท่าที่ควร และเป็น 
ขั้นตอนที่ได้รับความสนใจจากทุกฝ่ายน้อยมาก
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม

More Related Content

What's hot

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ป๊อก เบาะ
 
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
Nyzott Notty
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
Alongkorn WP
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
Jariya Jaiyot
 
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้งโครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
preawi
 

What's hot (20)

สรุป การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย ไม่ครบ
สรุป การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย ไม่ครบสรุป การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย ไม่ครบ
สรุป การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย ไม่ครบ
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
โครงงานมหรรศจรรย์น้ำเต้าหู้
 
ISO14001 Aspect Assessment
ISO14001 Aspect AssessmentISO14001 Aspect Assessment
ISO14001 Aspect Assessment
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้งโครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 

Viewers also liked

กระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมัน
กระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมันกระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมัน
กระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมัน
GreenJusticeKlassroom
 
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystemChapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
jarinyaicy
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
Junjira Wuttiwitchai
 

Viewers also liked (17)

การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
 
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIAคู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
 
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
กระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมัน
กระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมันกระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมัน
กระบวนการประชาพิจารณ์และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายเยอรมัน
 
Broch_LPS_Overview_W--1512-e
Broch_LPS_Overview_W--1512-eBroch_LPS_Overview_W--1512-e
Broch_LPS_Overview_W--1512-e
 
ppt
pptppt
ppt
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
 
รายงาน EHIA
รายงาน EHIAรายงาน EHIA
รายงาน EHIA
 
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystemChapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทยทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
 
Drawing Your career in business analytics and data science
Drawing Your career in business analytics and data scienceDrawing Your career in business analytics and data science
Drawing Your career in business analytics and data science
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
 

Similar to การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม

ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
weerabong
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
Thanyamon Chat.
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ป๊อก เบาะ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
Apinun Nadee
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jira Boonjira
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
Narong Jaiharn
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
juejan boonsom
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
krudararad
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Kru NoOk
 
Lepto flood officer
Lepto flood officerLepto flood officer
Lepto flood officer
Aimmary
 

Similar to การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม (20)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
103 Green Justice - Introduction
103 Green Justice - Introduction103 Green Justice - Introduction
103 Green Justice - Introduction
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.106_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
Lepto flood officer
Lepto flood officerLepto flood officer
Lepto flood officer
 

การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม

  • 2. ความหมายของผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environ Impact) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่หรือการจับกลุ่มใหม่ของสิ่งแวดล้อม ทั้งที่มนุษย์ สร้างขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ มีผลทา ให้สิ่งแวดล้อม เดิมหรือสิ่งแวดล้อมอื่นๆได้รับความกระทบกระเทือน จนมีผลทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีผลร้ายต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม นั้นๆ (เกษม จันทร์แก้ว:2525 :194)
  • 3. จากความหมายจะเห็นได้ว่า ผลกระทบนั้นเป็นอะไรก็ได้ ทั้งที่เป็น รูปธรรมและนามธรรม ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นมาแล้วจะทา ให้คุณภาพชีวิต ทั้งหลาย และคุณภาพสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่อยู่ในบริเวณนั้นได้รับผลกระทบ กระเทือนในระยะเวลาที่แตกต่างกันไม่มากก็น้อย เช่น การสร้างถนนใหม่มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรอื่นๆ ได้แก่ ป่าไม้ ดิน น้า แหล่งที่อยู่อาศัย ของสตัว์ป่า เกิดฝุ่นและไอเสียจากการคมนาคม ฯลฯ การเปลี่ยนแปลง เหล่านี้หากมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว จา เป็นต้องดา เนินการ อย่างจริงจังในการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ไม่ให้กระทบกระเทือน ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม
  • 4. EIA คืออะไร ? การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือ อีไอเอ (EIA) หมายถึง การชี้หรือแสดงให้เห็น รวมทั้งการทา นายหรือ คาดการณ์ เกี่ยวกับผลกระทบทางบวกและทางลบของโครงการพัฒนาที่ มีผลต่อสภาพแวดล้อมทุกๆด้าน ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านชีวภาพหรือ นิเวศวิทยา ด้านการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ และด้านคุณภาพชีวิต รวมทั้งการพิจาณาและเสนอมาตรการที่จะใช้ในการลดและป้องกัน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนแผนการตรวจสอบผละกระทบ สิ่งแวดล้อมของโครงการ เพื่อป้องกันผลเสียที่จะเกิดขึ้นด้วย
  • 5. ดังนั้นในกระบวนการประเมินผละกระทบสิ่งแวดล้อม นอกจาก จะแสดงให้เห็นผลกระทบอันเกิดจากการดา เนินโครงการแล้ว ยังเน้นให้มี การป้องกันด้านสิ่งแวดล้อมเข้าไปทุกขั้นตอนของการวางแผนและ ออกแบบโครงการด้วย หลักการก็คือให้มีการป้องกันไว้ก่อนนั่นคือ ให้มี การพิจารณาทางเลือกของโครงการเพื่อที่จะสามารถเปรียบเทียบ พิจารณา ทางเลือกที่มีผลกระทบทางลบน้อยที่สุด และให้ประโยชน์หรือผลกระทบ ในทางบวกมากที่สุด
  • 6. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ต้องแสดงขนาดระดับ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและตา แหน่งบริเวณหรือพื้นที่ที่ได้รับ ผลกระทบจากโครงการที่ชัดเจน พร้อมแสดงแผนผังประกอบ ทั้งนี้ ในแต่ละประเด็นการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ ขอบเขตพื้นที่การศึกษากฎหมาย หรือนโยบายและระเบียบที่ เกี่ยวข้องประกอบ ดังนี้
  • 7. ลักษณะและขอบเขตผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ผลกระทบชั่วคราวหรือผลกระทบถาวร - ผลกระทบระยะสั้นหรือผลกระทบระยะยาว สา หรับความสา คัญของผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลลัพธ์ของขนาด ของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมกับคุณค่าของสิ่งแวดล้อมนั้น พิจารณาว่า - การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมเกินกว่าระดับที่ยอมรับได้ (มาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ที่กา หนด)
  • 8. - ระยะการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม (เปรียบเทียบกับวงจรชีวิต ของสิ่งมีชีวิตหลัก ระบบนิเวศ และการรักษาสมดุลทางชีวภาพ) - ความสามารถในการฟื้นตัวของระบบสิ่งแวดล้อม - ลักษณะการสะสมของผลกระทบ - ขอบเขตพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ - การยอมรับของชุมชน และความจา เป็นในการเวนคืนที่ดิน - ค่าใช้จ่ายของโครงการกับผลประโยชน์ที่จะได้รับ
  • 9. กิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่ทาให้สิ่งแวดล้อมเสียสมดุล มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันมาเป็นระยะเวลาที่ ยาวนานเนื่องจากมนุษย์และสิ่งแวดล้อมต้องพึ่งพาอาศัยกันและกันแต่ ในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมได้ถูกทา ลายจนก่อให้เกิดผลกระทบและ ปรากฏการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ อันเกิดจากการกระทา ของมนุษย์เป็น หลักความต้องการปัจจัยสี่ในการดา รงชีวิตของมนุษย์ ก่อให้เกิด กิจกรรมต่างๆขึ้นมาอย่างมากมาย เช่น การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เป็นต้น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่ยับยั้งได้ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมากมาย เช่น การเกิดมลพิษ จนอาจทา ให้ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติให้ใช้อย่างเพียงพอในอนาคต
  • 10. กิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่ทา ให้สิ่งแวดล้อมเสียสมดุลมีแนวโน้ม ว่าอาจก่อให้เกิดผลกระทบในอนาคตที่มีลักษะดังนี้ 1. มีผลกระทบใหม่ๆเกิดขึ้น อันเป็นผลเนื่องมาจากการค้นพบ สารเคมีชนิดใหม่ที่มีความรุนแรงกว่าเดิม หรือการพัฒนาเทคนิคใน การฝังขยะลงไปใต้พื้นทะเล 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นเพิ่มความรุนแรงเสียหายมากขึ้น เช่น อากาศ เป็นพิษ ขยะเป็นพิษ เป็นต้น 3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นมีการแพร่ขยายออกไปอย่างกว้างขวาง จนแผ่ ขยายไปทั่วโลก
  • 11. 4. ระดับความเสียหายหรืออันตรายมีความซับซ้อนเเละส่งผล ทางอ้อมมากขึ้น เช่น ผลของอากาศเป็นพิษต่อป่าไม้ หรือการ เปลี่ยนแปลงในวิวัฒนาการของสตัว์ เป็นต้น 5. ผลกระทบที่มีต่อบุคคลเพิ่มมากขึ้น 6. เมืองใหญ่จะกลายเป็นศูนย์กลางของสภาพแวดล้อมเป็นพิษที่ ยิ่งใหญ่ที่สุด 7. สภาพธรรมชาติที่เสียไปบางประการ ไม่สามารถแก้ไขให้ กลับคืนเข้าสู่สภาวะสมดุลได้ดังเดิม เช่นสัตว์ที่สูญพันธุ์ 8. สภาพภูมิทัศน์ของโลกจะมีความแตกต่างน้อยลง เนื่องจากสัตว์ และพืชต้องสูญพันธุ์ เพราะทนความเป็นพิษของสภาพแวดล้อมไม่ได้
  • 12. 9. สัตว์บางชนิดทีมีวงจรชีวิตสั้น เช่น แมลง จะปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ และอาจเป็นภัยแก่มนุษย์ในที่สุด 10. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่มีมากขึ้นในอนาคตทา ให้การ แก้ปัญหาหรือการควบคุมจะต้อง เป็นในระดับรัฐบาล 11. ปัจจัยที่ทา ให้เกิดสภาพแวดล้อมเป็นพิษ จะทวีผลกระทบที่ร้ายแรง ยิ่งขึ้น
  • 13. รัฐบาลจึงได้กา หนดให้มีการจัดทา รายงานการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้มีการดา เนินการมาตั้งแต่มี พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2518 และต่อมาได้มีการปรับปรุง แก้ไขเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535
  • 14. การจัดทา รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็น การศึกษาผลกระทบของกิจการที่เกิดขึ้น อันอาจส่งผลกระทบต่อ สภาวะแวดล้อมบริเวณพื้นที่โครงการ และรอบโครงการ โดยต้อง ทา การศึกษาข้อมูลหลายด้าน ได้แก่ - พืช สัตว์ ดิน น้า อากาศ - ผลกระทบต่อประชาชนในด้านต่างๆเช่น สภาพทางเศรษฐกิจ และ สังคมสุขภาพอนามัย - ความปลอดภัยของประชาชน
  • 15. การจัดทา รายการการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นการ จัดทา รายงานที่คาดการณ์ถึงความ เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น ตาม หลักวิชาการโดยแสดงให้เห็นถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรต่างๆอย่างชัดเจน เเละจะต้องเสนอมาตรการการ ป้องกันเเละเเก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมรวมทั้งมีมาตรการติดตาม ตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้อย่างเหมาะสม
  • 16. องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมที่ทาการศึกษา ในการศึกษาองค์ประกอบต่างของสิ่งแวดล้อมเพื่อประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการพัฒนาแต่ละโครงการจา เป็นต้อง ศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโดยมีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน สาหรับ ประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติยึด แนวทางในการศึกษาของ U.S. Corps of Engineer เพื่อใช้ในการศึกษา ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีตัวแปรในการศึกษา 4 ระดับ ดังนี้… (สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2527 : 3-6)
  • 17. ระดับที่ 1 ทรัพยากรทางกายภาพ (Physical Resources) เป็นทรัพยากรที่เกี่ยงข้องกับสิ่งไม่มีชีวิตทั้งหลาย ได้แก่ - น้า ผิวดิน - น้า ใต้ดิน - อากาศ - ดิน - ธรณีวิทยา
  • 18. การศึกษาผลกระทบทางด้านทรัพยากรกายภาพเป็นการศึกษา ถึงผลกระทบที่มีต่อสภาพภูมิประเทศของบริเวณ ที่ตั้งโครงการ และ พื้นที่โดยรอบ ลักษณะของดิน ธรณีวิทยา ทรัพยากร ทรัพยากรแร่ธาตุ ต่างๆ น้า บนผิวดิน น้า ใต้ดิน น้า ทะเล อากาศ เสียง และตัวแปรอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับกายภาพ เป็นการศึกษาด้วย การคาดการณ์ว่ากิจกรรมใดที่ อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางด้านลบ หรือเป็นการ เพิ่มปัญหา ผลกระทบจากโครงการ
  • 19. ระดับที่ 2 ทรัพยากรทางด้านนิเวศน์วิทยา หรือ ทางชีวภาพ (Ecological or Biological Resources) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับ นิเวศวิทยาหรือสิ่งที่มีชีวิต ได้แก่ - ป่าไม้ - สัตว์ป่า - การประมง - นิเวศวิทยาทางน้า - สิ่งมีชีวิตที่หายาก
  • 20. การศึกษาผลกระทบด้านทรัพยากรนิเวศวิทยา เป็น การศึกษาครอบคลุมทั้งพืชและสัตว์ในบริเวณ โครงการ และพื้นที่ใกล้เคียงโดยเน้นระบบนิเวศวิทยา ชนิด ปริมาณ และการแพร่กระจายของพืช และสัตว์ที่พบในพื้นที่ที่ศึกษา การอพยพย้ายถิ่นของประชากรสัตว์ ความสา คัญของพืช หรือสัตว์ที่หายาก
  • 21. ระดับที่ 3 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ (Human Use Values) เป็นสิ่งแวดล้อมประเภทที่เกี่ยวกับการพัฒนาให้เกิดประโยชน์แก่ มนุษย์ เช่น - การใช้น้า ในการชลประทาน - การขนส่งทางบก ทางน้า และทางอากาศ - การป้องกันน้า ท่วม - การผลิตและส่งกระแสไฟฟ้า - ทรัพยากรธรณีและการทา เหมืองแร่ - การพัฒนาอุตสาหกรรม - การใช้และพัฒนาที่ดิน
  • 22. การศึกษาผลกระทบด้านคุณค่าการใช้ประโยชน์ของ มนุษย์เป็นการสารวจและศึกษาถึงชีวิตความ เป็นอยู่ของ ประชาชนที่ใช้บริการต่างๆทั้งของภาครัฐและเอกชน เช่น การ ใช้น้า อุปโภคและบริโภค การคมนาคมและการขนส่ง การใช้ พลังงานไฟฟ้า โดยทา การศึกษาประเมินว่าโครงการดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อสิ่งเหล่านี้หรือไม่
  • 23. ระดับที่ 4 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต (Quality of Life Values) เป็นสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวกับความเป็นอยู่มนุษย์เช่น - สภาพเศรษฐกิจและสังคม - การย้ายถิ่น - การสาธารณสุข - โบราณคดีและคุณค่าทางวัฒนธรรม - การท่องเที่ยว ความสวนงามตามธรรมชาติ และการพักผ่อนหย่อนใจ
  • 24. การศึกษาผลกระทบด้านคุณค่าคุณภาพชีวิต ถือว่าเป็นส่วนสา คัญ ต่อระบบการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมมาก เพราะการที่ ประชาชนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีนั้นจะต้องมีองค์ประกอบ ด้าน สิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย การศึกษาในด้านนี้จะศึกษาเกี่ยวกับสภาพทางด้าน เศรษฐกิจและสังคม การสาธารณสุขและอาชีวอนามัย ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวเเละนันทนาการ ตลอดจน ปัญหาความปลอดภัยของประชาชนในบริเวณใกล้เคียงโครงการ
  • 25. อย่างไรก็ตาม ในการดา เนินงานตามโครงการพัฒนา ต่างๆทั้งในส่วนของภาครัฐและเอกชน ล้วนเเล้วแต่ต้องนา เอา ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็นปัจจัยในการผลิตทั้งสิ้นและหากมี การนาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้อย่างไม่มีขอบเขต อาจ ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดมลพิษขึ้นได้ ดังนั้น ในการดา เนินการโครงการต่างๆ จึงต้องมีการจัดทา รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
  • 26. ประเภทของโครงการที่ต้องจัดทารายงานการประเมินผลกระทบ ได้แก่ 1. โครงการประเภทโครงสร้างพื้นฐานและโครงการอื่นๆของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน จา แนกออกเป็น - โครงการท่าเทียบเรือเเละถมทะเล - โครงการท่าอากาศยาน - โครงการทางหลวงและทางด่วนพิเศษ - โครงการระบบขนส่งมวลชน - อื่นๆ เช่น โครงการก่อสร้างศูนย์การประมงชายฝั่งทะเลอันดามัน
  • 27. 2. โครงการพัฒนาแหล่งน้า 3. โครงการพลังงาน 4. โครงการด้านที่พักอาศัย บริการชุมชน และสถานที่พักตากอากาศ 5. โครงการเหมืองแร่ 6. โครงการด้านอุตสาหกรรม
  • 28. ในอดีตที่ผ่านมา การดา เนินการตามโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ มักจะขึ้นอยู่กับผลการศึกษา ความเป็นไปได้ของโครงการที่มุ่งเน้น เฉพาะความเป็นไปได้ทางเทคนิคเเละเศรษฐกิจ และเเม้จะมี การศึกษา ผลกระทบทางสิ่งเเวดล้อมอยู่ด้วยก็ตาม แต่กระบวนการ ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมดังกล่าว มักจะมุ่งเน้นทางด้าน กายภาพและชีวภาพเป็นส่วนใหญ่ จนละเลยการศึกษาผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้น ต่อสังคม โดยเฉพาะวิถีชีวิตของราษฎรและชุมชนใน พื้นที่โครงการ ทา ให้ได้รับการต่อต้านจากประชาชน ในพื้นที่จนเกิด ความเสียหายต่อโครงการ หรือต้องระงับโครงการนั้นๆไว้ชั่วคราว เช่นกรณีของเขื่อนปากมูล หรือ เขื่อนแก่งเสือเต้น
  • 29. ดังนั้น เพื่อให้กระบวนการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ พัฒนาขนาดใหญ่มีความถูกต้อง สมบูรณ์ยิ่งขึ้น หลายฝ่ายเห็นว่า ควรมี การศึกษาผลกระทบทางสังคมรวมอยู่ด้วย และควรเป็นการศึกษาที่ แยก ต่างหากจากการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อที่จะได้ทราบถึง ข้อมูลเกี่ยวกับวิธ๊ชีวิตของราษฎรและชุมชนที่อาจเกิดขึ้นจากการดา เนิน โครงการ เเละเพื่อเป็นการเสริมสร้างให้กระบวนการตัดสินใจของรัฐ เป็นไปด้วยความรอบคอบและเหมาะสมยิ่งขึ้น
  • 30. วิธีการศึกษา 1. เทคนิคการศึกษาที่ใช้ในการสารวจ การวิเคราะห์ รวมทั้งการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้แบบจา ลองทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งระบุ ความเหมาะสมและข้อจา กัดของเทคนิคการศึกษา 2. ขอบเขตพื้นที่ศึกษา ตามลักษณะ ขนาดที่คาดว่าโครงการทา ให้มี ผลกระทบและระบุขอบเขตพื้นที่สา รวจ การเก็บตัวอย่างตามเทคนิค การศึกษา พร้อมเสนอแผนที่ประกอบ 3. ระยะเวลาการศึกษา การสารวจ ความถี่ และความสอดคล้องของฤดูกาล ตามเทคนิคการศึกษาที่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมทั้งมี ความสอดคล้องและสัมพันธ์กับการดา เนินโครงการ 4. ที่มาของข้อมูล การอ้างอิงโดยให้กา กับประกอบหรือตารางด้วย
  • 31. กฎหมาย นโยบาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. กฎหมาย นโยบาย และระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับและกิจกรรม โครงการในแต่ละเรื่อง/หัวข้อการศึกษา 2. ค่ามาตรฐาน ประกอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หาก ประเทศไทยกา หนดหรือประกาศใช้แล้ว ก็ให้ระบุมาตรฐานของ ประเทศ สา หรับมาตรฐานที่ประเทศไทยยังไม่มี ให้อ้างอิงของ ต่างประเทศที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทย โดยให้เสนอ เหตุผลประกอบด้วย
  • 32. แนวความคิดในการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม แนวความคิดในการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของ เกษม จันทร์แก้ว (2525 :195) พอสรุปได้ดังนี้ 1. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเป็นการตัดสินใจก่อนการพัฒนา 2. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาเฉพาะกรณี เพื่อ ใช้สา หรับการตัดสินใจพัฒนาโครงการใดโครงการหนึ่ง
  • 33. 3. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาปัญหาที่ จะเกิดในอนาคตของโครงการพัฒนา 4. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เป็นการศึกษาปัญหา หลายๆแง่มุมเพื่อวิเคราะห์หาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น 5. การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยหลักการ ป้องกันสิ่งแวดล้อม 2 ประการ คือการวางแผนการใช้ที่ดิน และ การควบคุมมลพิษ
  • 34. วัตถุประสงค์ของ EIA 1. เพื่อจา แนกและคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่อาจจะเกิดจากโครงการทั้งด้านบวกและลบ 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขผลกระทบทางลบ และปรับโครงการ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ตั้งโครงการ ซึ่งจะสามารถช่วยให้มีทางเลือกมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบที่มีค่าใช้จ่ายน้อยและมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติมากกว่าการ แก้ไขที่จะดา เนินการภายหลัง 3. เป็นแนวทางในการกา หนดแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่างๆ เป็นการนา เสนอข้อมูลหรือทางเลือกในการดา เนินโครงการแก่เจ้าของโครงการ เพื่อใช้ ประกอบการวางแผนและตัดสินใจในการดา เนินโครงการ
  • 36. 1 . ด้านทรัพยากรกายภาพ (1) อุทกวิทยาน้าผิวดินและน้าใต้ดิน ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ - ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ปริมาณน้า ฝน - ลักษณะ ปริมาณและทิศทางการไหลของน้า ท่า รวมทั้งสภาพปัญหาในพื้นที่ โครงการและบริเวณใกล้เคียง และข้อมูลสภาพพื้นท้องน้า และภาพตัดขวางลา น้า - สภาพและปัญหาการกัดเซาะ ลักษณะและปริมาณตะกอนในแหล่งน้า ในพื้นที่ โครงการและในบริเวณใกล้เคียงที่ได้รับผลกระทบการโครงการ โดยกา หนดพื้นที่ บริเวณใกล้เคียงและพื้นที่ ถูกกัดเซาะ - สภาพ ปริมาณและทิศทางการไหลของน้า ใต้ดิน รวมทั้งการใช้ประโยชน์น้า ใต้ ดินในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียง
  • 37. การประเมินผลกระทบอุทกวิทยาน้าผิวดินและน้าใต้ดิน - ผลกระทบที่เกิดจากโครงสร้างท่าเทียบเรือและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การปรับและถมพื้นที่ หรือแหล่งน้า ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการและ บริเวณโดยรอบ โดยพิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นในฤดูแล้งและ ฤดูน้า หลาก - ผลกระทบซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ ความเร็ว ทิศทางการไหลของน้า รวมทั้งการกัดเซาะตลิ่งในพื้นที่โครงการ และบริเวณโดยรอบ
  • 38. (2) คุณภาพน้าผิวดิน น้าทะเล และน้าใต้ดิน ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ - สภาพและปัญหาคุณภาพน้า ผิวดิน น้า ทะเล และน้า ใต้ดินในพื้นที่ โครงการและบริเวณใกล้เคียง รวมทั้งปัญหาการใช้น้า ผิวดินและน้า ใต้ดิน - แผนผังแสดงจุดเก็บตัวอย่างน้า และผลการวิเคราะห์คุณภาพน้า ของ ตัวอย่างน้า ดังกล่าวในบริเวณแหล่งน้า ที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการ - แหล่งกา เนิดน้า เสีย น้า อับเฉาจากเรือ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับท่าเทียบ เรือที่ทา ให้เกิดน้า เสีย รวมทั้งปริมาณและคุณลักษณะของน้า เสียดังกล่าว - ผังแสดงตา แหน่งระบบระบายของพื้นที่โครงการ
  • 39. การประเมินผลกระทบคุณภาพน้าผิวดิน น้าทะเล และน้าใต้ดิน - ผลกระทบจากการชะล้างตะกอนจากสิ่งก่อสร้าง การพังทลาย ของดิน การปรับถมการขุดลอกหน้าท่าและร่องน้า เดินเรือ - ผลกระทบจากการปนเปื้อนหรือการระบายน้า เสียตจากกิจกรรม ของโครงการลงสู่แหล่งน้า ทา ให้ทีผลกระทบต่อคุณภาพน้า ใต้ ดิน น้า ผิวดิน และน้า ทะเล
  • 40. (3) ด้านสมุทรศาสตร์ ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ - สภาพและปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง การทับถมของตะกอนหรือการ เปลี่ยนแปลงชายฝั่งหรือสภาพเดิมในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงใน อดีตโดยศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิ และ/หรือการเปรียบเทียบภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ - ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะสัณฐานของชายฝั่ง และความลาดชันพื้นท้องน้า - ข้อมูลทางด้านสมุทรศาสตร์ เช่น ระดับน้า ช่วงขึ้นและน้า ลง ทิศทาง/ ความเร็ว กระแสน้า และลม ลักษณะ/ขนาดและการเคลื่อนตัวของคลื่น รวมทั้งขนาด/ชนิดและเคลื่อนตัวของมวลทราย เป็นต้น
  • 41. - ลักษณะรูปแบบของโครงสร้างและฐานรากของท่าเทียบเรือ - ที่ตั้ง ขนาดและความลาดเทของร่องน้า /การขุดลอกร่องน้า - ขอบเขต และวิธีการศึกษา รวมทั้งรายละเอียดแบบจา ลองทาง คณิตศาสตร์ที่เลือกใช้ เช่น ข้อมูลนา เข้าแบบจา ลอง(Input Data) ข้อมูล ที่ใช้ในการปรับแก้แบบจา ลอง(Calibrate) และข้อมูลที่ใช้ในการยืนยัน ความถูกต้องของแบบจา ลอง(Verify) สมมติฐาน ข้อจา กัด และความ เหมาะสมของแบบจา ลอง เป็นต้น - แผนผังแสดงเส้นเท่าระดับความลึกของน้า (ควรใช้ทั้งข้อมูลทุติย ภูมิและข้อมูลจากการสา รวจที่ครอบคลุมทุกฤดูกาล)
  • 42. การประเมินผลกระทบด้านสมุทรศาสตร์ - พิจารณาผลกระทบในระดับพื้นที่(Local) และภาพรวม(Region) - ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทิศทาง ความเร็ว และระดับน้า รวมทั้งอิทธิพลของคลื่น ปริมาณการทับถมของตะกอน และการเคลื่อนตัวมวลทราย อันเนื่องจากโครงสร้าง ของโครงการกีดขวาดการไหลของน้า และมวลทราย - ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่ง การกัดเซาะ และการตกตะกอนที่เกิดจาก โครงการ พร้อมเปรียบเทียบกับสภาพชายฝั่งในปัจจุบันและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ในอนาคตในระยะ 10 ปี และตา แหน่งพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบดังกล่าว - ศึกษาผลกระทบการแพร่กระจายหรือฟุ้งกระจายของตะกอนจากการขุดลอกและ ถมทะเลหรือแหล่งน้า รวมทั้งการทิ้งตะกอดดิน ตลอดจนศึกษาความเหมาะสมของจุด ทิ้งตะกอนดิน
  • 43. (4) คุณภาพอากาศ ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ - ข้อมูลความเร็วและทิศทางลมของสถานีตรวจวัดอากาศบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ โครงการสัมพันธ์กับแหล่งกา เนิดมลพิษจากโครงการ และข้อมูลพื้นฐานอื่นๆที่ จา เป็น - แผนผังแสดงจุดเก็บตัวอย่างและผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ โดยพิจารณา เลือกจุดเก็บตัวอย่างที่ตั้งอยู่บริเวณเหนือลมและใต้ลมของพื้นที่โครงการ ทั้งนี้การ เก็บตัวอย่างดังกล่าวควรพิจารณาอย่างน้อยจุดละ 3 วัน และเป็นพื้นที่ที่ไวต่อการ ได้รับผลกระทบจากโครงการ รวมทั้งระบุลักษณะของภูมิอากาศและสภาพบริเวณ พื้นที่ในวันที่ตรวจวัดคุณภาพอากาศ เช่น อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น สัมพัทธ์ ทิศทางลม ความเร็วลม การก่อสร้างบริเวณใกล้เคียง เป็นต้น
  • 44. - แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือกิจกรรมในพื้นที่ที่ไว ต่อการได้รับผลกระทบในแผนผังดังกล่าว - กิจกรรมที่ทา ให้เกิดมลพิษทางอากาศ เช่น การขนถ่ายสินค้า กิจกรรมก่อสร้าง
  • 45. การประเมินผลกระทบคุณภาพอากาศ - ประเมินผลกระทบและระดับของมลพิษที่เกิดขึ้นในช่วงการก่อสร้าง เช่น ฝุ่น เป็นต้น - ประเมินปริมาณมลพิษจากการคมนาคมขนส่ง และการขนถ่ายสินค้า โดนพิจารณาลักษณะภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ - ประเมินระดับมลพิษในบริเวณพื้นที่ที่ไวต่อการได้รับผลกระทบ (Sensitive Receptor Areas) และชุมชนใกล้เคียงโครงการเปรียบเทียบกับ ค่ามาตรฐานที่กา หนด
  • 46. (5) เสียง ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ แสดงจุดตรวจวัดระดับเสียง โรงคา นึงถึงระยะห่างจากแหล่งกา เนิด ของเสียงที่เกิดจากโครงการ พื้นที่ที่ไวต่อการได้รับผลกระทบจากเสียง รบกวน เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล อละชุมชนใกล้เคียงพื้นที่โครงการ ทั้งนี้การตรวจวัดระดับเสียงควรเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ประมาณ 3-5 วัน และคา นวณระดับเสียงเป็นค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq24hr) และ ระดับเสียงกลางวัน - กลางคืน(Ldn) ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) โดยระบุ ลักษณะภูมิอากาศและกิจกรรมบริเวณพื้นที่ตรวจวัดในวันที่ทา การ ตรวจวัดระดับเสียง พร้อมแสดงแผนที่ตั้งของจุดตรวจวัดระดับเสียง
  • 47. การประเมินผลกระทบทางเสียง ประเมินระดับเสียงจากโครงการทั้งในช่วงก่อสร้างและ ดา เนินการและประเมินผลกระทบของเสียงที่มีต่อพื้นที่ที่ไวต่อ การได้รับผลกระทบ(Sensitive Receptor Areas) และชุมชน ตาม ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ
  • 48. 2. สภาพแวดล้อมชีวภาพ ควรจา แนกชนิด/ประเภทของระบบนิเวศทั้งบนบกและในน้า รายละเอียดเกี่ยวกับการศึกษาจะขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทาง ชีวภาพในทะเล ในพื้นที่ป่าไม้ หรือในเขตชุมชน จะมีประเด็นที่ ควรศึกษาแตกต่างกัน เพื่อประเมินความสูญเสียทรัพยากรชีวภาพ และธรรมชาติ และสาหรับการวางแผนการใช้ที่ดินที่เหมาะรอบ โครงการด้วย
  • 49. (1) นิเวศบนบก ข้อมูลประกอบการประเมินผลกระทบ - ลักษณะพื้นที่ชุ่มน้า / พืชพรรณและสัตว์ ชนิดของพันธ์เด่นที่ปรากฏ (Dominant Species) ความหลากหลาย ความสมบูรณ์ ความ หนาแน่น ร้อยละของเรือนยอดที่คลุมพื้นดิน - ระบุชนิดของพืชเศรษฐกิจที่พบ และคุณค่าทางเศรษฐกิจต่อท้องถิ่น และระบุหากมีพืชที่หายาก กรณีของสตัว์ป่าพิจารณาจา นวนประชากร ชนิดพันธ์เด่น(ตัวชี้วัด) ในท้องถิ่นก่อนดา เนินงานเป็นหลัก
  • 50. - ชนิดและจา นวนของสัตว์ป่าที่พบ โดยการนับโดยตรง (Direct Count) และนับโดยทางอ้อม(Indirect Count) ข้อมูล ความหลากหลายของชนิดของสัตว์ป่าชนิดต่างๆทั้งสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทิ้นน้า สะเทิ้นบก และนก เป็นต้น ควรเน้นสถานภาพประชากรในท้องถิ่น และชนิดพันธ์ เด่น ซึ้งเป็นตัวชี้วัดสภาพแวดล้อม - ระบุแหล่งที่อยู่ของสัตว์(Habitat Types) ชนิดต่างๆซึ่งควร จา แนกตามเขตพืชพรรณที่กา หนด
  • 51. การประเมินผลกระทบนิเวศบนบก - ในกรณีที่เป็นพื้นที่ป่าไม้ คา นวณปริมาตรและปริมาณไม้ที่ต้อง ถูกตัด ประเมินความสูญเสียในเชิงเศรษฐกิจป่าไม้เมื่อเปรียบกับ ไม่มีโครงการ - ประเมินผลกระทบจากการทา ลายหรือรื้อถอนพืชพรรณที่ สา คัญและผลกระทบต่อการสูญเสียหรือเป็นอันตราย หรือการ เปลี่ยนแปลงแหล่งที่อยู่อาศัยใหม่ของสัตว์ - ประเมินผลกระทบต่อระบบนิเวศทางตรงและทางอ้อม
  • 54. ขั้นตอนการทา EIA ในระบบสากลกระบวนการ EIA มีขั้นตอนสา คัญ 5 ขั้นตอน แต่กระบวนการ EIA ของไทยยังไม่สมบูรณ์ครบถ้วน จึงเสนอให้ ปรับปรุงดังนี้
  • 55. 1. ขั้นกลนั่กรองโครงการ (screening) คือการตัดสินใจว่าโครงการประเภทใดขนาดใดต้องทา รายงาน EIA และควรทา รายงาน EIA ระดับใด รายงานผลการ กระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Initial Environmental Evaluation - IEE) หรือรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) ประเทศไทยกลั่นกรองโครงการด้วนการออกกฎกระทรวง กา หนดประเภทและขนาดโครงการที่ต้องทา รายงาน EIA ไว้ อย่างชัดเจนตายตัว แต่มีการจัดทา รายงาน IEE น้อยมาก
  • 56. 2. ขั้นกา หนดขอบเขตการศึกษา (scoping) เป็นขั้นตอนที่กา หนดว่ารายงาน EIA ควรศึกษาประเด็น อะไร และศึกษาให้ลุ่มลึกระดับใด โดยให้หน่วยงานต่างๆ และ ประชาชนให้ความคิดเห็นประกอบ ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มี ขั้นตอนนี้ ทา ให้รายงาน EIA ไม่ครอบคลุม ศึกษามากไปในบาง ด้าน น้อยไปในบางด้าน
  • 57. 3. ขั้นการจัดทา รายงาน EIA (EIA preparation) คือกระบวนการจัดทา ร่างรายงาน EIA ส่วนใหญ่จะมีการ นาร่างรายงานไปรับฟังความคิดเห็น จากประชาชนที่ เกี่ยวข้องเพื่อนามาปรับปรุงเป็นรายงาน EIA ในประเทศไทย การจัดทา รายงาน EIA เป็นภารกิจของเจ้าของโครงการและ นิติบุคคลที่ปรึกษา ที่เจ้าของโครงการจัดจ้าง ซึ่งอาจให้ ความสา คัญกับการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมมาก บ้างน้อยบ้าง
  • 58. 4. ขั้นการพิจารณารายงาน EIA (EIA review) ประเทศต่างๆมีระบบการพิจารณารายงาน EIA แตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่เปิดให้ หน่วยงานต่างๆและประชาชนมีโอกาสอ่านและให้ความเห็น ปัจจุบันการพิจารณารายงาน EIA ของไทยมี สผ. เป็นฝ่ายเลขานุการทั้งด้านบริหารจัดการและวิชาการกลั่นกรองรายงาน ก่อนนา เสนอคณะกรรมการผู้ชา นาญการ(คชก.) ซึ่งมีอา นาจหน้าที่ในการพิจารณาเห็นชอบ รายงาน (ในกรณีโครงการเอกชน ในกรณีโครงการของรัฐหรือโครงการร่วมทุนเป็นอา นาจ หน้าที่ของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พิจารณาเพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรี) กระบวนการพิจารณาอาศัยดุลยพินิจ คณะกรรมการผู้ชา นาญมากไป เป็นกระบวนการปิด ยังไม่มีการนา เสนอร่างรายงานต่อสาธารณชน นอกจากนั้นฝ่ายประชาชนเห็นว่าเป็นการ พิจารณาเพื่อ “เห็นชอบ” โครงการในที่สุด เพราะ คณะกรรมการผู้ชา นาญการ ไม่มีอา นาจ หน้าที่ในการพิจารณาให้ยุติโครงการ แต่ฝ่ายเจ้าของโครงการและนิติบุคคลที่ปรึกษาเห็นว่า การพิจารณาใช้เวลามากเกินไป
  • 59. 5. ขั้นการติดตามตรวจสอบ (monitoring) คือการติดตามตรวจสอบว่าโครงการต่างๆ ปฏิบัติตาม เงื่อนไขการป้องกันและ ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ระบุไว้ใน รายงาน EIA หรือไม่ และติดตามดูระบบ EIA ในภาพรวมว่า มี ประสิทธิภาพและจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร ปัจจุบันการติดตาม ตรวจสอบของไทย ยังไม่มีสภาพบังคับเท่าที่ควร และเป็น ขั้นตอนที่ได้รับความสนใจจากทุกฝ่ายน้อยมาก