SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คานา
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้
มีจานวน 6 เล่ม
เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี
เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
เล่มที่ 6 เรื่อง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน
สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป
ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป
ปรีช์ญภัทร เล่งระบา
ก
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1
กิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3
กิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร 5
และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบความรู้ที่ 2.5 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 9
ใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 11
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 12
ภาคผนวก 14
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 15
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร 17
และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เฉลยใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 21
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 22
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 23
บรรณานุกรม 24
ข
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. ปัจจัยในข้อใด ใช้ในการพิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง
ก. พื้นที่ผิวสัมผัส ข. อุณหภูมิ ค. ตัวเร่งปฏิกิริยา ง. ตัวหน่วงปฏิกิริยา
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ
ก. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทาปฏิกิริยาไปต่อหน่วยเวลา (t)
ข. อัตราซึ่งสารผลิตภัณฑ์ (product) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)
ค. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)
ง. ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
3. ถ้าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร ดังนั้นถ้าเรานาสาร a ไปอุ่นให้ร้อนขึ้น
ผลควรเป็นอย่างไร
ก. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้ช้าลง
ข. ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ค. สาร a อาจจะเปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น หรือ ช้าลง ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ง. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น
4. การทดลองในข้อใด ที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดที่อุณหภูมิเดียวกัน
ก. ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l
ข. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l
ค. ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนัก 0.5 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l
ง. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l
5. การกระทาใดไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. การนาเนื้อหมูแช่ในช่องแช่แข็ง
ข. ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วยในการบ่มมะม่วง
ค. การเคี้ยวยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน
ง. การเปลี่ยนขนาดภาชนะที่บรรจุสารละลายที่ทาปฏิกิริยา
6. ใส่แท่งโลหะสังกะสีรูปทรงกลม 1 cm3
ลงในกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/l 20 cm3
แล้วเขย่าเบาๆ
ถ้าเพิ่มสิ่งต่อไปนี้เป็น 2 เท่า จะทาให้อัตราเร็วของการเกิดแก๊ส H2 มากขึ้น
ก. พื้นที่ผิวของ Zn ข. ปริมาตรของ Zn
ค. ความเข้มข้นของ HCl ง. ปริมาตรของ HCl
1
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
7. ในชีวิตประจาวันเราพบว่าสารเคมีที่มีสมบัติเป็นกรด จะถูกบรรจุอยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วหรือ
พลาสติก ไม่บรรจุในภาชนะที่เป็นโลหะ จากข้อมูลข้างต้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยในการเกิดปฏิกิริยาในข้อใด
ก. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ข. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
ค. อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป
ง. ขนาดหรือพื้นที่ผิวของสารตั้งต้น
8. เมื่อนาชิ้นสังกะสีใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีการใดทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นโดยไม่เพิ่มปริมาณ
สังกะสีและกรดไฮโดรคลอริก
1. ใช้แท่งแก้วคนให้ทั่ว
2. ใช้ผงสังกะสีน้าหนักเท่ากันแทนชิ้นสังกะสี
3. ให้ความร้อน
4. เติมน้ากลั่นลงไปเท่าตัว
ก. 1 , 2 และ 3 ข. 2 , 3 และ 4
ค. 1 , 3 และ 4 ง. 1 , 2 , 3 และ 4
9. ในการปรุงอาหารทาไมต้องหั่นอาหารเป็นชิ้นเล็ก ๆ
ก. เพื่อความสวยงาม
ข. สะดวกเวลารับประทาน
ค. มีความรู้สึกว่าได้อาหารมากขึ้น
ง. เพื่อเพิ่มพื้นที่ทาให้อาหารสุกเร็วมากขึ้น
10. ข้อใดเป็นวิธีที่ช่วยให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วขึ้น
ก. การเพิ่มอุณหภูมิ ข. การเติมตัวหน่วงปฏิกิริยา
ค. การใส่สารตั้งต้นปริมาณมาก ง. การทาสีที่ผิวของโลหะ
**********************************************************************
2
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. ทดลองและอธิบายชนิดของกรดมีผลต่อปฏิกิริยาเคมีกับโลหะบางชนิด
2. อธิบายและยกตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่างกรดกับโลหะที่พบในชีวิตประจาวัน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
รายการ ปริมาณ/กลุ่ม
1. ที่วางหลอดทดลอง
2. หลอดทดลองขนาดเล็ก
3. ชิ้นโลหะทองแดง ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm
4. ชิ้นโลหะสังกะสี ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm
5. ชิ้นโลหะแมกนีเซียม ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm
6. สารละลายกรดซัลฟิวริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
7. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
8. กระดาษทรายชิ้นเล็กๆ
1 อัน
6 หลอด
2 ชิ้น
2 ชิ้น
2 ชิ้น
5 cm3
5 cm3
1 ชิ้น
วิธีทดลอง
1. ใช้หลอดทดลอง 3 หลอด แต่ละหลอดใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง 3 cm3
2. นาชิ้นโลหะทองแดง สังกะสี และแมกนีเซียม หย่อนลงไปในหลอดทดลองแต่ละหลอดพร้อม ๆ กัน
3. สังเกตและเปรียบเทียบ ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงของโลหะทั้ง 3 ชนิด เมื่ออยู่ในสารละลาย
กรดไฮโดรคลอริก
4. ทาการทดลองซ้าข้อ 1 - 3 แต่เปลี่ยนจากสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง เป็นสารละลาย
กรดซัลฟิวริกเจือจาง
3
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ผลการทดลอง
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. แมกนีเซียม + HCl
2. สังกะสี + HCl
3. ทองแดง + HCl
4. แมกนีเซียม + H2SO4
5. สังกะสี + H2SO4
6. ทองแดง + H2SO4
คาถามท้ายการทดลอง
1. โลหะชนิดใดเกิดปฏิกิริยาได้เร็วที่สุด
..............................................................................................................................................................
2. ถ้าต้องการให้สังกะสีทาปฏิกิริยากับกรดเร็วขึ้นจะต้องทาอย่างไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
อภิปรายผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร
และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. ทดลองและอธิบายได้ว่า สารที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารที่มีความ
เข้มข้นน้อยกว่า
2. ทดลองและอธิบายได้ว่า หินปูนที่มีมวลเท่ากันหินปูนที่มีขนาดเล็กกว่าจะเกิดปฏิกิริยากับกรด
ไฮโดรคลอริกได้เร็วกว่า
3. อธิบายได้ว่า สารที่มีมวลเท่ากัน พื้นที่ผิวโดยรวมมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า
4. ทดลองและอธิบายได้ว่า กรดไฮโดรคลอริกที่มีปริมาตรและความเข้มข้นเท่ากัน เมื่อนาไปอุ่นให้
ร้อนจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
รายการ ปริมาณ/กลุ่ม
1. ที่วางหลอดทดลอง
2. หลอดทดลองขนาดเล็ก
3. บีกเกอร์ ขนาด 100 cm3
4. น้าร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 90๐
C
5. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
6. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3
4. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต
5. เม็ดหินปูน
1 อัน
4 หลอด
1 ใบ
50 cm3
25 cm3
5 cm3
5 กรัม
1 กรัม
5
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
วิธีทดลอง
ตอนที่ 1 ความเข้มข้นของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 1
และตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 6.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 2
2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต 1 กรัมใส่ในหลอดทดลองหลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล
ตอนที่ 2 ขนาดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 1
และ 2
2. ชั่งเม็ดแคลเซียมคาร์บอเนตและผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง
หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล
ตอนที่ 3 อุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 1
และ 2
นาหลอดที่ 1 ไปอุ่นในน้าร้อน
2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล
6
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ผลการทดลอง ตอนที่ 1
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ผลการทดลอง ตอนที่ 2
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. เม็ดหินปูน + สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง ...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
เจือจาง
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ผลการทดลอง ตอนที่ 3
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
เจือจางอุ่นในน้าร้อน
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
เจือจาง
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
7
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คาถามท้ายการทดลอง
1. แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ชนิดใดมีพื้นที่ผิวมากกว่ากัน
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
2. ปฏิกิริยาที่ใช้คาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากัน ทราบได้อย่างไร
เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
3. การเพิ่มพื้นที่ผิวของสารตั้งต้นทาได้อย่างไร
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
อภิปรายผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบความรู้ที่ 2.5 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือปริมาณ
สาตตั้งต้นที่ลดลงต่อหนึ่งหน่วยเวลา
ปฏิกิริยาแต่ละปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน
บางปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็วมาก เช่น ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับหินปูน จะเกิดฟองแก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์
ขึ้นทันที การระเบิด การจุดพลุไฟ
บางปฏิกิริยาเกิดขึ้นช้ามาก เช่น การเกิดสนิม การสุกของผลไม้
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยที่ทาให้การเกิดปฏิกิริยามีอัตราการเกิดปฏิกิริยาช้า – เร็วแตกต่างกัน ได้แก่
1. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น กรณีที่สารตั้งต้นเป็นสารละลาย ถ้าสารตั้งต้นมีความเข้มข้นมาก
จะเกิดเร็ว เนื่องจากตัวถูกละลายมีโอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้น ในทางตรงกันข้ามถ้าเราเพิ่มปริมาตรของ
สารละลายโดยความเข้มข้นเท่าเดิม อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเท่าเดิม
2. พื้นที่ผิวสัมผัส กรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็นของแข็ง สารที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมากจะทาปฏิกิริยาได้
เร็วขึ้น เนื่องจากสัมผัสกันมากขึ้น ใช้พิจารณากรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะของแข็ง ดังภาพ
ความแตกต่างของ พื้นที่ผิว
3. ความดัน กรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้าความดันมากปริมาตรก็ลดลง และปฏิกิริยาก็จะเกิด
ได้เร็ว เนื่องจากอนุภาคของสารมีโอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้นในพื้นที่ที่จากัดนั่นเอง ดังภาพ
9
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. อุณหภูมิ การที่อุณหภูมิของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่อ
อุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลของสารในระบบจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้นและมีการชนกันของโมเลกุลมากขึ้น
ปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่า ปฏิกิริยาที่อุณหภูมิสูง
5. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) หมายถึงสารเคมีที่ช่วยทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้นเนื่องจาก
ตัวเร่งจะช่วยในการลดพลังงานกระตุ้นโดยช่วยปรับกลไกในการเกิดปฏิกิริยาให้เหมาะสมกว่าเดิม โดยจะเข้าไป
ช่วยตั้งแต่เริ่มปฏิกิริยาแต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาจะกลับมาเป็นสารเดิม
6. ธรรมชาติของสาร เนื่องจากสารมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งแตกต่างกัน โดยปกติสารประกอบไอออนิก
จะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าสารประกอบโควาเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารประกอบ
โควาเลนต์
10
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ให้นักเรียนบอกปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากภาพต่อไปนี้
ใช้ผงซักฟอกทาความสะอาดเสื้อผ้า /ที่มา : https://home.kapook.com/view101184.html
ใช้ความร้อนทาอาหาร /ที่มา : http://music.mthai.com/news/newsasia/156051.html
สารตั้งต้นที่ใช้ทาดอกไม้ไฟ /ที่มา : http://www.rayabeading.com/highlight_detail.php?id=29&ln=th
เก็บอาหารไว้ในตู้เย็น/ที่มา : http://www.iirboulder2009.org/?p=81
อาหารที่ใส่สารกันบูด/ที่มา : https://www.pstip.com/อาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารกระป๋องใครว่าไม่มีประโยชน์.html
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
11
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. ในชีวิตประจาวันเราพบว่าสารเคมีที่มีสมบัติเป็นกรด จะถูกบรรจุอยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วหรือ
พลาสติก ไม่บรรจุในภาชนะที่เป็นโลหะ จากข้อมูลข้างต้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยในการเกิดปฏิกิริยาในข้อใด
ก. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ข. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
ค. อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป
ง. ขนาดหรือพื้นที่ผิวของสารตั้งต้น
2. การทดลองในข้อใด ที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดที่อุณหภูมิเดียวกัน
ก. ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l
ข. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l
ค. ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนัก 0.5 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l
ง. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l
3. ใส่แท่งโลหะสังกะสีรูปทรงกลม 1 cm3
ลงในกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/l 20 cm3
แล้วเขย่าเบาๆ
ถ้าเพิ่มสิ่งต่อไปนี้เป็น 2 เท่า จะทาให้อัตราเร็วของการเกิดแก๊ส H2 มากขึ้น
ก. พื้นที่ผิวของ Zn ข. ปริมาตรของ Zn
ค. ความเข้มข้นของ HCl ง. ปริมาตรของ HCl
4. ในการปรุงอาหารทาไมต้องหั่นอาหารเป็นชิ้นเล็ก ๆ
ก. เพื่อความสวยงาม
ข. สะดวกเวลารับประทาน
ค. มีความรู้สึกว่าได้อาหารมากขึ้น
ง. เพื่อเพิ่มพื้นที่ทาให้อาหารสุกเร็วมากขึ้น
5. ข้อใดเป็นวิธีที่ช่วยให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วขึ้น
ก. การเพิ่มอุณหภูมิ ข. การเติมตัวหน่วงปฏิกิริยา
ค. การใส่สารตั้งต้นปริมาณมาก ง. การทาสีที่ผิวของโลหะ
6. อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ
ก. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทาปฏิกิริยาไปต่อหน่วยเวลา (t)
ข. อัตราซึ่งสารผลิตภัณฑ์ (product) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)
ค. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)
ง. ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
7. ปัจจัยในข้อใด ใช้ในการพิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง
ก. พื้นที่ผิวสัมผัส ข. อุณหภูมิ ค. ตัวเร่งปฏิกิริยา ง. ตัวหน่วงปฏิกิริยา
12
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
8. ถ้าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร ดังนั้นถ้าเรานาสาร a ไปอุ่นให้ร้อนขึ้น
ผลควรเป็นอย่างไร
ก. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้ช้าลง
ข. ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ค. สาร a อาจจะเปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น หรือ ช้าลง ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ง. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น
9. เมื่อนาชิ้นสังกะสีใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีการใดทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นโดยไม่เพิ่มปริมาณ
สังกะสีและกรดไฮโดรคลอริก
1. ใช้แท่งแก้วคนให้ทั่ว
2. ใช้ผงสังกะสีน้าหนักเท่ากันแทนชิ้นสังกะสี
3. ให้ความร้อน
4. เติมน้ากลั่นลงไปเท่าตัว
ก. 1 , 2 และ 3 ข. 2 , 3 และ 4
ค. 1 , 3 และ 4 ง. 1 , 2 , 3 และ 4
10. การกระทาใดไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. การนาเนื้อหมูแช่ในช่องแช่แข็ง
ข. ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วยในการบ่มมะม่วง
ค. การเคี้ยวยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน
ง. การเปลี่ยนขนาดภาชนะที่บรรจุสารละลายที่ทาปฏิกิริยา
**********************************************************************
13
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
14
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร
และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เฉลยใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. ทดลองและอธิบายชนิดของกรดมีผลต่อปฏิกิริยาเคมีกับโลหะบางชนิด
2. อธิบายและยกตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่างกรดกับโลหะที่พบในชีวิตประจาวัน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
รายการ ปริมาณ/กลุ่ม
1. ที่วางหลอดทดลอง
2. หลอดทดลองขนาดเล็ก
3. ชิ้นโลหะทองแดง ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm
4. ชิ้นโลหะสังกะสี ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm
5. ชิ้นโลหะแมกนีเซียม ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm
6. สารละลายกรดซัลฟิวริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
7. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
8. กระดาษทรายชิ้นเล็กๆ
1 อัน
6 หลอด
2 ชิ้น
2 ชิ้น
2 ชิ้น
5 cm3
5 cm3
1 ชิ้น
วิธีทดลอง
1. ใช้หลอดทดลอง 3 หลอด แต่ละหลอดใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง 3 cm3
2. นาชิ้นโลหะทองแดง สังกะสี และแมกนีเซียม หย่อนลงไปในหลอดทดลองแต่ละหลอดพร้อม ๆ กัน
3. สังเกตและเปรียบเทียบ ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงของโลหะทั้ง 3 ชนิด เมื่ออยู่ในสารละลาย
กรดไฮโดรคลอริก
4. ทาการทดลองซ้าข้อ 1 - 3 แต่เปลี่ยนจากสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง เป็นสารละลาย
กรดซัลฟิวริกเจือจาง
15
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างผลการทดลอง
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. แมกนีเซียม + HCl เกิดฟองแก๊สมาก
2. สังกะสี + HCl เกิดฟองแก๊สน้อย
3. ทองแดง + HCl ไม่เกิดฟองแก๊ส
4. แมกนีเซียม + H2SO4 เกิดฟองแก๊สมาก
5. สังกะสี + H2SO4 เกิดฟองแก๊สน้อย
6. ทองแดง + H2SO4 เกิดฟองแก๊สเล็กๆ เกาะที่แผ่นทองแดง
คาถามท้ายการทดลอง
1. โลหะชนิดใดเกิดปฏิกิริยาได้เร็วที่สุด
แนวคาตอบ โลหะแมกนีเซียม
2. ถ้าต้องการให้สังกะสีทาปฏิกิริยากับกรดเร็วขึ้นจะต้องทาอย่างไร
แนวคาตอบ ขัดสังกะสีด้วยกระดาษทรายให้สะอาดก่อนนาไปทาปฏิกิริยากับกรด และ/หรือเพิ่ม
ความเข้มข้นของกรด ใช้สังกะสีชิ้นเล็กๆ หลายๆ ชิ้น ใช้กรดชนิดอื่น
อภิปรายผลการทดลอง
โลหะแมกนีเซียมเกิดปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกได้เร็วกว่าสังกะสีและทองแดงไม่ทาปฏิกิริยากับ
กรดไฮโดรคลอริก แต่กรดซัลฟิวริกสามารถทาปฏิกิริยาได้กับโลหะทั้ง 3 ได้โดยเรียงลาดับความไวของการเกิด
ปฏิกิริยาจากมากไปหาน้อยดังนี้ แมกนีเซียม > สังกะสี > ทองแดง
สรุปผลการทดลอง
โลหะต่างชนิดกันเมื่อนามาทาปฏิกิริยากับกรดชนิดเดียวกันจะมีความวิ่งไวในการเกิดปฏิกิริยาแตกต่าง
กันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสมบัติเฉพาะตัวของโลหะชนิดนั้น ๆ
16
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร
ขนาดของสารและอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. ทดลองและอธิบายได้ว่า สารที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารที่มีความ
เข้มข้นน้อยกว่า
2. ทดลองและอธิบายได้ว่า หินปูนที่มีมวลเท่ากันหินปูนที่มีขนาดเล็กกว่าจะเกิดปฏิกิริยากับกรด
ไฮโดรคลอริกได้เร็วกว่า
3. อธิบายได้ว่า สารที่มีมวลเท่ากัน พื้นที่ผิวโดยรวมมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า
4. ทดลองและอธิบายได้ว่า กรดไฮโดรคลอริกที่มีปริมาตรและความเข้มข้นเท่ากัน เมื่อนาไปอุ่นให้
ร้อนจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
รายการ ปริมาณ/กลุ่ม
1. ที่วางหลอดทดลอง
2. หลอดทดลองขนาดเล็ก
3. บีกเกอร์ ขนาด 100 cm3
4. น้าร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 90๐
C
5. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
6. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3
7. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต
8. เม็ดหินปูน
1 อัน
4 หลอด
1 ใบ
50 cm3
25 cm3
5 cm3
5 กรัม
1 กรัม
17
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
วิธีทดลอง
ตอนที่ 1 ความเข้มข้นของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 1
และตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 6.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 2
2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต 1 กรัมใส่ในหลอดทดลองหลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล
ตอนที่ 2 ขนาดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 1
และ 2
2. ชั่งเม็ดแคลเซียมคาร์บอเนตและผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง
หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล
ตอนที่ 3 อุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
5 cm3
ใส่ในหลอดทดลองที่ 1
และ 2
นาหลอดที่ 1 ไปอุ่นในน้าร้อน
2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล
18
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างผลการทดลอง ตอนที่ 1
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
ค่อยๆ เกิดฟองแก๊สทีละน้อยและใช้เวลา
นานกว่าฟองแก๊สจะหมด
2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3
เกิดฟองแก๊สจานวนมากและหมดในเวลา
ที่รวดเร็ว
ตัวอย่างผลการทดลอง ตอนที่ 2
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงเมื่อสารผสมกันแล้ว
1. เม็ดหินปูน + สารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น
1.0 mol/dm3
ค่อยๆ เกิดฟองแก๊สทีละน้อยและใช้เวลา
นานกว่าฟองแก๊สจะหมด
2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
เกิดฟองแก๊สจานวนมากและหมดในเวลา
ที่รวดเร็ว
ตัวอย่างผลการทดลอง ตอนที่ 3
สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
อุ่นในน้าร้อน
เกิดฟองแก๊สจานวนมากและหมดในเวลา
ที่รวดเร็ว
2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3
ค่อยๆ เกิดฟองแก๊สทีละน้อยและใช้เวลา
นานกว่าฟองแก๊สจะหมด
19
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คาถามท้ายการทดลอง
1. แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ชนิดใดมีพื้นที่ผิวมากกว่ากัน
แนวคาตอบ แคลเซียมคาร์บอเนตที่เป็นผง
2. เมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากัน ทราบได้อย่างไร
แนวคาตอบ แคลเซียมคาร์บอเนตที่เป็นผง สังเกตได้จากปริมาณของฟองแก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา
3. เปรียบเทียบว่าปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากันเมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง
เพราะเหตุใด
แนวคาตอบ เมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าแคลเซียมคาร์บอเนต
ชนิดเม็ด เนื่องจากแคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงมีพื้นที่ผิวสัมผัสมากกว่าชนิดเม็ดทาให้ปฏิกิริยา
เกิดเร็วขึ้น
4. เมื่อใช้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางที่อุ่นในน้าร้อนกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางมา
ทาปฏิกิริยากับแคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผง ปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากัน ทราบได้อย่างไร
แนวคาตอบ สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางที่อุ่นในน้าร้อนจะทาปฏิกิริยากับแคลเซียม
คาร์บอเนตได้เร็วกว่าที่ไม่ได้อุ่นให้ร้อน สังเกตได้จากปริมาณของฟองแก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลองที่ 1 พบว่า เมื่อใช้กรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้นต่างกันมาทาปฏิกิริยากับ
แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงในปริมาณที่เท่ากัน ในหลอดที่มีความเข้มข้นของกรดไฮโดรคลอริกมากกว่าจะเกิด
ฟองแก๊สมาก และเกิดได้เร็วกว่าในหลอดที่ใช้กรดไฮโดรคลอริกเจือจาง
จากการทดลองที่ 2 พบว่า เมื่อใช้กรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้นเท่ากันมาทาปฏิกิริยากับ
แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงและชนิดเม็ดในปริมาณที่เท่ากัน ในหลอดที่ใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงจะเกิด
ฟองแก๊สและเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าในหลอดที่ใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ด
จากการทดลองที่ 3 พบว่า เมื่อใช้กรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้นเท่ากันมาทาปฏิกิริยากับ
แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผง ในหลอดที่ใช้กรดไฮโดรคลอริกอุ่นร้อนจะเกิดฟองแก๊สและเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า
ในหลอดที่ใช้กรดไฮโดรคลอริกที่ไม่ได้อุ่นให้ร้อน
สรุปผลการทดลอง
จากการผลการทดลองสามารถสรุปผลการทดลองได้ว่าความเข้มข้นมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โดยสารที่มีความเข้มข้นมากจะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้รวดเร็วกว่าสารที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า ขนาดของสารที่
นามาทาปฏิกิริยากันสารที่มีขนาดเล็กกว่าจะเกิด
20
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ให้นักเรียนบอกปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากภาพต่อไปนี้
ใช้ผงซักฟอกทาความสะอาดเสื้อผ้า /ที่มา : https://home.kapook.com/view101184.html
ใช้ความร้อนทาอาหาร /ที่มา : http://music.mthai.com/news/newsasia/156051.html
สารตั้งต้นที่ใช้ทาดอกไม้ไฟ /ที่มา : http://www.rayabeading.com/highlight_detail.php?id=29&ln=th
เก็บอาหารไว้ในตู้เย็น/ที่มา : http://www.iirboulder2009.org/?p=81
อาหารที่ใส่สารกันบูด/ที่มา : https://www.pstip.com/อาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารกระป๋องใครว่าไม่มีประโยชน์.html
การทาความสะอาดเสื้อผ้าด้วยผงซักฟอกเป็นการใช้สารเร่งปฏิกิริยาให้
เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
การให้ความร้อนแก่อาหารเป็นการเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น ทาให้อาหารสุก
เร็ว
ดอกไม้ไฟที่เกิดจากการลุกไหม้กับแก๊สออกซิเจนในอากาศเกิดขึ้นเร็ว
เพราะสมบัติของสารตั้งต้นที่ใช้ทาดอกไม้ไฟเป็นสารที่ไวไฟ ติดไฟง่าย
การเก็บอาหารไว้ในตู้เย็นที่อุณหภูมิต่า จะทาให้อาหารสามารถเก็บได้
นานมากขึ้น
สารกันบูดที่ใส่ในการอาหารเป็นตัวหน่วงปฏิกิริยาที่ไปยับยั้งการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีในอาหาร ทาให้อาหารเน่าเสียช้าลง
21
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาเคมี
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
22
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาเคมี
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
23
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
_____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์
พ.ศ. พัฒนา จากัด.
_____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด.
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.
รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด.
24

More Related Content

What's hot

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
crazygno
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
Kittivut Tantivuttiki
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 

Similar to เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959
mamka
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
buabun
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
npapak74
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมี
poomarin
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
Sutisa Tantikulwijit
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
Porna Saow
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
Porna Saow
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีว
poomarin
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
Blovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
kamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
Maruko Supertinger
 

Similar to เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี (20)

เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมี
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีว
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 

More from Preeyapat Lengrabam

1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
Preeyapat Lengrabam
 

More from Preeyapat Lengrabam (10)

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 

เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • 1.
  • 2. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี คานา เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้ มีจานวน 6 เล่ม เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน เล่มที่ 6 เรื่อง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป ปรีช์ญภัทร เล่งระบา ก
  • 3. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1 กิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3 กิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร 5 และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบความรู้ที่ 2.5 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 9 ใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 11 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 12 ภาคผนวก 14  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 15  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร 17 และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี  เฉลยใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 21  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 22  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 23 บรรณานุกรม 24 ข
  • 4. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. ปัจจัยในข้อใด ใช้ในการพิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง ก. พื้นที่ผิวสัมผัส ข. อุณหภูมิ ค. ตัวเร่งปฏิกิริยา ง. ตัวหน่วงปฏิกิริยา 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ ก. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทาปฏิกิริยาไปต่อหน่วยเวลา (t) ข. อัตราซึ่งสารผลิตภัณฑ์ (product) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t) ค. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t) ง. ถูกทั้งข้อ 1 และ 2 3. ถ้าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร ดังนั้นถ้าเรานาสาร a ไปอุ่นให้ร้อนขึ้น ผลควรเป็นอย่างไร ก. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้ช้าลง ข. ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ค. สาร a อาจจะเปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น หรือ ช้าลง ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ง. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น 4. การทดลองในข้อใด ที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดที่อุณหภูมิเดียวกัน ก. ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l ข. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l ค. ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนัก 0.5 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l ง. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l 5. การกระทาใดไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. การนาเนื้อหมูแช่ในช่องแช่แข็ง ข. ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วยในการบ่มมะม่วง ค. การเคี้ยวยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน ง. การเปลี่ยนขนาดภาชนะที่บรรจุสารละลายที่ทาปฏิกิริยา 6. ใส่แท่งโลหะสังกะสีรูปทรงกลม 1 cm3 ลงในกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/l 20 cm3 แล้วเขย่าเบาๆ ถ้าเพิ่มสิ่งต่อไปนี้เป็น 2 เท่า จะทาให้อัตราเร็วของการเกิดแก๊ส H2 มากขึ้น ก. พื้นที่ผิวของ Zn ข. ปริมาตรของ Zn ค. ความเข้มข้นของ HCl ง. ปริมาตรของ HCl 1
  • 5. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 7. ในชีวิตประจาวันเราพบว่าสารเคมีที่มีสมบัติเป็นกรด จะถูกบรรจุอยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วหรือ พลาสติก ไม่บรรจุในภาชนะที่เป็นโลหะ จากข้อมูลข้างต้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยในการเกิดปฏิกิริยาในข้อใด ก. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ข. ธรรมชาติของสารตั้งต้น ค. อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ง. ขนาดหรือพื้นที่ผิวของสารตั้งต้น 8. เมื่อนาชิ้นสังกะสีใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีการใดทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นโดยไม่เพิ่มปริมาณ สังกะสีและกรดไฮโดรคลอริก 1. ใช้แท่งแก้วคนให้ทั่ว 2. ใช้ผงสังกะสีน้าหนักเท่ากันแทนชิ้นสังกะสี 3. ให้ความร้อน 4. เติมน้ากลั่นลงไปเท่าตัว ก. 1 , 2 และ 3 ข. 2 , 3 และ 4 ค. 1 , 3 และ 4 ง. 1 , 2 , 3 และ 4 9. ในการปรุงอาหารทาไมต้องหั่นอาหารเป็นชิ้นเล็ก ๆ ก. เพื่อความสวยงาม ข. สะดวกเวลารับประทาน ค. มีความรู้สึกว่าได้อาหารมากขึ้น ง. เพื่อเพิ่มพื้นที่ทาให้อาหารสุกเร็วมากขึ้น 10. ข้อใดเป็นวิธีที่ช่วยให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วขึ้น ก. การเพิ่มอุณหภูมิ ข. การเติมตัวหน่วงปฏิกิริยา ค. การใส่สารตั้งต้นปริมาณมาก ง. การทาสีที่ผิวของโลหะ ********************************************************************** 2
  • 6. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ 1. ทดลองและอธิบายชนิดของกรดมีผลต่อปฏิกิริยาเคมีกับโลหะบางชนิด 2. อธิบายและยกตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่างกรดกับโลหะที่พบในชีวิตประจาวัน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. ที่วางหลอดทดลอง 2. หลอดทดลองขนาดเล็ก 3. ชิ้นโลหะทองแดง ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm 4. ชิ้นโลหะสังกะสี ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm 5. ชิ้นโลหะแมกนีเซียม ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm 6. สารละลายกรดซัลฟิวริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 7. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 8. กระดาษทรายชิ้นเล็กๆ 1 อัน 6 หลอด 2 ชิ้น 2 ชิ้น 2 ชิ้น 5 cm3 5 cm3 1 ชิ้น วิธีทดลอง 1. ใช้หลอดทดลอง 3 หลอด แต่ละหลอดใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง 3 cm3 2. นาชิ้นโลหะทองแดง สังกะสี และแมกนีเซียม หย่อนลงไปในหลอดทดลองแต่ละหลอดพร้อม ๆ กัน 3. สังเกตและเปรียบเทียบ ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงของโลหะทั้ง 3 ชนิด เมื่ออยู่ในสารละลาย กรดไฮโดรคลอริก 4. ทาการทดลองซ้าข้อ 1 - 3 แต่เปลี่ยนจากสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง เป็นสารละลาย กรดซัลฟิวริกเจือจาง 3
  • 7. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลการทดลอง สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. แมกนีเซียม + HCl 2. สังกะสี + HCl 3. ทองแดง + HCl 4. แมกนีเซียม + H2SO4 5. สังกะสี + H2SO4 6. ทองแดง + H2SO4 คาถามท้ายการทดลอง 1. โลหะชนิดใดเกิดปฏิกิริยาได้เร็วที่สุด .............................................................................................................................................................. 2. ถ้าต้องการให้สังกะสีทาปฏิกิริยากับกรดเร็วขึ้นจะต้องทาอย่างไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... อภิปรายผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4
  • 8. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ 1. ทดลองและอธิบายได้ว่า สารที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารที่มีความ เข้มข้นน้อยกว่า 2. ทดลองและอธิบายได้ว่า หินปูนที่มีมวลเท่ากันหินปูนที่มีขนาดเล็กกว่าจะเกิดปฏิกิริยากับกรด ไฮโดรคลอริกได้เร็วกว่า 3. อธิบายได้ว่า สารที่มีมวลเท่ากัน พื้นที่ผิวโดยรวมมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า 4. ทดลองและอธิบายได้ว่า กรดไฮโดรคลอริกที่มีปริมาตรและความเข้มข้นเท่ากัน เมื่อนาไปอุ่นให้ ร้อนจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. ที่วางหลอดทดลอง 2. หลอดทดลองขนาดเล็ก 3. บีกเกอร์ ขนาด 100 cm3 4. น้าร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 90๐ C 5. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 6. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3 4. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต 5. เม็ดหินปูน 1 อัน 4 หลอด 1 ใบ 50 cm3 25 cm3 5 cm3 5 กรัม 1 กรัม 5
  • 9. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี วิธีทดลอง ตอนที่ 1 ความเข้มข้นของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 1 และตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 6.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 2 2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต 1 กรัมใส่ในหลอดทดลองหลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ 3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล ตอนที่ 2 ขนาดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 1 และ 2 2. ชั่งเม็ดแคลเซียมคาร์บอเนตและผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ 3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล ตอนที่ 3 อุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 1 และ 2 นาหลอดที่ 1 ไปอุ่นในน้าร้อน 2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ 3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล 6
  • 10. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลการทดลอง ตอนที่ 1 สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... 2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3 ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ผลการทดลอง ตอนที่ 2 สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. เม็ดหินปูน + สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... 2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก เจือจาง ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ผลการทดลอง ตอนที่ 3 สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก เจือจางอุ่นในน้าร้อน ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... 2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก เจือจาง ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... 7
  • 11. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี คาถามท้ายการทดลอง 1. แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ชนิดใดมีพื้นที่ผิวมากกว่ากัน .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... 2. ปฏิกิริยาที่ใช้คาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากัน ทราบได้อย่างไร เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 3. การเพิ่มพื้นที่ผิวของสารตั้งต้นทาได้อย่างไร .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... อภิปรายผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8
  • 12. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบความรู้ที่ 2.5 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือปริมาณ สาตตั้งต้นที่ลดลงต่อหนึ่งหน่วยเวลา ปฏิกิริยาแต่ละปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน บางปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็วมาก เช่น ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับหินปูน จะเกิดฟองแก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์ ขึ้นทันที การระเบิด การจุดพลุไฟ บางปฏิกิริยาเกิดขึ้นช้ามาก เช่น การเกิดสนิม การสุกของผลไม้ ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่ทาให้การเกิดปฏิกิริยามีอัตราการเกิดปฏิกิริยาช้า – เร็วแตกต่างกัน ได้แก่ 1. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น กรณีที่สารตั้งต้นเป็นสารละลาย ถ้าสารตั้งต้นมีความเข้มข้นมาก จะเกิดเร็ว เนื่องจากตัวถูกละลายมีโอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้น ในทางตรงกันข้ามถ้าเราเพิ่มปริมาตรของ สารละลายโดยความเข้มข้นเท่าเดิม อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเท่าเดิม 2. พื้นที่ผิวสัมผัส กรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็นของแข็ง สารที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมากจะทาปฏิกิริยาได้ เร็วขึ้น เนื่องจากสัมผัสกันมากขึ้น ใช้พิจารณากรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะของแข็ง ดังภาพ ความแตกต่างของ พื้นที่ผิว 3. ความดัน กรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้าความดันมากปริมาตรก็ลดลง และปฏิกิริยาก็จะเกิด ได้เร็ว เนื่องจากอนุภาคของสารมีโอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้นในพื้นที่ที่จากัดนั่นเอง ดังภาพ 9
  • 13. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. อุณหภูมิ การที่อุณหภูมิของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่อ อุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลของสารในระบบจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้นและมีการชนกันของโมเลกุลมากขึ้น ปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่า ปฏิกิริยาที่อุณหภูมิสูง 5. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) หมายถึงสารเคมีที่ช่วยทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้นเนื่องจาก ตัวเร่งจะช่วยในการลดพลังงานกระตุ้นโดยช่วยปรับกลไกในการเกิดปฏิกิริยาให้เหมาะสมกว่าเดิม โดยจะเข้าไป ช่วยตั้งแต่เริ่มปฏิกิริยาแต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาจะกลับมาเป็นสารเดิม 6. ธรรมชาติของสาร เนื่องจากสารมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งแตกต่างกัน โดยปกติสารประกอบไอออนิก จะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าสารประกอบโควาเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารประกอบ โควาเลนต์ 10
  • 14. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ให้นักเรียนบอกปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากภาพต่อไปนี้ ใช้ผงซักฟอกทาความสะอาดเสื้อผ้า /ที่มา : https://home.kapook.com/view101184.html ใช้ความร้อนทาอาหาร /ที่มา : http://music.mthai.com/news/newsasia/156051.html สารตั้งต้นที่ใช้ทาดอกไม้ไฟ /ที่มา : http://www.rayabeading.com/highlight_detail.php?id=29&ln=th เก็บอาหารไว้ในตู้เย็น/ที่มา : http://www.iirboulder2009.org/?p=81 อาหารที่ใส่สารกันบูด/ที่มา : https://www.pstip.com/อาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารกระป๋องใครว่าไม่มีประโยชน์.html .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. 11
  • 15. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. ในชีวิตประจาวันเราพบว่าสารเคมีที่มีสมบัติเป็นกรด จะถูกบรรจุอยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วหรือ พลาสติก ไม่บรรจุในภาชนะที่เป็นโลหะ จากข้อมูลข้างต้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยในการเกิดปฏิกิริยาในข้อใด ก. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ข. ธรรมชาติของสารตั้งต้น ค. อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ง. ขนาดหรือพื้นที่ผิวของสารตั้งต้น 2. การทดลองในข้อใด ที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุดที่อุณหภูมิเดียวกัน ก. ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l ข. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l ค. ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนัก 0.5 กรัมลงในกรด HCl 0.2 mol/l ง. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัมลงในกรด HCl 0.1 mol/l 3. ใส่แท่งโลหะสังกะสีรูปทรงกลม 1 cm3 ลงในกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/l 20 cm3 แล้วเขย่าเบาๆ ถ้าเพิ่มสิ่งต่อไปนี้เป็น 2 เท่า จะทาให้อัตราเร็วของการเกิดแก๊ส H2 มากขึ้น ก. พื้นที่ผิวของ Zn ข. ปริมาตรของ Zn ค. ความเข้มข้นของ HCl ง. ปริมาตรของ HCl 4. ในการปรุงอาหารทาไมต้องหั่นอาหารเป็นชิ้นเล็ก ๆ ก. เพื่อความสวยงาม ข. สะดวกเวลารับประทาน ค. มีความรู้สึกว่าได้อาหารมากขึ้น ง. เพื่อเพิ่มพื้นที่ทาให้อาหารสุกเร็วมากขึ้น 5. ข้อใดเป็นวิธีที่ช่วยให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วขึ้น ก. การเพิ่มอุณหภูมิ ข. การเติมตัวหน่วงปฏิกิริยา ค. การใส่สารตั้งต้นปริมาณมาก ง. การทาสีที่ผิวของโลหะ 6. อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ ก. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทาปฏิกิริยาไปต่อหน่วยเวลา (t) ข. อัตราซึ่งสารผลิตภัณฑ์ (product) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t) ค. อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t) ง. ถูกทั้งข้อ 1 และ 2 7. ปัจจัยในข้อใด ใช้ในการพิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง ก. พื้นที่ผิวสัมผัส ข. อุณหภูมิ ค. ตัวเร่งปฏิกิริยา ง. ตัวหน่วงปฏิกิริยา 12
  • 16. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8. ถ้าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร ดังนั้นถ้าเรานาสาร a ไปอุ่นให้ร้อนขึ้น ผลควรเป็นอย่างไร ก. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้ช้าลง ข. ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ค. สาร a อาจจะเปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น หรือ ช้าลง ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ง. สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น 9. เมื่อนาชิ้นสังกะสีใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วิธีการใดทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นโดยไม่เพิ่มปริมาณ สังกะสีและกรดไฮโดรคลอริก 1. ใช้แท่งแก้วคนให้ทั่ว 2. ใช้ผงสังกะสีน้าหนักเท่ากันแทนชิ้นสังกะสี 3. ให้ความร้อน 4. เติมน้ากลั่นลงไปเท่าตัว ก. 1 , 2 และ 3 ข. 2 , 3 และ 4 ค. 1 , 3 และ 4 ง. 1 , 2 , 3 และ 4 10. การกระทาใดไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. การนาเนื้อหมูแช่ในช่องแช่แข็ง ข. ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วยในการบ่มมะม่วง ค. การเคี้ยวยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน ง. การเปลี่ยนขนาดภาชนะที่บรรจุสารละลายที่ทาปฏิกิริยา ********************************************************************** 13
  • 17. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 14  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสาร และอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี  เฉลยใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 18. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.4 ชนิดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ 1. ทดลองและอธิบายชนิดของกรดมีผลต่อปฏิกิริยาเคมีกับโลหะบางชนิด 2. อธิบายและยกตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่างกรดกับโลหะที่พบในชีวิตประจาวัน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. ที่วางหลอดทดลอง 2. หลอดทดลองขนาดเล็ก 3. ชิ้นโลหะทองแดง ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm 4. ชิ้นโลหะสังกะสี ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm 5. ชิ้นโลหะแมกนีเซียม ขนาด 0.5 cm x 1.5 cm 6. สารละลายกรดซัลฟิวริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 7. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 8. กระดาษทรายชิ้นเล็กๆ 1 อัน 6 หลอด 2 ชิ้น 2 ชิ้น 2 ชิ้น 5 cm3 5 cm3 1 ชิ้น วิธีทดลอง 1. ใช้หลอดทดลอง 3 หลอด แต่ละหลอดใส่สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง 3 cm3 2. นาชิ้นโลหะทองแดง สังกะสี และแมกนีเซียม หย่อนลงไปในหลอดทดลองแต่ละหลอดพร้อม ๆ กัน 3. สังเกตและเปรียบเทียบ ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงของโลหะทั้ง 3 ชนิด เมื่ออยู่ในสารละลาย กรดไฮโดรคลอริก 4. ทาการทดลองซ้าข้อ 1 - 3 แต่เปลี่ยนจากสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง เป็นสารละลาย กรดซัลฟิวริกเจือจาง 15
  • 19. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างผลการทดลอง สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. แมกนีเซียม + HCl เกิดฟองแก๊สมาก 2. สังกะสี + HCl เกิดฟองแก๊สน้อย 3. ทองแดง + HCl ไม่เกิดฟองแก๊ส 4. แมกนีเซียม + H2SO4 เกิดฟองแก๊สมาก 5. สังกะสี + H2SO4 เกิดฟองแก๊สน้อย 6. ทองแดง + H2SO4 เกิดฟองแก๊สเล็กๆ เกาะที่แผ่นทองแดง คาถามท้ายการทดลอง 1. โลหะชนิดใดเกิดปฏิกิริยาได้เร็วที่สุด แนวคาตอบ โลหะแมกนีเซียม 2. ถ้าต้องการให้สังกะสีทาปฏิกิริยากับกรดเร็วขึ้นจะต้องทาอย่างไร แนวคาตอบ ขัดสังกะสีด้วยกระดาษทรายให้สะอาดก่อนนาไปทาปฏิกิริยากับกรด และ/หรือเพิ่ม ความเข้มข้นของกรด ใช้สังกะสีชิ้นเล็กๆ หลายๆ ชิ้น ใช้กรดชนิดอื่น อภิปรายผลการทดลอง โลหะแมกนีเซียมเกิดปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกได้เร็วกว่าสังกะสีและทองแดงไม่ทาปฏิกิริยากับ กรดไฮโดรคลอริก แต่กรดซัลฟิวริกสามารถทาปฏิกิริยาได้กับโลหะทั้ง 3 ได้โดยเรียงลาดับความไวของการเกิด ปฏิกิริยาจากมากไปหาน้อยดังนี้ แมกนีเซียม > สังกะสี > ทองแดง สรุปผลการทดลอง โลหะต่างชนิดกันเมื่อนามาทาปฏิกิริยากับกรดชนิดเดียวกันจะมีความวิ่งไวในการเกิดปฏิกิริยาแตกต่าง กันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสมบัติเฉพาะตัวของโลหะชนิดนั้น ๆ 16
  • 20. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.5 ความเข้มข้นของสาร ขนาดของสารและอุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ 1. ทดลองและอธิบายได้ว่า สารที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารที่มีความ เข้มข้นน้อยกว่า 2. ทดลองและอธิบายได้ว่า หินปูนที่มีมวลเท่ากันหินปูนที่มีขนาดเล็กกว่าจะเกิดปฏิกิริยากับกรด ไฮโดรคลอริกได้เร็วกว่า 3. อธิบายได้ว่า สารที่มีมวลเท่ากัน พื้นที่ผิวโดยรวมมากกว่าจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า 4. ทดลองและอธิบายได้ว่า กรดไฮโดรคลอริกที่มีปริมาตรและความเข้มข้นเท่ากัน เมื่อนาไปอุ่นให้ ร้อนจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. ที่วางหลอดทดลอง 2. หลอดทดลองขนาดเล็ก 3. บีกเกอร์ ขนาด 100 cm3 4. น้าร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 90๐ C 5. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 6. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3 7. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต 8. เม็ดหินปูน 1 อัน 4 หลอด 1 ใบ 50 cm3 25 cm3 5 cm3 5 กรัม 1 กรัม 17
  • 21. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี วิธีทดลอง ตอนที่ 1 ความเข้มข้นของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 1 และตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 6.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 2 2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต 1 กรัมใส่ในหลอดทดลองหลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ 3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล ตอนที่ 2 ขนาดของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 1 และ 2 2. ชั่งเม็ดแคลเซียมคาร์บอเนตและผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ 3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล ตอนที่ 3 อุณหภูมิของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 5 cm3 ใส่ในหลอดทดลองที่ 1 และ 2 นาหลอดที่ 1 ไปอุ่นในน้าร้อน 2. ชั่งผงแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างละ 1 กรัมใส่ในหลอดทดลอง หลอดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ 3. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละหลอด บันทึกผล 18
  • 22. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างผลการทดลอง ตอนที่ 1 สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 ค่อยๆ เกิดฟองแก๊สทีละน้อยและใช้เวลา นานกว่าฟองแก๊สจะหมด 2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 6.0 mol/dm3 เกิดฟองแก๊สจานวนมากและหมดในเวลา ที่รวดเร็ว ตัวอย่างผลการทดลอง ตอนที่ 2 สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงเมื่อสารผสมกันแล้ว 1. เม็ดหินปูน + สารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 ค่อยๆ เกิดฟองแก๊สทีละน้อยและใช้เวลา นานกว่าฟองแก๊สจะหมด 2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 เกิดฟองแก๊สจานวนมากและหมดในเวลา ที่รวดเร็ว ตัวอย่างผลการทดลอง ตอนที่ 3 สารที่ผสมกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 อุ่นในน้าร้อน เกิดฟองแก๊สจานวนมากและหมดในเวลา ที่รวดเร็ว 2. ผงแคลเซียมคาร์บอเนต + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 ค่อยๆ เกิดฟองแก๊สทีละน้อยและใช้เวลา นานกว่าฟองแก๊สจะหมด 19
  • 23. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี คาถามท้ายการทดลอง 1. แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ชนิดใดมีพื้นที่ผิวมากกว่ากัน แนวคาตอบ แคลเซียมคาร์บอเนตที่เป็นผง 2. เมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง ปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากัน ทราบได้อย่างไร แนวคาตอบ แคลเซียมคาร์บอเนตที่เป็นผง สังเกตได้จากปริมาณของฟองแก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา 3. เปรียบเทียบว่าปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากันเมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ดกับชนิดผง เพราะเหตุใด แนวคาตอบ เมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าแคลเซียมคาร์บอเนต ชนิดเม็ด เนื่องจากแคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงมีพื้นที่ผิวสัมผัสมากกว่าชนิดเม็ดทาให้ปฏิกิริยา เกิดเร็วขึ้น 4. เมื่อใช้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางที่อุ่นในน้าร้อนกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางมา ทาปฏิกิริยากับแคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผง ปฏิกิริยาใดเกิดได้เร็วกว่ากัน ทราบได้อย่างไร แนวคาตอบ สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางที่อุ่นในน้าร้อนจะทาปฏิกิริยากับแคลเซียม คาร์บอเนตได้เร็วกว่าที่ไม่ได้อุ่นให้ร้อน สังเกตได้จากปริมาณของฟองแก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลองที่ 1 พบว่า เมื่อใช้กรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้นต่างกันมาทาปฏิกิริยากับ แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงในปริมาณที่เท่ากัน ในหลอดที่มีความเข้มข้นของกรดไฮโดรคลอริกมากกว่าจะเกิด ฟองแก๊สมาก และเกิดได้เร็วกว่าในหลอดที่ใช้กรดไฮโดรคลอริกเจือจาง จากการทดลองที่ 2 พบว่า เมื่อใช้กรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้นเท่ากันมาทาปฏิกิริยากับ แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงและชนิดเม็ดในปริมาณที่เท่ากัน ในหลอดที่ใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงจะเกิด ฟองแก๊สและเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าในหลอดที่ใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดเม็ด จากการทดลองที่ 3 พบว่า เมื่อใช้กรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้นเท่ากันมาทาปฏิกิริยากับ แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผง ในหลอดที่ใช้กรดไฮโดรคลอริกอุ่นร้อนจะเกิดฟองแก๊สและเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า ในหลอดที่ใช้กรดไฮโดรคลอริกที่ไม่ได้อุ่นให้ร้อน สรุปผลการทดลอง จากการผลการทดลองสามารถสรุปผลการทดลองได้ว่าความเข้มข้นมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยสารที่มีความเข้มข้นมากจะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้รวดเร็วกว่าสารที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า ขนาดของสารที่ นามาทาปฏิกิริยากันสารที่มีขนาดเล็กกว่าจะเกิด 20
  • 24. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยใบงานที่ 2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ให้นักเรียนบอกปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากภาพต่อไปนี้ ใช้ผงซักฟอกทาความสะอาดเสื้อผ้า /ที่มา : https://home.kapook.com/view101184.html ใช้ความร้อนทาอาหาร /ที่มา : http://music.mthai.com/news/newsasia/156051.html สารตั้งต้นที่ใช้ทาดอกไม้ไฟ /ที่มา : http://www.rayabeading.com/highlight_detail.php?id=29&ln=th เก็บอาหารไว้ในตู้เย็น/ที่มา : http://www.iirboulder2009.org/?p=81 อาหารที่ใส่สารกันบูด/ที่มา : https://www.pstip.com/อาหารเพื่อสุขภาพ/อาหารกระป๋องใครว่าไม่มีประโยชน์.html การทาความสะอาดเสื้อผ้าด้วยผงซักฟอกเป็นการใช้สารเร่งปฏิกิริยาให้ เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น การให้ความร้อนแก่อาหารเป็นการเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น ทาให้อาหารสุก เร็ว ดอกไม้ไฟที่เกิดจากการลุกไหม้กับแก๊สออกซิเจนในอากาศเกิดขึ้นเร็ว เพราะสมบัติของสารตั้งต้นที่ใช้ทาดอกไม้ไฟเป็นสารที่ไวไฟ ติดไฟง่าย การเก็บอาหารไว้ในตู้เย็นที่อุณหภูมิต่า จะทาให้อาหารสามารถเก็บได้ นานมากขึ้น สารกันบูดที่ใส่ในการอาหารเป็นตัวหน่วงปฏิกิริยาที่ไปยับยั้งการ เกิดปฏิกิริยาเคมีในอาหาร ทาให้อาหารเน่าเสียช้าลง 21
  • 25. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาเคมี ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  22
  • 26. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาเคมี ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  23
  • 27. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. _____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. _____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. _____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด. รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด. 24