SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ข้อสรุปจากการระดมสมอง เวทีเครือข่ายคลังปัญญา
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม
: บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
v
1
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม
: บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
1. บทนำ
หากกล่าวถึงแนวทางการพัฒนา คนโดยส่วนมากรวมถึงนักเศรษฐศาสตร์มักมองว่าการพัฒนาที่
สาคัญที่สุด คือการพัฒนาในมิติทางเศรษฐกิจ ขณะเดียวกัน ก็มักมองข้ามในมิติของการพัฒนามนุษย์ว่า
เป็นสิ่งที่ไม่สาคัญ เนื่องจากการพัฒนาดังกล่าว ไม่สามารถจับต้องได้อย่างเป็นรูปธรรมเฉกเช่นเดียวกัน
กับมิติทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม บทความชิ้นนี้ จะชี้ให้เห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่พุ่งเป้าไปที่การ
พัฒนาในมิติทางเศรษฐกิจอย่างเดียวต่างหากที่เป็นกับดักต่อการพัฒนาในปัจจุบัน และเราควรให้
ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ โดยมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาด้านจิตใจ ที่ยึดเอามนุษย์เป็น
ศูนย์กลาง และผลักดันให้เกิดการเรียนรู้และการทาความเข้าใจในตัวมนุษย์ร่วมกัน เพื่อประโยชน์สุขแก่
ส่วนรวม ดังที่จะกล่าวในลาดับถัดไป
หากย้อนกลับไปที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสภาพัฒน์1 ฉบับแรกๆ จะเห็นว่าประเทศ
ไทยละเลยต่อแนวทางในการพัฒนามนุษย์ เพราะมัวแต่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาในมิติทางด้าน
เศรษฐกิจ ที่สนใจแต่ตัวเลข GDP2 และ GNP3 มากกว่าการพัฒนาศักยภาพและจิตใจของมนุษย์ จนย่าง
เข้าศตวรรษที่ 21 จึงเริ่มเห็นความสาคัญของแนวทางในการพัฒนามนุษย์ ผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมฉบับที่ 8 โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้ ได้ชื่อว่าเป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่
ให้ความสาคัญต่อการพัฒนามนุษย์มากกว่าทุกแผนที่ผ่านมา และต่อมาจึงได้เกิดปฏิญญาชะอา-หัวหิน4
ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือ(Collaboration) ซึ่งถือได้ว่าเป็นหลักการสาคัญในการพัฒนามนุษย์
จวบจนทุกวันนี้
ฉะนั้น แนวทำงกำรพัฒนำมนุษย์ผ่ำนกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration) จึงได้
เริ่มมีความสาคัญมาตั้งแต่นั้น ทั้งนี้การพัฒนามนุษย์ก็คือการพัฒนาสังคม ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจของประเทศ
1 สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
2 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (อังกฤษ: gross domestic product: GDP)
3 ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชำชำติ (อังกฤษ: Gross National Product :GNP)
4 ปฏิญญำชะอำ-หัวหินว่ำด้วยแผนงำนสำหรับประชำคมอำเซียน ปี ค.ศ. 2009 – 2015 เป็นตัวบทที่ประด้วยแผนงำน 3 ประเด็นสำคัญ
ได้แก่ 1.ด้ำนกำรเมืองและควำมมั่นคง 2.ด้ำนเศรษฐกิจ และ 3.สังคมและวัฒนธรรม ทั้งนี้ในประเด็นสำระสำคัญของปฏิญญำชะอำ-หัว
หิน ว่ำด้วยกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือนั้น ได้เน้นย้ำถึงบทบำทของกำรศึกษำ ซึ่งก็คือกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ในกำรสร้ำงประชำคม
อำเซียน ภำยในปี พ.ศ.2558
ถอดความจากการการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง “ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่มเพื่อการพัฒนาสังคมไทย” โดยคุณธรรมรักษ์ การพิ
สิษฏ์ อดีตผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11 สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ การแลกเปลี่ยนร่วมกันโดยเครือข่ายโครงการคลังปัญญาฯ จัดโดย
โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลับรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม 2558 เวลา 09.30 –
12.00 น. ณ ห้องประชุม Executive 2 โรงแรมรามาการ์เดนส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
v
2
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จะดีเพียงใด แต่ถ้าหากศักยภาพและจิตใจของคนในประเทศยังไม่ดี ผลประโยชน์โดยรวมของประเทศก็
จะไม่ถูกนามาใช้ในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ และนี่จึงเป็นที่มาของการศึกษาเนื้อหาในหนังสือ
Group Genius : The Creative Power of Collaboration หนังสือที่จะนาเสนอข้อสรุปจากงานวิจัยที่
ศึกษาพฤติกรรมและความสาเร็จที่ได้จากการร่วมมือกัน(Collaboration)ของมนุษย์ โดย Keith Sawyer
2. หนังสือ Group Genius : The Creative Power of Collaboration
สมมติฐานเบื้องต้นของหนังสือเล่มนี้ คือ ไม่เชื่อว่าความคิดสร้างสรรค์หรือความอัจฉริยะ
ทั้งหลาย จะเกิดจากคนเพียงคนเดียว (The Myth of Lone Genius) ทั้งนี้เขาคิดว่าคนเพียงคนเดียว
อาจจะสามารถคิดอะไรที่เป็นการประดิษฐ์ (Invention) ได้ แต่หากต้องการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ให้
กลายเป็นนวัตกรรม(Innovation) แล้ว เขาเชื่อว่ามันต้องเกิดมาจากการรวมตัวและความร่วมมือของคน
หลายคน(Collaboration) หรือที่เรียกว่าการเรียนรู้ร่วมกัน (Interactive Learning) โดยเขาค้นพบว่า
ความคิดของอัจฉริยะทั้งหลาย มักเกิดจากการร่วมมือกันโดยปราศจากการนัดแนะ(Improvise) หรือ
หากเรียกให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมไทยจะมีลักษณะคล้ายๆกับรูปแบบของ “การทอดผ้าป่า” ซึ่ง
เป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ในแนวราบ มิได้เกิดจากการวางแผน ไม่มีรูปแบบที่กาหนดตายตัว เกิด
จากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ผ่านการการร่วมมือกัน(Collaboration ) ซึ่งแนวทางดังกล่าวจะทาให้
เกิดประสิทธิผลที่สามารถพัฒนากลายเป็นนวัตกรรมใหม่ๆได้ โดยเขาได้ยกตัวอย่าง สถานการณ์คับขัน
ที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจหลายเรื่อง อาทิ การร่วมมือกันของชาวบ้านในการจัดการกับภูเขาไฟระเบิดใน
สมัยโบราณ ซึ่งเป็นรูปแบบความร่วมมือในแบบที่ไม่ได้เตรียมการล่วงหน้า หรืออย่างตอนที่น้าท่วม
กรุงเทพฯ ก็ได้มีการรวมตัวกันของประชาชนหลายกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือกันในแต่ละพื้นที่ ซึ่งหลากหลาย
ครั้ง เหตุการณ์ดังกล่าวได้ทาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆขึ้นมา
3. องค์ประกอบและปัจจัยในกำรพัฒนำมนุษย์ผ่ำนกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration)
จากที่กล่าวมาในข้างต้น จะเห็นได้ว่าความคิดที่จะนาไปสู่การพัฒนาเป็นนวัตกรรมใหม่ๆนั้น มัก
เกิดขึ้นจากการร่วมมือกัน ในที่นี้ จะนาเสนอองค์ประกอบและปัจจัยในการพัฒนามนุษย์ผ่านการ
เสริมสร้างความร่วมมือ(Collaboration) ทั้ง 7 ประการ ดังต่อไปนี้
1. ฟังอย่ำงตั้งใจ (Deep Listening)
การฟังอย่างตั้งใจ เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่หนังสือ Group Genius หยิบยกขึ้นมา
นาเสนอ ทั้งนี้ หากลองวิเคราะห์ในบริบทของสังคมไทย การที่เราจะฟังใคร มักมีเรื่องของ
สัมพันธภาพทางอานาจอยู่ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากหมอคิดว่าตนเองมีสัมพันธภาพทางด้าน
อานาจที่สูงกว่าคนไข้ หมอก็มีแนวโน้มที่จะไม่ฟังคนไข้ ขณะเดียวกัน ถ้าหากคนไข้คิดว่าตนเอง
มีสัมพันธภาพทางอานาจที่ต่ากว่าหมอ คนไข้ก็มีแนวโน้มที่จะฟังหมอ แต่ถ้าหากบุคคล 2 คน มี
อานาจเสมอกัน ทั้งสองฝ่ายก็มีแนวโน้มที่จะร่วมมือกัน และรับฟังซึ่งกันและกันได้อย่างมาก
ที่สุด
นอกจากปัญหาทางด้านสัมพันธภาพทางอานาจที่เป็นหนึ่งในอุปสรรคต่อการฟังอย่าง
ตั้งใจ(Deep Listening) ในสังคมไทยแล้ว อีกหนึ่งอุปสรรคต่อการพัฒนาในบริบทของสังคมไทย
v
3
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
คือการเน้นที่รูปแบบมากกว่าเนื้อหา ทั้งนี้เกิดจากการกาหนดแบบแผนที่มากจนเกินไป ทาให้
เป็นอุปสรรคต่อการรับฟังรูปแบบ หรือเนื้อหาใหม่ๆ ยกตัวอย่าง ระเบียบของข้าราชการไทย
เป็นต้น
2. ให้เวลำกับควำมคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ
ควรให้เวลากับความคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ ในที่นี้ จะยกตัวอย่าง การคิดค้น ออกแบบ
และสร้างเครื่องบินของพี่น้องตระกูลไรท์ (Wright brothers) โดยเมื่อพี่น้องตระกูลไรท์สร้าง
เครื่องบินเสร็จ เครื่องบินได้กลายเป็นสิ่งประดิษฐ์(Invention) แต่เมื่อเวลาผ่านไป กระบวนการ
สร้างและผลิตเครื่องบินได้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพาณิชย์(Commercialize) ทาให้
เครื่องบินถูกพัฒนาและต่อยอดจนกลายเป็นนวัตกรรม(Innovation) ที่ก้าวหน้าและมี
ประสิทธิภาพอย่างทุกวันนี้ ฉะนั้น เราจะเห็นได้ว่ากระบวนการที่ทาให้เกิดนวัตกรรมอันมี
ประสิทธิภาพนั้น มักไม่ได้เกิดจากคนเพียงแค่คนหรือสองคนเท่านั้น
3. ให้ดำเนินกำรและใช้ควำมคิดในกำรต่อยอดร่วมกันอย่ำงต่อเนื่อง
4. โดยในที่สุดควำมคิดจะมีควำมชัดเจนยิ่งขึ้น
5. ควรหมั่นตั้งคำถำมใหม่ๆอยู่เสมอ
ในกระบวนการแลกเปลี่ยนความคิด ควรหมั่นตั้งคาถามใหม่ๆ ที่ก่อให้เกิดความคิด
สร้างสรรค์ มากกว่าเสียเวลาไปกับการแก้ไขปัญหาเดิมๆ
6. ควรให้เวลำกับกำรประเมินและรวบรวมเอำควำมคิดมำใช้ให้เกิดประโยชน์
ในกระบวนการแลกเปลี่ยนความคิด มักมีความคิดจานวนมากที่ไม่ถูกนามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ อันเนื่องมาจากไม่มีเวลาในการประเมินและคัดแยกความคิดเหล่านั้น ฉะนั้น จึงควรให้
เวลากับการประเมินเพื่อจะได้นาความคิดดังกล่าวมารวบรวมและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
7. ควำมคิดสร้ำงสรรค์มักเกิดจำกกระบวนกำรที่มำจำกควำมสัมพันธ์ในแนวจำกฐำนขึ้น
สู่ยอดหรือล่ำงขึ้นบน(Down/Bottom – Up)
การเกิดขึ้นของความคิดสร้างสรรค์มักเกิดจากความสัมพันธ์ในแนวจากฐานขึ้นสู่ยอด
หรือในแนวล่างขึ้นบน(Down/Bottom – Up) มิได้เกิดจากจากความสัมพันธ์ในแนวบนลงล่าง
(Top-Down/ Bottom) เหมือนกับบริบทส่วนมากในสังคมไทย ทั้งนี้ มักเกิดจากการร่วมมือกัน
โดยปราศจากการนัดแนะ(Improvise) หรืออย่างที่เกริ่นไว้ในตอนต้นว่า เปรียบเหมือนกับ
กระบวนการทอดผ้าป่าสามัคคีในสังคมไทย โดยกระบวนการดังกล่าวได้ก่อให้เกิดกระบวนการ
การเรียนรู้ร่วมกัน(Collaboration) อันจะนาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆในสังคม ฉะนั้น
การพัฒนาสิ่งใหม่ๆ จะไม่สามารถกาหนด(Dictate)อะไรได้ แต่จะอยู่ที่การทาให้มนุษย์กลายเป็น
ศูนย์กลาง หรือ กระบวนในการเสริมสร้างศักยภาพในเชิงราบให้แก่มนุษย์นั่นเอง (Empower
Human in horizon)
จำกที่กล่ำวมำในข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำองค์ประกอบและปัจจัยต่ำงๆที่จะทำให้เกิดกำร
พัฒนำมนุษย์ผ่ำนกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration) ค่อนข้างจะสอดคล้องกับหลักการใน
v
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กำรระดมสมอง(Brain Strom) โดยหลักการในการระดมสมองเป็นการระดมความคิด และความคิดเห็น
ของส่วนรวม ไม่มีใครที่โดดเด่นไปกว่าใคร และผลลัพธ์ที่ได้ก็คือความคิดของส่วนรวมเช่นกัน โดย
หลักการของการระดมสมองที่เคยมีมา คือ ห้ามวิจารณ์และตาหนิความคิดซึ่งกันและกัน เนื่องจากแต่ละ
คนจะได้กล้านาเสนอความคิดของตัวเอง นอกจากนี้ ควรคิดนอกกรอบ ควรกาหนดเวลาในการแบ่งปัน
ความคิดให้เท่ากัน ควรมีกติกาที่ชัดเจน ควรต่อยอดความความคิดของกันและกัน ซึ่งปริมาณความคิด
สาคัญกว่าคุณภาพของความคิด เป็นต้น
4. ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะต่อแนวทำงกำรสร้ำงควำมร่วมมือผ่ำนกระบวนกำรระดมสมอง
หนังสือ Group Genius: The Creative Power of Collaboration ได้นาเสนอข้อจากัดและ
ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการสร้างความร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมอง(Brain Strom) หลายประการ
อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ดังต่อไปนี้
1. ภำวะที่กำรผลิตทำงควำมคิดถูกปิ ดกั้น (Production Blocking)
ภาวะที่การผลิตทางความคิดถูกปิดกั้น (Production Blocking) มักเกิดจากการที่แต่ละ
คนต้องรับฟังบุคคลอื่นตลอดเวลา(Deep Listening) จึงทาให้แต่ละคนมีเวลาผลิตความคิดของ
ตนเองอันจะเป็นความคิดใหม่ๆน้อยลง และถ้าหากอยู่ในกลุ่มที่มีจานวนคนที่เยอะมาก ก็จะยิ่ง
ทาให้แต่ละคนมีเวลาในการผลิตความคิดและนาเสนอความคิดของตนเองน้อยลงกว่าเดิมอีก
ฉะนั้น ความสามารถในการผลิตความคิดที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล(productivity)ก็จะ
น้อยลงเช่นกัน ทั้งนี้หนังสือ Group Genius ได้นาเสนอให้แต่ละคนคิดประเด็นที่ต้องการจะ
นาเสนอมาก่อน แล้วค่อยกลับมาระดมสมองกันอีกครั้งหนึ่ง
2. กำรแบ่งและแยกตัวออกจำกสังคม (Social Division)
การแบ่งและแยกตัวออกจากสังคม (Social Division) เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้
ความสามารถในการผลิตความคิดที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล(productivity)ตกต่าลง อัน
เนื่องมาจากบางคนเก็บงาความคิดของตัวเองไว้ เพราะเกรงว่าบุคคลอื่นจะนาความคิดของ
ตนเองไปคิดต่อยอด และลิขสิทธิ์จะไม่ตกเป็นของตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในอุปสรรคที่ขัดขวาง
การพัฒนาและแปรสภาพสิ่งประดิษฐ์สู่นวัตกรรมใหม่ๆได้ ยกตัวอย่างเช่น การคิดค้นและผลิต
เครื่องบินของพี่น้องตระกูลไรท์ กว่าจะถูกพัฒนาให้กลายเป็นอุตสาหกรรมพาณิชย์ ที่สร้าง
ประโยชน์และให้บริการแก่คนจานวนมากดังเช่นในปัจจุบันนั้น ต้องใช้ระยะเวลานาน เนื่องจาก
การติดลิขสิทธิ์ทางด้านปัญญา เป็นต้น
3. กำรเกี่ยงงำนและกินแรงกัน (Social Loafing)
การเกี่ยงงานและกินแรงกัน (Social Loafing) มักเกิดกับกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ อาทิ การ
ทางานในรัฐสภา ซึ่งอาจจะเกิดปรากฎการณ์ที่หลายคนไม่ยอมนาเสนอความคิดของตนเอง และ
ไหลไปตามความคิดของคนอื่น ปรากฏการณ์เช่นนี้มักเกิดกับบุคคลที่ชอบและให้คุนค่ากับการ
ทางานคนเดียว มากกว่าการทางานเป็นกลุ่ม
v
5
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4. เหมำะสมกับรูปแบบกำรทำงำนบำงประเภทเท่ำนั้น
ในแนวทางการสร้างความร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมองนั้น หนังสือ Group
Genius นาเสนอว่าควรเลือกใช้การทางานในรูปแบบนี้กับประเภทของงานที่เหมาะสม เช่น
ประเภทงานที่มีลักษณะซับซ้อน และต้องอาศัยความร่วมมือกัน ทั้งนี้ ประเภทงานที่ไม่ควรใช้
คือ กลุ่มงานประเภทที่มีกระบวนการทางานแบบเพิ่มเติม เป็นรูปแบบงานประเภทที่ไม่ต้องมี
การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาและรูปแบบอะไรมาก และสามารถแยกส่วนกันทาได้ เป็นต้น
5. ไม่เหมำะสมกับรูปแบบกำรทำงำนที่มีสมำชิกจำนวนมำก
จานวนของสมาชิกที่มากเกินไปอาจจะเป็นอุปสรรคต่อแนวทางการสร้างความร่วมมือ
ผ่านกระบวนการระดมสมอง ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากใช้หลัการสร้างความร่วมมือผ่าน
กระบวนการระดมสมองกับกระบวนการทางานในรัฐสภาอาจจะมีความเป็นไปได้ยาก อัน
เนื่องมาจากจานวนสมาชิกที่มากเกินไปจะทาให้เกิดภาวะที่การผลิตทางความคิดถูกปิดกั้น
(Production Blocking) หรืออาจเกิดปรากฎการณ์เกี่ยงงานและกินแรงกัน (Social Loafing)
ดังที่ได้กล่าวไปในข้างต้นได้
6. กำรขำดปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อแนวทำงกำรระดมสมอง
สภาพแวดล้อมโดยส่วนมากในสังคมไทยมักไม่เอื้ออานวยต่อแนวทางการสร้างความ
ร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมอง หลายครั้งที่มีการคิดและวิเคราะห์กันอย่างต่อเนื่อง แต่ไม่
สามารถทาการประเมิน(Reflective) และรวบรวมประเด็นจนสามารถสังเคราะห์ออกมาเป็น
เนื้อหาและนวัตกรรมใหม่ๆได้ ด้วยเหตุนี้ การมีสิ่งที่เอื้ออานวยต่อกระบวนการระดมสมองที่ดีจึง
จึงเป็นสิ่งสาคัญ ยกตัวอย่างสิ่งที่เอื้ออานวยต่อกระบวนการระดมสมองอย่างหนึ่งที่สาคัญ คือ
การมีสื่อสารสนเทศที่ดีเพื่อช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ อาทิ วีดีทัศน์ เกม สไลด์ เป็นต้น
นอกจากปัจจัยด้านสื่อสารสนเทศในข้างต้นแล้ว ปัจจัยด้านบุคลากรก็สาคัญ อย่างถ้า
หากได้บุคลากรอย่างเช่น อาจารย์ หัวหน้า ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการระดมสมอง มา
ดาเนินการเป็นตัวกลางในการจัดการระดมสมอง ก็จะสามารถดึงเอาความคิด ประสบการณ์และ
องค์ความรู้ ออกมาจากผู้เข้าร่วมได้อย่างก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
7. เหมำะสมกับกลุ่มคนที่มีควำมรู้และควำมเชี่ยวชำญต่อกำรทำงำนประเภทเดียวกัน
ใกล้เคียงกัน หรือเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อกันเท่ำนั้o
การสร้างความร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมอง คือกระบวนการในการรวบรวมเอา
ความคิดออกมาจากแต่ละบุคคล ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด สมาชิกในกลุ่มควรมีความรู้และ
ความเชี่ยวชาญต่อการทางานประเภทเดียวกัน ใกล้เคียงกัน หรือเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกัน
อันจะทาให้เกิดโครงข่ายของความร่วมมือที่สามารถต่อยอดความคิดของแต่ละบุคคลได้ อาทิ
การให้นักการทูตรวมกลุ่มระดมสมองกับนักวิชาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อ
ค้นหาแนวทางในการวางยุทธศาสตร์นโยบายระหว่างประเทศนั้นเป็นเรื่องที่เหมาะสม
ขณะเดียวกัน ถ้าหากให้นักการทูตรวมกลุ่มกับหัวหน้าผู้รับเหมาก่อสร้าง หรือชาวนา ที่มีความรู้
v
6
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความเชี่ยวชาญ และความถนัดที่แตกต่างกัน เพื่อค้นหาแนวทางในการวางยุทธศาสตร์นโยบาย
ระหว่างประเทศนั้น ก็อาจจะเป็นกระบวนการการรวมกลุ่มระดมสมองที่ไม่เหมาะสมนัก
ทั้งนี้ ในการรวมกลุ่มระดมสมองของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ควรให้ได้มาซึ่งโครงข่ายของ
ความร่วมมือที่สามารถต่อยอดความคิดและพัฒนาไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆได้ อาทิ การรวมตัวกัน
ของผู้ผลิต ผู้ขาย และผู้บริโภค ในการต่อยอดความคิด เพื่อพัฒนาสินค้าและผลิตภัณท์ไปสู่
นวัตกรรมใหม่ๆ ผ่านเครือข่ายต่างๆ ทั้งเครือข่ายสังคมออนไลน์ และกลุ่มสมาคมการค้าต่างๆ
เป็นต้น
8. ควำมสำมำรถในกำรผลิตควำมคิดที่มีประสิทธิภำพอันจะนำไปสู่กำรสร้ำงนวัตกรรม
ใหม่ๆมักไม่สำมำรถเกิดขึ้นได้จำกกำรสร้ำงควำมร่วมมือด้วยกำรจัดกำรระดมสมอง
เพียงครั้งเดียว
ความสามารถในการผลิตความคิดที่มีประสิทธิภาพอันจะนาไปสู่การสร้างนวัตกรรม
ใหม่ๆมักไม่สามารถเกิดขึ้นได้จากการสร้างความร่วมมือด้วยการจัดการระดมสมองเพียงครั้ง
เดียว ดังที่ได้กล่าวไปในข้างต้น ทั้งนี้ ควรบูรณาการรูปแบบของการระดมสมองให้เป็นส่วนหนึ่ง
กับองค์กร หรือกระบวนการทางาน อาทิ ควรทาให้กระบวนการระดมสมองเป็นกระบวนการ
ทางานที่เรียนรู้จากกิจกรรมที่สามารถปฏิบัติได้จริง และเป็นส่วนหนึ่งกับวัฒนธรรมองค์กร เป็น
ต้น
5. แง่คิดและข้อสังเกตต่อแนวทำงกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration)ภำยใต้บริบทของ
สังคมไทย
1. สังคมไทยมักยึดติดกับแนวทำงกำรทำวิจัยและพัฒนำ (Research & Development )
แบบเก่ำมำกจนเกินไป
แนวทางการพัฒนาในบริบทของสังคมไทย ณ ขณะนี้ มักให้ความสาคัญกับแนวทางการ
ทาวิจัยและพัฒนา (Research & Development )เพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นรูปแบบของการทางาน
ที่แยกส่วน ขาดการเชื่อมโยงและพัฒนาเครือข่าย อันจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาและต่อยอด
ไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆ ทั้งนี้ จึงได้มีการนาเสนอแนวทางรูปแบบใหม่ที่เปลี่ยนไปจากเดิม คือ แนว
ทางการเชื่อมความสัมพันธ์และพัฒนา(Connect & Develop) ซึ่งแนวทางนี้จะเป็นแนวทางที่
สนับสนุนความร่วมมือและเชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ต่อยอดไปสู่การคิดค้น
นวัตกรรมใหม่ๆได้
ในที่นี้ คุณอาทิตย์ โกวิทวรางกูร กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมดิคราฟท์ จากัด ได้
ยกตัวอย่าง กรณีศึกษาการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการพัฒนาของบริษัทพีแอนด์จี (P&G)
บริษัทข้ามชาติผู้ผลิตและจาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคจากสหรัฐอเมริกา เมื่อ 10 กว่าปีก่อน
โดยบริษัทพีแอนด์จีได้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การทางานอย่างหนึ่งที่สาคัญ คือการ
ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการพัฒนา จากเดิมที่มุ่งเน้นไปที่การทาวิจัยและพัฒนา (Research
& Development ) ไปสู่การพัฒนาในรูปแบบของการเชื่อมความสัมพันธ์และพัฒนา(Connect &
v
7
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Develop) เพื่อให้ก้าวทันต่อความหลากหลาย และความเข้าใจในตัวผู้บริโภคมากขึ้น ภายใต้โลก
ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน โดยมีการวางแนวทางต่างๆเพื่อรวบรวมเอาความคิดและ
องค์ความรู้ใหม่ๆ ที่กระจัดกระจายนาไปพัฒนาและต่อยอดสู่นวัตกรรม ผ่านการจัดตั้งการ
ประกวด รวมถึงการย้ายฝ่ายวิจัยและพัฒนา (Research & Development ) จากเดิมที่ประจาอยู่
ภายในศูนย์ปฏิบัติการ ให้ออกไปประจาอยู่ตามสถานที่ต่างๆ อาทิ สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย
ชั้นนาทั่วโลก
2. ระบอบอุปถัมภ์อันเป็นหนึ่งในปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อกำรพัฒนำแนวทำงกำร
เสริมสร้ำงควำมร่วมมือให้เกิดในสังคมไทย
ระบอบอุปถัมค์เป็นระบอบที่หยั่งรากลึกในสังคมไทย เป็นระบอบที่ก่อให้เกิดรูปแบบ
ความสัมพันธ์เชิงอานาจในแนวดิ่งกับทุกภาคส่วน ทั้งระบอบราชการ กองทัพ โรงเรียน ห้างร้าน
หรือแม้แต่ในครอบครัว โดยรูปแบบความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นรูปแบบที่เป็นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผ่านการเสริมสร้างความร่วมมืออันจะเป็นหนทางที่นาไปสู่ความคิด
สร้างสรรค์ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
ทั้งนี้คุณพงศ์โพยม วาศภูติ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้มีการนาเสนอแนวทางใน
การจัดการต่ออุปสรรคดังกล่าว ด้วยความพยายามในการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของคน และ
เสริมสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่ ยกตัวอย่าง ความพยายามในการเสริมสร้างวัฒนธรรมการรักษา
ความสะอาดของงานชุมนุมทางการเมืองกลุ่มหนึ่งที่มีกลุ่มผู้ชุมนุมจานวนเกือบแสนคน เป็นต้น
และอีกหนึ่งตัวอย่างที่สาคัญโดยนายแพทย์ ประเวศ วะสี คือ โครงการวิจัย Routine to
Research (R2R) ที่มีเป้าหมายในการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการทางานเก่าๆ ผ่าน
กระบวนการวิจัย โดยความสาเร็จอย่างหนึ่งที่เห็นเป็นรูปธรรมคือ การเสริมสร้างความร่วมมือ
และความเข้าใจทางด้าน สาธารณสุขในทุกฝ่าย ทั้งแพทย์ พยาบาล บุรุษพยาบาล รวมไปถึง
คนไข้ โดยอาศัยหลักในการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกันทุกคน ผ่านการรื้อ
ถอนมายาคติเรื่องความไม่เท่าเทียม โดยเชื่อว่าทุกคนมีประสบการณ์ชีวิตที่แตกต่างต่างกัน
ดังนั้นเราทุกคนจึงควรเคารพในประสบการณ์ที่แตกต่างกัน จนในปัจุบันนี้ ได้เกิดระบบสุขภาพ
ชุมชนขึ้นในหลายที่ ทั้งโรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย ฯลฯ เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการ
รักษาพยาบาลได้อย่างทั่วถึง
3. ควรปรับเปลี่ยนแนวทำงกำรสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration)ให้เข้ำกับบริบทของ
สังคมไทย
โดยส่วนมากเรามักรับทฤษฎีของตะวันตกมาใช้ โดยขาดการวิเคราะห์ถึงเงื่อนไขที่
แตกต่างกันในแต่ละบริบททางพื้นที่และสังคม ทั้งนี้ จากการที่ได้วิเคราะห์ถึงบริบทโครงสร้าง
ของสังคมไทยโดยศาสตราจารย์ ดร. จานง สรพิพัฒน์ กรรมการบริหาร สมาคมวิจัยวิทยาการ
ขนส่งแห่งเอเชีย จะเห็นได้ว่าโครงสร้างของสังคมไทยยังเป็นสังคมแห่งการเปลี่ยนผ่านระหว่าง
ภาคเกษตรกรรมไปสู่ภาคอุตสาหกรรม แต่โครงสร้างของสังคมในสหรัฐอเมริกานั้น มีลักษณะที่
v
8
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เป็นสังคมอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน ดังนั้น ถ้าหากนาแนวทางในการสร้างการมีส่วนร่วม
(Collaboration) ของหนังสือ Group Genius มาใช้นั้น เราต้องคานึงถึงบริบทที่แตกต่างกันในแต่
ละสังคมด้วย
ทั้งนี้ โดยโครงสร้างทางสังคมของสหรัฐอเมริกาจัดอยู่ในประเภทของสังคมอุสาหกรรม
ที่มักมีการแบ่งงานกันทา จนไปถึงการจ้างงานจากภายนอก(outsource) รวมถึงเป็นสังคมที่มี
ความเป็นปัจเจกบุคคลสูง(individual) ซึ่งตรงนี้ถือว่าเป็นปัญหาต่อแนวทางในการรวมกลุ่ม และ
การสร้างความร่วมมือเป็นอย่างมาก ซึ่งแตกต่างกับบริบทของสังคมไทย ที่รูปแบบโครงสร้าง
ของสังคมยังอยู่ในระยะแห่งการเปลี่ยนผ่านจากสังคมเกษตรกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรม ดังนั้น การ
นาแนวทางในการสร้างความร่วมมือมาปรับใช้จึงควรวิเคราะห์ถึงเงื่อนไขทางสังคมให้ชัดเจน
เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมต่อบริบทของสังคมไทย โดยศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ได้นาเสนอรูปแบบที่คาดว่าอาจจะเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย ว่าเราควรนาแนวทางการมี
ส่วนร่วมมาประยุกต์ใช้ ขณะเดียวกันก็ควรให้อานาจในการตัดสินใจอย่างเด็ดขาดโดยผู้นาของ
กลุ่มนั้น เพื่อป้องกันความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้น
4. รื้อฟื้นแนวคิดต่ำงๆของไทยที่สนับสนุนให้เกิดกำรมีส่วนร่วม
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ได้ชี้ให้เห็นว่าเดิมทีสังคมไทยเป็นสังคมแห่งการ
รวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกัน ยกตัวอย่างเช่น ประเพณีการลงแขก ซึ่งนั่นก็คือ ทุนทางสังคม ใน
รูปแบบนหนึ่งแต่ด้วยอิทธิพลจากสังคมภายนอก จึงทาให้ประเพณีเหล่านั้นของไทยเลือนหายไป
และถูกมาแทนที่ด้วยฐานความคิดแบบปัจเจกชน อย่างเช่น การจดสิทธิบัตร ดังนั้น นอกจาก
การนาทฤษฎีจากตะวันตกมาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของสังคมไทยแล้ว เราควรสนับสนุนให้มี
การนาแนวคิดต่างๆของไทยกลับมาใช้ รวมถึงสร้างคุณค่าให้กับแนวคิดดังกล่าว ด้วยการสร้าง
องค์ความรู้และผลิตออกเป็นทฤษฎี เพื่อเผยแพร่แนวคิดดังกล่าวคืนสู่ภายนอกด้วย
5. หลักกำรของศำสนำพุทธกับแนวทำงกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ
นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้เสนอว่าในหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา องค์พระ
สัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ชี้ให้เห็นถึงหลักคาสอนที่เรียกว่า หลักอปริหานิยธรรม เป็นธรรมสาหรับหมู่
ชนหรือผู้บริหารบ้านเมือง ให้ใช้เป็นแนวทางในการปกครอง โดยให้ปฏิบัติตามหลักการที่
สนับสนุนให้รู้จักการร่วมรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆ เพื่อนาไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ซึ่งถ้าหากลอง
ศึกษาในรายละเอียด จะเห็นได้ว่าธรรมะตัวนี้เป็นธรรมมะที่สนับสนุนการบริหารงานในแบบ
รวมตัวกัน ร่วมคิดร่วมทา เป็นธรรมะเพื่อสังคมเข้มแข็งอย่างแท้จริง
6. แนวทำงกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือกับกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้นาเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสัมพันธภาพทางอานาจใน
แนวดิ่ง (Top-Down) กับการส่งผลกระทบในทางลบต่อสมองและพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งถ้า
หากมนุษย์ได้ใช้วิจารณญาณของตนเองในการตัดสินใจ สมองในส่วนหน้าที่มีความเกี่ยวข้องกับ
การควบคุมสติปัญญา วิจารณญาณ และศีลธรรม จะทางาน แต่ถ้าหากต้องคอยรับฟังคาสั่ง หรือ
v
9
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ถูกบังคับจากบุคคลอื่น มนุษย์จะคิดสู้ และใช้สมองส่วนหลัง ซึ่งเป็นสมองประเภทเดียวกันกับ
สมองที่ควบคุมพฤติกรรมของสัตว์เลื้อยคลาน
นอกเหนือจากนี้ ยังมีการค้นพบยีนส์ในตัวมนุษย์ ที่ทาให้มนุษย์สามารถต่อสู้กับสัตว์ได้
นั่นก็คือ ยีนส์แห่งการรวมกลุ่ม โดยเมื่อมนุษย์ร่วมกลุ่มมนุษย์ก็คิดค้นวิทยาการต่างๆร่วมกัน
มนุษย์ก็จะสามารถต่อสู่กับสัตว์ ได้ ฉะนั้น วิธีการในการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆให้เกิดขึ้นได้
คือ การรวมตัวกัน เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และคิดค้น ฉะนั้นเราจึงควรสร้างสังคมแห่งการรวมตั
ว ร่วมคิดร่วมทาให้เกิดขึ้น
6.สรุป
จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าสังคมไทยเป็นสังคมที่ติดกับดักและยึดติดกับโครงสร้าง
พัฒนารูปแบบเดิมๆ อย่างเช่นการมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว และให้
ความสาคัญกับโครงสร้างความสัมพันธ์ทางอานาจในแนวดิ่งมากจนเกินไป ซึ่งถือว่าเป็นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาทางสังคม ทั้งนี้หนังสือ Group Genius ได้นาเสนอถึงแนวความคิดใหม่ในการพัฒนาทางสังคม
ผ่านแนวทางเสริมสร้างการมีส่วนร่วม รวมถึงได้มีการนาเสนอให้เปลี่ยนแนวคิดต่อระดับโครงสร้าง
ความสัมพันธ์ทางอานาจจากแนวดิ่งมาสู่แนวราบ อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เพื่อสร้างสรรค์
นวัตกรรมใหม่ๆให้เกิดขึ้นในสังคม
ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้เสนอว่า การนาแนวความคิดจากตะวันตกหรือ
จากที่อื่นมาใช้ เราควรปรับแนวคิดดังกล่าวให้เข้ากับบริบทของสังคมไทยก่อน เนื่องจากบริบททางสังคม
และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจจะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน ยิ่งไปกว่านั้น นอกจากการนาแนวคิด
ของตะวันตกมาใช้ เราควรสนับสนุนให้มีการนาแนวคิดต่างๆของไทยกลับมาใช้ รวมถึงสร้างคุณค่า
ให้กับแนวคิดดังกล่าว ด้วยการสร้างองค์ความรู้และผลิตออกเป็นทฤษฎี เพื่อเผยแพร่แนวคิดดังกล่าวคืน
สู่ภายนอกด้วย
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ปีที่พิมพ์: พฤศจิกายน 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยำลัยรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถำบันคลังปัญญำฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

More Related Content

Similar to ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย

วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหาfreelance
 
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”Klangpanya
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)IMC Institute
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Patchara Patipant
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579CUPress
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926CUPress
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 

Similar to ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย (20)

รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
พัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชนพัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชน
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทยบทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย

  • 2. v 1 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย 1. บทนำ หากกล่าวถึงแนวทางการพัฒนา คนโดยส่วนมากรวมถึงนักเศรษฐศาสตร์มักมองว่าการพัฒนาที่ สาคัญที่สุด คือการพัฒนาในมิติทางเศรษฐกิจ ขณะเดียวกัน ก็มักมองข้ามในมิติของการพัฒนามนุษย์ว่า เป็นสิ่งที่ไม่สาคัญ เนื่องจากการพัฒนาดังกล่าว ไม่สามารถจับต้องได้อย่างเป็นรูปธรรมเฉกเช่นเดียวกัน กับมิติทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม บทความชิ้นนี้ จะชี้ให้เห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่พุ่งเป้าไปที่การ พัฒนาในมิติทางเศรษฐกิจอย่างเดียวต่างหากที่เป็นกับดักต่อการพัฒนาในปัจจุบัน และเราควรให้ ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ โดยมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาด้านจิตใจ ที่ยึดเอามนุษย์เป็น ศูนย์กลาง และผลักดันให้เกิดการเรียนรู้และการทาความเข้าใจในตัวมนุษย์ร่วมกัน เพื่อประโยชน์สุขแก่ ส่วนรวม ดังที่จะกล่าวในลาดับถัดไป หากย้อนกลับไปที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสภาพัฒน์1 ฉบับแรกๆ จะเห็นว่าประเทศ ไทยละเลยต่อแนวทางในการพัฒนามนุษย์ เพราะมัวแต่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาในมิติทางด้าน เศรษฐกิจ ที่สนใจแต่ตัวเลข GDP2 และ GNP3 มากกว่าการพัฒนาศักยภาพและจิตใจของมนุษย์ จนย่าง เข้าศตวรรษที่ 21 จึงเริ่มเห็นความสาคัญของแนวทางในการพัฒนามนุษย์ ผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมฉบับที่ 8 โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้ ได้ชื่อว่าเป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ ให้ความสาคัญต่อการพัฒนามนุษย์มากกว่าทุกแผนที่ผ่านมา และต่อมาจึงได้เกิดปฏิญญาชะอา-หัวหิน4 ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือ(Collaboration) ซึ่งถือได้ว่าเป็นหลักการสาคัญในการพัฒนามนุษย์ จวบจนทุกวันนี้ ฉะนั้น แนวทำงกำรพัฒนำมนุษย์ผ่ำนกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration) จึงได้ เริ่มมีความสาคัญมาตั้งแต่นั้น ทั้งนี้การพัฒนามนุษย์ก็คือการพัฒนาสังคม ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจของประเทศ 1 สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ 2 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (อังกฤษ: gross domestic product: GDP) 3 ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชำชำติ (อังกฤษ: Gross National Product :GNP) 4 ปฏิญญำชะอำ-หัวหินว่ำด้วยแผนงำนสำหรับประชำคมอำเซียน ปี ค.ศ. 2009 – 2015 เป็นตัวบทที่ประด้วยแผนงำน 3 ประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1.ด้ำนกำรเมืองและควำมมั่นคง 2.ด้ำนเศรษฐกิจ และ 3.สังคมและวัฒนธรรม ทั้งนี้ในประเด็นสำระสำคัญของปฏิญญำชะอำ-หัว หิน ว่ำด้วยกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือนั้น ได้เน้นย้ำถึงบทบำทของกำรศึกษำ ซึ่งก็คือกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ในกำรสร้ำงประชำคม อำเซียน ภำยในปี พ.ศ.2558 ถอดความจากการการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง “ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่มเพื่อการพัฒนาสังคมไทย” โดยคุณธรรมรักษ์ การพิ สิษฏ์ อดีตผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11 สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ การแลกเปลี่ยนร่วมกันโดยเครือข่ายโครงการคลังปัญญาฯ จัดโดย โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลับรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม 2558 เวลา 09.30 – 12.00 น. ณ ห้องประชุม Executive 2 โรงแรมรามาการ์เดนส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
  • 3. v 2 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จะดีเพียงใด แต่ถ้าหากศักยภาพและจิตใจของคนในประเทศยังไม่ดี ผลประโยชน์โดยรวมของประเทศก็ จะไม่ถูกนามาใช้ในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ และนี่จึงเป็นที่มาของการศึกษาเนื้อหาในหนังสือ Group Genius : The Creative Power of Collaboration หนังสือที่จะนาเสนอข้อสรุปจากงานวิจัยที่ ศึกษาพฤติกรรมและความสาเร็จที่ได้จากการร่วมมือกัน(Collaboration)ของมนุษย์ โดย Keith Sawyer 2. หนังสือ Group Genius : The Creative Power of Collaboration สมมติฐานเบื้องต้นของหนังสือเล่มนี้ คือ ไม่เชื่อว่าความคิดสร้างสรรค์หรือความอัจฉริยะ ทั้งหลาย จะเกิดจากคนเพียงคนเดียว (The Myth of Lone Genius) ทั้งนี้เขาคิดว่าคนเพียงคนเดียว อาจจะสามารถคิดอะไรที่เป็นการประดิษฐ์ (Invention) ได้ แต่หากต้องการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ให้ กลายเป็นนวัตกรรม(Innovation) แล้ว เขาเชื่อว่ามันต้องเกิดมาจากการรวมตัวและความร่วมมือของคน หลายคน(Collaboration) หรือที่เรียกว่าการเรียนรู้ร่วมกัน (Interactive Learning) โดยเขาค้นพบว่า ความคิดของอัจฉริยะทั้งหลาย มักเกิดจากการร่วมมือกันโดยปราศจากการนัดแนะ(Improvise) หรือ หากเรียกให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมไทยจะมีลักษณะคล้ายๆกับรูปแบบของ “การทอดผ้าป่า” ซึ่ง เป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ในแนวราบ มิได้เกิดจากการวางแผน ไม่มีรูปแบบที่กาหนดตายตัว เกิด จากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ผ่านการการร่วมมือกัน(Collaboration ) ซึ่งแนวทางดังกล่าวจะทาให้ เกิดประสิทธิผลที่สามารถพัฒนากลายเป็นนวัตกรรมใหม่ๆได้ โดยเขาได้ยกตัวอย่าง สถานการณ์คับขัน ที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจหลายเรื่อง อาทิ การร่วมมือกันของชาวบ้านในการจัดการกับภูเขาไฟระเบิดใน สมัยโบราณ ซึ่งเป็นรูปแบบความร่วมมือในแบบที่ไม่ได้เตรียมการล่วงหน้า หรืออย่างตอนที่น้าท่วม กรุงเทพฯ ก็ได้มีการรวมตัวกันของประชาชนหลายกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือกันในแต่ละพื้นที่ ซึ่งหลากหลาย ครั้ง เหตุการณ์ดังกล่าวได้ทาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆขึ้นมา 3. องค์ประกอบและปัจจัยในกำรพัฒนำมนุษย์ผ่ำนกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration) จากที่กล่าวมาในข้างต้น จะเห็นได้ว่าความคิดที่จะนาไปสู่การพัฒนาเป็นนวัตกรรมใหม่ๆนั้น มัก เกิดขึ้นจากการร่วมมือกัน ในที่นี้ จะนาเสนอองค์ประกอบและปัจจัยในการพัฒนามนุษย์ผ่านการ เสริมสร้างความร่วมมือ(Collaboration) ทั้ง 7 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ฟังอย่ำงตั้งใจ (Deep Listening) การฟังอย่างตั้งใจ เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่หนังสือ Group Genius หยิบยกขึ้นมา นาเสนอ ทั้งนี้ หากลองวิเคราะห์ในบริบทของสังคมไทย การที่เราจะฟังใคร มักมีเรื่องของ สัมพันธภาพทางอานาจอยู่ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากหมอคิดว่าตนเองมีสัมพันธภาพทางด้าน อานาจที่สูงกว่าคนไข้ หมอก็มีแนวโน้มที่จะไม่ฟังคนไข้ ขณะเดียวกัน ถ้าหากคนไข้คิดว่าตนเอง มีสัมพันธภาพทางอานาจที่ต่ากว่าหมอ คนไข้ก็มีแนวโน้มที่จะฟังหมอ แต่ถ้าหากบุคคล 2 คน มี อานาจเสมอกัน ทั้งสองฝ่ายก็มีแนวโน้มที่จะร่วมมือกัน และรับฟังซึ่งกันและกันได้อย่างมาก ที่สุด นอกจากปัญหาทางด้านสัมพันธภาพทางอานาจที่เป็นหนึ่งในอุปสรรคต่อการฟังอย่าง ตั้งใจ(Deep Listening) ในสังคมไทยแล้ว อีกหนึ่งอุปสรรคต่อการพัฒนาในบริบทของสังคมไทย
  • 4. v 3 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต คือการเน้นที่รูปแบบมากกว่าเนื้อหา ทั้งนี้เกิดจากการกาหนดแบบแผนที่มากจนเกินไป ทาให้ เป็นอุปสรรคต่อการรับฟังรูปแบบ หรือเนื้อหาใหม่ๆ ยกตัวอย่าง ระเบียบของข้าราชการไทย เป็นต้น 2. ให้เวลำกับควำมคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ ควรให้เวลากับความคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ ในที่นี้ จะยกตัวอย่าง การคิดค้น ออกแบบ และสร้างเครื่องบินของพี่น้องตระกูลไรท์ (Wright brothers) โดยเมื่อพี่น้องตระกูลไรท์สร้าง เครื่องบินเสร็จ เครื่องบินได้กลายเป็นสิ่งประดิษฐ์(Invention) แต่เมื่อเวลาผ่านไป กระบวนการ สร้างและผลิตเครื่องบินได้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพาณิชย์(Commercialize) ทาให้ เครื่องบินถูกพัฒนาและต่อยอดจนกลายเป็นนวัตกรรม(Innovation) ที่ก้าวหน้าและมี ประสิทธิภาพอย่างทุกวันนี้ ฉะนั้น เราจะเห็นได้ว่ากระบวนการที่ทาให้เกิดนวัตกรรมอันมี ประสิทธิภาพนั้น มักไม่ได้เกิดจากคนเพียงแค่คนหรือสองคนเท่านั้น 3. ให้ดำเนินกำรและใช้ควำมคิดในกำรต่อยอดร่วมกันอย่ำงต่อเนื่อง 4. โดยในที่สุดควำมคิดจะมีควำมชัดเจนยิ่งขึ้น 5. ควรหมั่นตั้งคำถำมใหม่ๆอยู่เสมอ ในกระบวนการแลกเปลี่ยนความคิด ควรหมั่นตั้งคาถามใหม่ๆ ที่ก่อให้เกิดความคิด สร้างสรรค์ มากกว่าเสียเวลาไปกับการแก้ไขปัญหาเดิมๆ 6. ควรให้เวลำกับกำรประเมินและรวบรวมเอำควำมคิดมำใช้ให้เกิดประโยชน์ ในกระบวนการแลกเปลี่ยนความคิด มักมีความคิดจานวนมากที่ไม่ถูกนามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ อันเนื่องมาจากไม่มีเวลาในการประเมินและคัดแยกความคิดเหล่านั้น ฉะนั้น จึงควรให้ เวลากับการประเมินเพื่อจะได้นาความคิดดังกล่าวมารวบรวมและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 7. ควำมคิดสร้ำงสรรค์มักเกิดจำกกระบวนกำรที่มำจำกควำมสัมพันธ์ในแนวจำกฐำนขึ้น สู่ยอดหรือล่ำงขึ้นบน(Down/Bottom – Up) การเกิดขึ้นของความคิดสร้างสรรค์มักเกิดจากความสัมพันธ์ในแนวจากฐานขึ้นสู่ยอด หรือในแนวล่างขึ้นบน(Down/Bottom – Up) มิได้เกิดจากจากความสัมพันธ์ในแนวบนลงล่าง (Top-Down/ Bottom) เหมือนกับบริบทส่วนมากในสังคมไทย ทั้งนี้ มักเกิดจากการร่วมมือกัน โดยปราศจากการนัดแนะ(Improvise) หรืออย่างที่เกริ่นไว้ในตอนต้นว่า เปรียบเหมือนกับ กระบวนการทอดผ้าป่าสามัคคีในสังคมไทย โดยกระบวนการดังกล่าวได้ก่อให้เกิดกระบวนการ การเรียนรู้ร่วมกัน(Collaboration) อันจะนาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆในสังคม ฉะนั้น การพัฒนาสิ่งใหม่ๆ จะไม่สามารถกาหนด(Dictate)อะไรได้ แต่จะอยู่ที่การทาให้มนุษย์กลายเป็น ศูนย์กลาง หรือ กระบวนในการเสริมสร้างศักยภาพในเชิงราบให้แก่มนุษย์นั่นเอง (Empower Human in horizon) จำกที่กล่ำวมำในข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำองค์ประกอบและปัจจัยต่ำงๆที่จะทำให้เกิดกำร พัฒนำมนุษย์ผ่ำนกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration) ค่อนข้างจะสอดคล้องกับหลักการใน
  • 5. v 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กำรระดมสมอง(Brain Strom) โดยหลักการในการระดมสมองเป็นการระดมความคิด และความคิดเห็น ของส่วนรวม ไม่มีใครที่โดดเด่นไปกว่าใคร และผลลัพธ์ที่ได้ก็คือความคิดของส่วนรวมเช่นกัน โดย หลักการของการระดมสมองที่เคยมีมา คือ ห้ามวิจารณ์และตาหนิความคิดซึ่งกันและกัน เนื่องจากแต่ละ คนจะได้กล้านาเสนอความคิดของตัวเอง นอกจากนี้ ควรคิดนอกกรอบ ควรกาหนดเวลาในการแบ่งปัน ความคิดให้เท่ากัน ควรมีกติกาที่ชัดเจน ควรต่อยอดความความคิดของกันและกัน ซึ่งปริมาณความคิด สาคัญกว่าคุณภาพของความคิด เป็นต้น 4. ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะต่อแนวทำงกำรสร้ำงควำมร่วมมือผ่ำนกระบวนกำรระดมสมอง หนังสือ Group Genius: The Creative Power of Collaboration ได้นาเสนอข้อจากัดและ ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการสร้างความร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมอง(Brain Strom) หลายประการ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ดังต่อไปนี้ 1. ภำวะที่กำรผลิตทำงควำมคิดถูกปิ ดกั้น (Production Blocking) ภาวะที่การผลิตทางความคิดถูกปิดกั้น (Production Blocking) มักเกิดจากการที่แต่ละ คนต้องรับฟังบุคคลอื่นตลอดเวลา(Deep Listening) จึงทาให้แต่ละคนมีเวลาผลิตความคิดของ ตนเองอันจะเป็นความคิดใหม่ๆน้อยลง และถ้าหากอยู่ในกลุ่มที่มีจานวนคนที่เยอะมาก ก็จะยิ่ง ทาให้แต่ละคนมีเวลาในการผลิตความคิดและนาเสนอความคิดของตนเองน้อยลงกว่าเดิมอีก ฉะนั้น ความสามารถในการผลิตความคิดที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล(productivity)ก็จะ น้อยลงเช่นกัน ทั้งนี้หนังสือ Group Genius ได้นาเสนอให้แต่ละคนคิดประเด็นที่ต้องการจะ นาเสนอมาก่อน แล้วค่อยกลับมาระดมสมองกันอีกครั้งหนึ่ง 2. กำรแบ่งและแยกตัวออกจำกสังคม (Social Division) การแบ่งและแยกตัวออกจากสังคม (Social Division) เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ ความสามารถในการผลิตความคิดที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล(productivity)ตกต่าลง อัน เนื่องมาจากบางคนเก็บงาความคิดของตัวเองไว้ เพราะเกรงว่าบุคคลอื่นจะนาความคิดของ ตนเองไปคิดต่อยอด และลิขสิทธิ์จะไม่ตกเป็นของตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในอุปสรรคที่ขัดขวาง การพัฒนาและแปรสภาพสิ่งประดิษฐ์สู่นวัตกรรมใหม่ๆได้ ยกตัวอย่างเช่น การคิดค้นและผลิต เครื่องบินของพี่น้องตระกูลไรท์ กว่าจะถูกพัฒนาให้กลายเป็นอุตสาหกรรมพาณิชย์ ที่สร้าง ประโยชน์และให้บริการแก่คนจานวนมากดังเช่นในปัจจุบันนั้น ต้องใช้ระยะเวลานาน เนื่องจาก การติดลิขสิทธิ์ทางด้านปัญญา เป็นต้น 3. กำรเกี่ยงงำนและกินแรงกัน (Social Loafing) การเกี่ยงงานและกินแรงกัน (Social Loafing) มักเกิดกับกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ อาทิ การ ทางานในรัฐสภา ซึ่งอาจจะเกิดปรากฎการณ์ที่หลายคนไม่ยอมนาเสนอความคิดของตนเอง และ ไหลไปตามความคิดของคนอื่น ปรากฏการณ์เช่นนี้มักเกิดกับบุคคลที่ชอบและให้คุนค่ากับการ ทางานคนเดียว มากกว่าการทางานเป็นกลุ่ม
  • 6. v 5 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4. เหมำะสมกับรูปแบบกำรทำงำนบำงประเภทเท่ำนั้น ในแนวทางการสร้างความร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมองนั้น หนังสือ Group Genius นาเสนอว่าควรเลือกใช้การทางานในรูปแบบนี้กับประเภทของงานที่เหมาะสม เช่น ประเภทงานที่มีลักษณะซับซ้อน และต้องอาศัยความร่วมมือกัน ทั้งนี้ ประเภทงานที่ไม่ควรใช้ คือ กลุ่มงานประเภทที่มีกระบวนการทางานแบบเพิ่มเติม เป็นรูปแบบงานประเภทที่ไม่ต้องมี การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาและรูปแบบอะไรมาก และสามารถแยกส่วนกันทาได้ เป็นต้น 5. ไม่เหมำะสมกับรูปแบบกำรทำงำนที่มีสมำชิกจำนวนมำก จานวนของสมาชิกที่มากเกินไปอาจจะเป็นอุปสรรคต่อแนวทางการสร้างความร่วมมือ ผ่านกระบวนการระดมสมอง ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากใช้หลัการสร้างความร่วมมือผ่าน กระบวนการระดมสมองกับกระบวนการทางานในรัฐสภาอาจจะมีความเป็นไปได้ยาก อัน เนื่องมาจากจานวนสมาชิกที่มากเกินไปจะทาให้เกิดภาวะที่การผลิตทางความคิดถูกปิดกั้น (Production Blocking) หรืออาจเกิดปรากฎการณ์เกี่ยงงานและกินแรงกัน (Social Loafing) ดังที่ได้กล่าวไปในข้างต้นได้ 6. กำรขำดปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อแนวทำงกำรระดมสมอง สภาพแวดล้อมโดยส่วนมากในสังคมไทยมักไม่เอื้ออานวยต่อแนวทางการสร้างความ ร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมอง หลายครั้งที่มีการคิดและวิเคราะห์กันอย่างต่อเนื่อง แต่ไม่ สามารถทาการประเมิน(Reflective) และรวบรวมประเด็นจนสามารถสังเคราะห์ออกมาเป็น เนื้อหาและนวัตกรรมใหม่ๆได้ ด้วยเหตุนี้ การมีสิ่งที่เอื้ออานวยต่อกระบวนการระดมสมองที่ดีจึง จึงเป็นสิ่งสาคัญ ยกตัวอย่างสิ่งที่เอื้ออานวยต่อกระบวนการระดมสมองอย่างหนึ่งที่สาคัญ คือ การมีสื่อสารสนเทศที่ดีเพื่อช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ อาทิ วีดีทัศน์ เกม สไลด์ เป็นต้น นอกจากปัจจัยด้านสื่อสารสนเทศในข้างต้นแล้ว ปัจจัยด้านบุคลากรก็สาคัญ อย่างถ้า หากได้บุคลากรอย่างเช่น อาจารย์ หัวหน้า ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการระดมสมอง มา ดาเนินการเป็นตัวกลางในการจัดการระดมสมอง ก็จะสามารถดึงเอาความคิด ประสบการณ์และ องค์ความรู้ ออกมาจากผู้เข้าร่วมได้อย่างก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 7. เหมำะสมกับกลุ่มคนที่มีควำมรู้และควำมเชี่ยวชำญต่อกำรทำงำนประเภทเดียวกัน ใกล้เคียงกัน หรือเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อกันเท่ำนั้o การสร้างความร่วมมือผ่านกระบวนการระดมสมอง คือกระบวนการในการรวบรวมเอา ความคิดออกมาจากแต่ละบุคคล ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด สมาชิกในกลุ่มควรมีความรู้และ ความเชี่ยวชาญต่อการทางานประเภทเดียวกัน ใกล้เคียงกัน หรือเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกัน อันจะทาให้เกิดโครงข่ายของความร่วมมือที่สามารถต่อยอดความคิดของแต่ละบุคคลได้ อาทิ การให้นักการทูตรวมกลุ่มระดมสมองกับนักวิชาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อ ค้นหาแนวทางในการวางยุทธศาสตร์นโยบายระหว่างประเทศนั้นเป็นเรื่องที่เหมาะสม ขณะเดียวกัน ถ้าหากให้นักการทูตรวมกลุ่มกับหัวหน้าผู้รับเหมาก่อสร้าง หรือชาวนา ที่มีความรู้
  • 7. v 6 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ความเชี่ยวชาญ และความถนัดที่แตกต่างกัน เพื่อค้นหาแนวทางในการวางยุทธศาสตร์นโยบาย ระหว่างประเทศนั้น ก็อาจจะเป็นกระบวนการการรวมกลุ่มระดมสมองที่ไม่เหมาะสมนัก ทั้งนี้ ในการรวมกลุ่มระดมสมองของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ควรให้ได้มาซึ่งโครงข่ายของ ความร่วมมือที่สามารถต่อยอดความคิดและพัฒนาไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆได้ อาทิ การรวมตัวกัน ของผู้ผลิต ผู้ขาย และผู้บริโภค ในการต่อยอดความคิด เพื่อพัฒนาสินค้าและผลิตภัณท์ไปสู่ นวัตกรรมใหม่ๆ ผ่านเครือข่ายต่างๆ ทั้งเครือข่ายสังคมออนไลน์ และกลุ่มสมาคมการค้าต่างๆ เป็นต้น 8. ควำมสำมำรถในกำรผลิตควำมคิดที่มีประสิทธิภำพอันจะนำไปสู่กำรสร้ำงนวัตกรรม ใหม่ๆมักไม่สำมำรถเกิดขึ้นได้จำกกำรสร้ำงควำมร่วมมือด้วยกำรจัดกำรระดมสมอง เพียงครั้งเดียว ความสามารถในการผลิตความคิดที่มีประสิทธิภาพอันจะนาไปสู่การสร้างนวัตกรรม ใหม่ๆมักไม่สามารถเกิดขึ้นได้จากการสร้างความร่วมมือด้วยการจัดการระดมสมองเพียงครั้ง เดียว ดังที่ได้กล่าวไปในข้างต้น ทั้งนี้ ควรบูรณาการรูปแบบของการระดมสมองให้เป็นส่วนหนึ่ง กับองค์กร หรือกระบวนการทางาน อาทิ ควรทาให้กระบวนการระดมสมองเป็นกระบวนการ ทางานที่เรียนรู้จากกิจกรรมที่สามารถปฏิบัติได้จริง และเป็นส่วนหนึ่งกับวัฒนธรรมองค์กร เป็น ต้น 5. แง่คิดและข้อสังเกตต่อแนวทำงกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration)ภำยใต้บริบทของ สังคมไทย 1. สังคมไทยมักยึดติดกับแนวทำงกำรทำวิจัยและพัฒนำ (Research & Development ) แบบเก่ำมำกจนเกินไป แนวทางการพัฒนาในบริบทของสังคมไทย ณ ขณะนี้ มักให้ความสาคัญกับแนวทางการ ทาวิจัยและพัฒนา (Research & Development )เพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นรูปแบบของการทางาน ที่แยกส่วน ขาดการเชื่อมโยงและพัฒนาเครือข่าย อันจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาและต่อยอด ไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆ ทั้งนี้ จึงได้มีการนาเสนอแนวทางรูปแบบใหม่ที่เปลี่ยนไปจากเดิม คือ แนว ทางการเชื่อมความสัมพันธ์และพัฒนา(Connect & Develop) ซึ่งแนวทางนี้จะเป็นแนวทางที่ สนับสนุนความร่วมมือและเชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ต่อยอดไปสู่การคิดค้น นวัตกรรมใหม่ๆได้ ในที่นี้ คุณอาทิตย์ โกวิทวรางกูร กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมดิคราฟท์ จากัด ได้ ยกตัวอย่าง กรณีศึกษาการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการพัฒนาของบริษัทพีแอนด์จี (P&G) บริษัทข้ามชาติผู้ผลิตและจาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคจากสหรัฐอเมริกา เมื่อ 10 กว่าปีก่อน โดยบริษัทพีแอนด์จีได้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การทางานอย่างหนึ่งที่สาคัญ คือการ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการพัฒนา จากเดิมที่มุ่งเน้นไปที่การทาวิจัยและพัฒนา (Research & Development ) ไปสู่การพัฒนาในรูปแบบของการเชื่อมความสัมพันธ์และพัฒนา(Connect &
  • 8. v 7 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Develop) เพื่อให้ก้าวทันต่อความหลากหลาย และความเข้าใจในตัวผู้บริโภคมากขึ้น ภายใต้โลก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน โดยมีการวางแนวทางต่างๆเพื่อรวบรวมเอาความคิดและ องค์ความรู้ใหม่ๆ ที่กระจัดกระจายนาไปพัฒนาและต่อยอดสู่นวัตกรรม ผ่านการจัดตั้งการ ประกวด รวมถึงการย้ายฝ่ายวิจัยและพัฒนา (Research & Development ) จากเดิมที่ประจาอยู่ ภายในศูนย์ปฏิบัติการ ให้ออกไปประจาอยู่ตามสถานที่ต่างๆ อาทิ สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย ชั้นนาทั่วโลก 2. ระบอบอุปถัมภ์อันเป็นหนึ่งในปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อกำรพัฒนำแนวทำงกำร เสริมสร้ำงควำมร่วมมือให้เกิดในสังคมไทย ระบอบอุปถัมค์เป็นระบอบที่หยั่งรากลึกในสังคมไทย เป็นระบอบที่ก่อให้เกิดรูปแบบ ความสัมพันธ์เชิงอานาจในแนวดิ่งกับทุกภาคส่วน ทั้งระบอบราชการ กองทัพ โรงเรียน ห้างร้าน หรือแม้แต่ในครอบครัว โดยรูปแบบความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นรูปแบบที่เป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผ่านการเสริมสร้างความร่วมมืออันจะเป็นหนทางที่นาไปสู่ความคิด สร้างสรรค์ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ทั้งนี้คุณพงศ์โพยม วาศภูติ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้มีการนาเสนอแนวทางใน การจัดการต่ออุปสรรคดังกล่าว ด้วยความพยายามในการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของคน และ เสริมสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่ ยกตัวอย่าง ความพยายามในการเสริมสร้างวัฒนธรรมการรักษา ความสะอาดของงานชุมนุมทางการเมืองกลุ่มหนึ่งที่มีกลุ่มผู้ชุมนุมจานวนเกือบแสนคน เป็นต้น และอีกหนึ่งตัวอย่างที่สาคัญโดยนายแพทย์ ประเวศ วะสี คือ โครงการวิจัย Routine to Research (R2R) ที่มีเป้าหมายในการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการทางานเก่าๆ ผ่าน กระบวนการวิจัย โดยความสาเร็จอย่างหนึ่งที่เห็นเป็นรูปธรรมคือ การเสริมสร้างความร่วมมือ และความเข้าใจทางด้าน สาธารณสุขในทุกฝ่าย ทั้งแพทย์ พยาบาล บุรุษพยาบาล รวมไปถึง คนไข้ โดยอาศัยหลักในการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกันทุกคน ผ่านการรื้อ ถอนมายาคติเรื่องความไม่เท่าเทียม โดยเชื่อว่าทุกคนมีประสบการณ์ชีวิตที่แตกต่างต่างกัน ดังนั้นเราทุกคนจึงควรเคารพในประสบการณ์ที่แตกต่างกัน จนในปัจุบันนี้ ได้เกิดระบบสุขภาพ ชุมชนขึ้นในหลายที่ ทั้งโรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย ฯลฯ เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการ รักษาพยาบาลได้อย่างทั่วถึง 3. ควรปรับเปลี่ยนแนวทำงกำรสร้ำงควำมร่วมมือ(Collaboration)ให้เข้ำกับบริบทของ สังคมไทย โดยส่วนมากเรามักรับทฤษฎีของตะวันตกมาใช้ โดยขาดการวิเคราะห์ถึงเงื่อนไขที่ แตกต่างกันในแต่ละบริบททางพื้นที่และสังคม ทั้งนี้ จากการที่ได้วิเคราะห์ถึงบริบทโครงสร้าง ของสังคมไทยโดยศาสตราจารย์ ดร. จานง สรพิพัฒน์ กรรมการบริหาร สมาคมวิจัยวิทยาการ ขนส่งแห่งเอเชีย จะเห็นได้ว่าโครงสร้างของสังคมไทยยังเป็นสังคมแห่งการเปลี่ยนผ่านระหว่าง ภาคเกษตรกรรมไปสู่ภาคอุตสาหกรรม แต่โครงสร้างของสังคมในสหรัฐอเมริกานั้น มีลักษณะที่
  • 9. v 8 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นสังคมอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน ดังนั้น ถ้าหากนาแนวทางในการสร้างการมีส่วนร่วม (Collaboration) ของหนังสือ Group Genius มาใช้นั้น เราต้องคานึงถึงบริบทที่แตกต่างกันในแต่ ละสังคมด้วย ทั้งนี้ โดยโครงสร้างทางสังคมของสหรัฐอเมริกาจัดอยู่ในประเภทของสังคมอุสาหกรรม ที่มักมีการแบ่งงานกันทา จนไปถึงการจ้างงานจากภายนอก(outsource) รวมถึงเป็นสังคมที่มี ความเป็นปัจเจกบุคคลสูง(individual) ซึ่งตรงนี้ถือว่าเป็นปัญหาต่อแนวทางในการรวมกลุ่ม และ การสร้างความร่วมมือเป็นอย่างมาก ซึ่งแตกต่างกับบริบทของสังคมไทย ที่รูปแบบโครงสร้าง ของสังคมยังอยู่ในระยะแห่งการเปลี่ยนผ่านจากสังคมเกษตรกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรม ดังนั้น การ นาแนวทางในการสร้างความร่วมมือมาปรับใช้จึงควรวิเคราะห์ถึงเงื่อนไขทางสังคมให้ชัดเจน เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมต่อบริบทของสังคมไทย โดยศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้นาเสนอรูปแบบที่คาดว่าอาจจะเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย ว่าเราควรนาแนวทางการมี ส่วนร่วมมาประยุกต์ใช้ ขณะเดียวกันก็ควรให้อานาจในการตัดสินใจอย่างเด็ดขาดโดยผู้นาของ กลุ่มนั้น เพื่อป้องกันความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้น 4. รื้อฟื้นแนวคิดต่ำงๆของไทยที่สนับสนุนให้เกิดกำรมีส่วนร่วม ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ได้ชี้ให้เห็นว่าเดิมทีสังคมไทยเป็นสังคมแห่งการ รวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกัน ยกตัวอย่างเช่น ประเพณีการลงแขก ซึ่งนั่นก็คือ ทุนทางสังคม ใน รูปแบบนหนึ่งแต่ด้วยอิทธิพลจากสังคมภายนอก จึงทาให้ประเพณีเหล่านั้นของไทยเลือนหายไป และถูกมาแทนที่ด้วยฐานความคิดแบบปัจเจกชน อย่างเช่น การจดสิทธิบัตร ดังนั้น นอกจาก การนาทฤษฎีจากตะวันตกมาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของสังคมไทยแล้ว เราควรสนับสนุนให้มี การนาแนวคิดต่างๆของไทยกลับมาใช้ รวมถึงสร้างคุณค่าให้กับแนวคิดดังกล่าว ด้วยการสร้าง องค์ความรู้และผลิตออกเป็นทฤษฎี เพื่อเผยแพร่แนวคิดดังกล่าวคืนสู่ภายนอกด้วย 5. หลักกำรของศำสนำพุทธกับแนวทำงกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือ นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้เสนอว่าในหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา องค์พระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ชี้ให้เห็นถึงหลักคาสอนที่เรียกว่า หลักอปริหานิยธรรม เป็นธรรมสาหรับหมู่ ชนหรือผู้บริหารบ้านเมือง ให้ใช้เป็นแนวทางในการปกครอง โดยให้ปฏิบัติตามหลักการที่ สนับสนุนให้รู้จักการร่วมรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆ เพื่อนาไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ซึ่งถ้าหากลอง ศึกษาในรายละเอียด จะเห็นได้ว่าธรรมะตัวนี้เป็นธรรมมะที่สนับสนุนการบริหารงานในแบบ รวมตัวกัน ร่วมคิดร่วมทา เป็นธรรมะเพื่อสังคมเข้มแข็งอย่างแท้จริง 6. แนวทำงกำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือกับกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้นาเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสัมพันธภาพทางอานาจใน แนวดิ่ง (Top-Down) กับการส่งผลกระทบในทางลบต่อสมองและพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งถ้า หากมนุษย์ได้ใช้วิจารณญาณของตนเองในการตัดสินใจ สมองในส่วนหน้าที่มีความเกี่ยวข้องกับ การควบคุมสติปัญญา วิจารณญาณ และศีลธรรม จะทางาน แต่ถ้าหากต้องคอยรับฟังคาสั่ง หรือ
  • 10. v 9 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ถูกบังคับจากบุคคลอื่น มนุษย์จะคิดสู้ และใช้สมองส่วนหลัง ซึ่งเป็นสมองประเภทเดียวกันกับ สมองที่ควบคุมพฤติกรรมของสัตว์เลื้อยคลาน นอกเหนือจากนี้ ยังมีการค้นพบยีนส์ในตัวมนุษย์ ที่ทาให้มนุษย์สามารถต่อสู้กับสัตว์ได้ นั่นก็คือ ยีนส์แห่งการรวมกลุ่ม โดยเมื่อมนุษย์ร่วมกลุ่มมนุษย์ก็คิดค้นวิทยาการต่างๆร่วมกัน มนุษย์ก็จะสามารถต่อสู่กับสัตว์ ได้ ฉะนั้น วิธีการในการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆให้เกิดขึ้นได้ คือ การรวมตัวกัน เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และคิดค้น ฉะนั้นเราจึงควรสร้างสังคมแห่งการรวมตั ว ร่วมคิดร่วมทาให้เกิดขึ้น 6.สรุป จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าสังคมไทยเป็นสังคมที่ติดกับดักและยึดติดกับโครงสร้าง พัฒนารูปแบบเดิมๆ อย่างเช่นการมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว และให้ ความสาคัญกับโครงสร้างความสัมพันธ์ทางอานาจในแนวดิ่งมากจนเกินไป ซึ่งถือว่าเป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาทางสังคม ทั้งนี้หนังสือ Group Genius ได้นาเสนอถึงแนวความคิดใหม่ในการพัฒนาทางสังคม ผ่านแนวทางเสริมสร้างการมีส่วนร่วม รวมถึงได้มีการนาเสนอให้เปลี่ยนแนวคิดต่อระดับโครงสร้าง ความสัมพันธ์ทางอานาจจากแนวดิ่งมาสู่แนวราบ อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เพื่อสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ๆให้เกิดขึ้นในสังคม ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้เสนอว่า การนาแนวความคิดจากตะวันตกหรือ จากที่อื่นมาใช้ เราควรปรับแนวคิดดังกล่าวให้เข้ากับบริบทของสังคมไทยก่อน เนื่องจากบริบททางสังคม และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจจะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน ยิ่งไปกว่านั้น นอกจากการนาแนวคิด ของตะวันตกมาใช้ เราควรสนับสนุนให้มีการนาแนวคิดต่างๆของไทยกลับมาใช้ รวมถึงสร้างคุณค่า ให้กับแนวคิดดังกล่าว ด้วยการสร้างองค์ความรู้และผลิตออกเป็นทฤษฎี เพื่อเผยแพร่แนวคิดดังกล่าวคืน สู่ภายนอกด้วย
  • 11. เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ปีที่พิมพ์: พฤศจิกายน 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่อยู่ติดต่อ วิทยำลัยรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถำบันคลังปัญญำฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064