SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
จัดทําโดย
นางสาวรัญชิดา พรมบัวคู ม.5/2 เลขที่ 20
เสนอ
คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศแปลก พิบูลสงคราม
หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป. พิบูลสงคราม" หรือ "จอมพล ป." เป็น
นายกรัฐมนตรี ที่มีเวลาดํารงตําแหน่ง รวมกันมากที่สุดของไทย คือ 14 ปี 11 เดือน 18
วัน รวม 8 สมัย มีนโยบายที่สําคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความ
เจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดย
ออกประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้
ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรํา
วง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้
เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
ประวัติ
จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม
จังหวัดนนทบุรี จากนั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก กระทั่ง
สําเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2459 ขณะอายุ 19 ปี โดยได้รับยศร้อยตรี และเข้า
ประจําการที่กองพลที่ 7 จังหวัดพิษณุโลก จากนั้นไม่นานได้สอบเข้าโรงเรียน
เสนาธิการได้เป็นที่ 1 และเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
ประเทศฝรั่งเศสและโรงเรียนทหารขั้นสูง ประเทศอิตาลี จนสําเร็จการศึกษา
และกลับมารับราชการต่อไป กระทั่งได้ยศพันตรี มีบรรดาศักดิ์และราชทิน
นาม ที่ "หลวงพิบูลสงคราม"
ครั้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ท่านได้เข้าดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี
โดยการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และในช่วงที่ดํารงตําแหน่งก็ได้
เลื่อนยศเป็นพลตรี ภายหลังจากที่กองทัพไทยมีชัยชนะต่ออินโดจีนฝรั่งเศส คณะ
ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ได้ประกาศ
พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพล
อากาศ แก่พลตรีหลวงพิบูลสงครามในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิก
บรรดาศักดิ์ไทย หลวงพิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วย
คณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยหลวงพิบูลสงครามเลือกใช้
ราชทินนามเป็นนามสกุล ใช้ว่า จอมพลแปลก พิบูลสงคราม
ชีวิตและบทบาททางการเมือง
คณะราษฎร
จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า "แปลก" เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดา
เห็นว่าหูทั้งสองข้างอยู่ตํ่ากว่านัยน์ตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงให้ชื่อว่า แปลก เมื่อ
ขึ้นดํารงตําแหน่งสําคัญ ได้ใช้ชื่อว่า ป. ซึ่งเป็นตัวอักษรย่อเฉกเช่นชื่อของบุคคลสําคัญ
หลายคนทางประเทศแถบตะวันตก
จอมพล ป. เป็นหนึ่งในคณะนายทหารผู้ร่วมก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี
พ.ศ. 2475 โดยเป็นนายทหารปืนใหญ่ รุ่นน้องของ พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา 2
ปี ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก และเป็นสมาชิกคณะราษฎรยุค ก่อตั้งซึ่งมีทั้งหมด 7
คน ตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส โดยถือเป็นผู้นําของคณะทหารบกยศชั้น
ผู้น้อย
ต่อมาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว จอมพล ป. เริ่มมีบทบาทสําคัญมาก
ขึ้นเรื่อย ๆ จากเป็นแกนนําในการรัฐประหารและเป็นผู้บัญชาการกองกําลังผสม ในการ
ปราบกบฏบวรเดช จนได้รับความไว้วางใจ ให้ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลา
ต่อมาซึ่งก่อนหน้านั้นระหว่างมีการประชุมกันครั้งแรกของคณะราษฎรที่ยาวนาน ที่
ประเทศฝรั่งเศส จอมพล ป. ได้เสนอว่าหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วให้สําเร็จโทษ
พระบรมวงศานุวงศ์ทุก พระองค์ แต่ทางนายปรีดี พนมยงค์ ผู้นําคณะราษฎรฝ่ายพล
เรือน ได้คัดค้าน โดยยกเหตุผลว่าหากกระทําเช่นนั้นแล้ว จะทําให้เกิดความวุ่นวายและ
ความรุนแรงขึ้นทั่วประเทศเหมือนเช่นการปฏิวัติรัสเซีย
อีกทั้งในการประชุมครั้งสุดท้ายในประเทศไทย ก่อนที่จะลงมือจริงไม่กี่
วัน พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นนายทหารบกชั้นผู้ใหญ่ ผู้วางแผนการ
ปฏิวัติทั้งหมด ได้เสนอแผนการออกมา ทางจอมพล ป. ซึ่งขณะนั้นมี
บรรดาศักดิ์เป็น หลวงพิบูลสงคราม ซึ่งถือเป็นนายทหารชั้นผู้น้อยกว่า ได้
สอบถามว่า หากแผนการดังกล่าวไม่สําเร็จ จะมีแผนสํารองประการใด
หรือไม่ แต่ทางฝ่าย พ.อ.พระยาทรงสุรเดชไม่ตอบ แต่ได้ย้อนถามกลับไป
ว่า แล้วทางจอมพล ป. มีแผนอะไร และไม่ยอมตอบว่าตนมีแผนสํารอง
อะไร ซึ่งทั้งคู่ได้มีปากเสียงกัน หลังจากการประชุมจบแล้ว จอมพล ป. ได้
ปรารภกับนายทวี บุณยเกตุ สมาชิกคณะราษฎรฝ่ายพลเรือนที่เข้าประชุม
ด้วยกันว่า ตนเองกับ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ไม่อาจอยู่ร่วมโลกกันได้
การดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งแรก
นับแต่จอมพล ป. ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2481 ได้มี
นโยบายในการสร้างชาติ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออก
กฎหมายคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพ
บางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้า
ไทย ด้วยคําขวัญว่า "ไทยทํา ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล ป.
ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรมบางอย่าง เพื่อให้สอดคล้อง
กับการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และให้เกิดความทันสมัย เช่น
ประกาศให้ข้าราชการเลิกนุ่งผ้าม่วง เลิกสวมเสื้อราชปะแตน
และให้นุ่งกางเกงขายาวแทน มีการยกเลิกบรรดาศักดิ์ และยศข้าราชการพลเรือน มี
การเปลี่ยนชื่อประเทศจาก "สยาม" เป็น "ไทย" ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และ
เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จาก วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เพื่อให้
สอดคล้องกับหลักสากล
มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ.
2485 เพื่อจัดระเบียบการดําเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบอารยประเทศ โดย
ประกาศรัฐนิยมฉบับต่างๆ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกินหมากโดย เด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิก
นุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่งเสริมศิลปะ
และดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริมดนตรีสากล ฯลฯ โดยมีคําขวัญในสมัยนั้นว่า "มาลานํา
ไทยสู่มหาอํานาจ"
หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตํารวจจับและปรับ และยังวางระเบียบการใช้คํา
แทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน, ท่าน, เรา มีคําสั่งให้ข้าราชการกล่าวคําว่า "สวัสดี" ใน
โอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออกเสียงซํ้ากันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการ
สะกดคํามากมาย เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เขียนเป็น กระซวงสึกสาธิการ เป็นต้น เมื่อ
จอมพล ป. พิบูลสงคราม หลุดจากอํานาจหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ รัฐนิยมก็ถูก
ยกเลิกไปโดยปริยาย อักขรวิธีภาษาไทยได้กลับไปใช้แบบเดิมอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ดี
วัฒนธรรมที่สังคมไทยเริ่มรับมาจากตะวันตกหลายรูปแบบในขณะนั้น ยังคงอยู่ต่อมา
แม้ว่าจะไม่มีการบังคับใช้ตาม "รัฐนิยม" อีกต่อไป และได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของ
วัฒนธรรมไทยสมัยใหม่ไปแล้ว
ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เกิดสงครามอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศส จาก
ปัญหาเรื่องการใช้แม่นํ้าโขงเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน ซึ่ง
อยู่ในครอบครองฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยฝรั่งเศสไม่ยอมตกลงเรื่อง
การใช้ร่องนํ้าลึกเป็นเส้นเขตแดน ในเดือนพฤศจิกายนพ.ศ. 2483 ฝรั่งเศสส่ง
เครื่องบินมาทิ้งระเบิดเมืองนครพนม การรบระหว่างฝรั่งเศสกับไทยจึงเริ่มขึ้น
ฝรั่งเศสโจมตีไทยทางอรัญประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. ส่งทหารไทยเข้าไปในอิน
โดจีนทางด้านเขมร แต่ในที่สุดญี่ปุ่นเสนอตัวเข้าไกล่เกลี่ย จนมีการส่งผู้แทนไป
ลงนามอนุสัญญาโตเกียว เมื่อวันที่ พฤษภาคม พ.ศ. 2484
ในครั้งนั้นไทยได้ดินแดนฝั่งขวาแม่นํ้าโขงคืน รวมทั้งทางใต้
ตรงข้ามปากเซ คือ แขวงจัมปาศักดิ์ และดินแดนในเขมรที่เสียให้
ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ. 2450 กลับคืนมาด้วย และในวันที่ 24
มิถุนายน พ.ศ. 2484 พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้เป็นผู้
วางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เพื่อเป็นอนุสรณ์
สถานระลึกถึงชัยชนะของไทยต่อฝรั่งเศส และ 1 ปีต่อมา จอม
พล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้กระทําพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน
พ.ศ. 2485
การดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีในครั้งหลัง
แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี พ.ศ. 2491 ท่านก็ได้
หวนกลับมาคืนสู่ตําแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทํา
รัฐประหารของกลุ่มนายทหารที่นับถือท่านอยู่ ที่นําโดย พลโท
ผิน ชุณหะวัณ คราวนี้ดํารงตําแหน่งยาวนานถึง 9 ปี ผ่านวิกฤต
และเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอาชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น
กบฏเสนาธิการ, กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคยยึด
อํานาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาในช่วงที่ยังไม่หลุดจากอํานาจว่า
"นายกฯตลอดกาล"
บั้นปลายชีวิต
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11
มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพัก
ส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้66 ปี โดยก่อนที่จะถึงแก่
อสัญกรรมนั้น จอมพล ป. ยังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมือนคน
ปกติ ยังรับประทานอาหารมื้อเที่ยงพร้อมกับครอบครัวและคน
สนิทได้เหมือนปกติ แต่ทว่าเมื่อถึงเวลาเย็นก็ได้ทรุดลงและถึงแก่
อสัญกรรมอย่างกระทันหัน (ซึ่งในเรื่องนี้บางส่วนเชื่อกันว่าเป็น
การลอบวางยาพิษ )
บทบาททางสังคม
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มองค์กรและ
หน่วยงานสําคัญ ๆ ของประเทศหลายองค์กร ที่พัฒนาและ
เจริญรุ่งเรืองมาจนปัจจุบัน ซึ่งล้วนแต่เป็นหน่วยงานที่มีความ
เฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์
(มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน), มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้ง
เป็นผู้ที่ใช้อํานาจยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อ
พระวงศ์และที่อยู่ของบุคคลสําคัญก่อนการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองมาใช้เป็นสถานที่ราชการ เช่น วังบางขุนพรหม, วังสวน
กุหลาบ, บ้านมนังคศิลา, บ้านพิษณุโลก, บ้านนรสิงห์ เป็นต้น
ผู้ก่อตั้งโทรทัศน์แห่งแรกของประเทศ
วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2493 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู้นํา
รัฐบาลมอบหมายให้ กรมประชาสัมพันธ์เสนอ "โครงการจัดตั้ง
วิทยุโทรภาพ" ต่อคณะรัฐมนตรี ต่อมาวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.
2493 คณะรัฐมนตรีลงมติให้จัดตั้งวิทยุโทรภาพและให้ตั้ง
งบประมาณใน พ.ศ. 2494
ในวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2493 จอมพล ป. เขียนข้อความด้วย
ลายมือ ถึง พล.ต.สุรจิต จารุเศรณี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ใน
ขณะนั้น ให้ศึกษาจัดหาและจัดส่ง "Television"
ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร
ในปี พ.ศ. 2491 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ประกาศนโยบาย
จัดตั้งตลาดนัดทั่วประเทศทุกสุดสัปดาห์ ในกรุงเทพฯ มีการจัด
ตลาดนัดขึ้นที่สนามหลวง ซึ่งเรียกว่า ตลาดนัดสนามหลวง หรือ
ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน ตลาดนัดสนามหลวงได้ย้าย
ออกไปจากบริเวณสนามหลวงแล้ว โดยไปอยู่ที่ ตลาดนัดจตุจักร
แทน
บ้านพักคนชรา
บ้านพักคนชราบางแค หรือ บ้านบางแค ในปัจจุบัน เดิมใช้ชื่อ
ว่า "สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค" ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1
มิถุนายน พ.ศ. 2496 ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น
นายกรัฐมนตรี นับเป็นสถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุแห่งแรกของ
ประเทศไทย เพื่อให้การสงเคราะห์ผู้สูงอายุตามนโยบาย
สวัสดิการสังคมของรัฐ โดยเริ่มเปิดดําเนินการในสมัยของนาย
ปกรณ์ อังศุสิงห์ เป็นอธิบดีกรมประชาสงเคราะห์
จบแล้วค่ะ
^______ _^

More Related Content

What's hot

ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)อิ๋ว ติวเตอร์
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์พัน พัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
กบฎบวรเดช
กบฎบวรเดชกบฎบวรเดช
กบฎบวรเดชmerida_
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 

What's hot (20)

ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
Inthawong
InthawongInthawong
Inthawong
 
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
กบฎบวรเดช
กบฎบวรเดชกบฎบวรเดช
กบฎบวรเดช
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 

Viewers also liked (8)

กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finishนำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
 
ชัยภุม
ชัยภุมชัยภุม
ชัยภุม
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
สอ เสถบุตร
สอ เสถบุตรสอ เสถบุตร
สอ เสถบุตร
 
งานบีบี
งานบีบีงานบีบี
งานบีบี
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
รัฐเซีย
รัฐเซียรัฐเซีย
รัฐเซีย
 

Similar to จอมพล ป.พิบูลสงคราม

จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามจอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 

Similar to จอมพล ป.พิบูลสงคราม (6)

จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามจอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
 
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญาเหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จอมพล ป.พิบูลสงคราม

  • 1.
  • 2. จัดทําโดย นางสาวรัญชิดา พรมบัวคู ม.5/2 เลขที่ 20 เสนอ คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
  • 3. จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศแปลก พิบูลสงคราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป. พิบูลสงคราม" หรือ "จอมพล ป." เป็น นายกรัฐมนตรี ที่มีเวลาดํารงตําแหน่ง รวมกันมากที่สุดของไทย คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย มีนโยบายที่สําคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความ เจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดย ออกประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรํา วง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้ เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
  • 4. ประวัติ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี จากนั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก กระทั่ง สําเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2459 ขณะอายุ 19 ปี โดยได้รับยศร้อยตรี และเข้า ประจําการที่กองพลที่ 7 จังหวัดพิษณุโลก จากนั้นไม่นานได้สอบเข้าโรงเรียน เสนาธิการได้เป็นที่ 1 และเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ประเทศฝรั่งเศสและโรงเรียนทหารขั้นสูง ประเทศอิตาลี จนสําเร็จการศึกษา และกลับมารับราชการต่อไป กระทั่งได้ยศพันตรี มีบรรดาศักดิ์และราชทิน นาม ที่ "หลวงพิบูลสงคราม"
  • 5. ครั้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ท่านได้เข้าดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และในช่วงที่ดํารงตําแหน่งก็ได้ เลื่อนยศเป็นพลตรี ภายหลังจากที่กองทัพไทยมีชัยชนะต่ออินโดจีนฝรั่งเศส คณะ ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ได้ประกาศ พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพล อากาศ แก่พลตรีหลวงพิบูลสงครามในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิก บรรดาศักดิ์ไทย หลวงพิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วย คณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยหลวงพิบูลสงครามเลือกใช้ ราชทินนามเป็นนามสกุล ใช้ว่า จอมพลแปลก พิบูลสงคราม
  • 6. ชีวิตและบทบาททางการเมือง คณะราษฎร จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า "แปลก" เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดา เห็นว่าหูทั้งสองข้างอยู่ตํ่ากว่านัยน์ตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงให้ชื่อว่า แปลก เมื่อ ขึ้นดํารงตําแหน่งสําคัญ ได้ใช้ชื่อว่า ป. ซึ่งเป็นตัวอักษรย่อเฉกเช่นชื่อของบุคคลสําคัญ หลายคนทางประเทศแถบตะวันตก จอมพล ป. เป็นหนึ่งในคณะนายทหารผู้ร่วมก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยเป็นนายทหารปืนใหญ่ รุ่นน้องของ พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา 2 ปี ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก และเป็นสมาชิกคณะราษฎรยุค ก่อตั้งซึ่งมีทั้งหมด 7 คน ตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส โดยถือเป็นผู้นําของคณะทหารบกยศชั้น ผู้น้อย
  • 7. ต่อมาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว จอมพล ป. เริ่มมีบทบาทสําคัญมาก ขึ้นเรื่อย ๆ จากเป็นแกนนําในการรัฐประหารและเป็นผู้บัญชาการกองกําลังผสม ในการ ปราบกบฏบวรเดช จนได้รับความไว้วางใจ ให้ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลา ต่อมาซึ่งก่อนหน้านั้นระหว่างมีการประชุมกันครั้งแรกของคณะราษฎรที่ยาวนาน ที่ ประเทศฝรั่งเศส จอมพล ป. ได้เสนอว่าหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วให้สําเร็จโทษ พระบรมวงศานุวงศ์ทุก พระองค์ แต่ทางนายปรีดี พนมยงค์ ผู้นําคณะราษฎรฝ่ายพล เรือน ได้คัดค้าน โดยยกเหตุผลว่าหากกระทําเช่นนั้นแล้ว จะทําให้เกิดความวุ่นวายและ ความรุนแรงขึ้นทั่วประเทศเหมือนเช่นการปฏิวัติรัสเซีย
  • 8. อีกทั้งในการประชุมครั้งสุดท้ายในประเทศไทย ก่อนที่จะลงมือจริงไม่กี่ วัน พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นนายทหารบกชั้นผู้ใหญ่ ผู้วางแผนการ ปฏิวัติทั้งหมด ได้เสนอแผนการออกมา ทางจอมพล ป. ซึ่งขณะนั้นมี บรรดาศักดิ์เป็น หลวงพิบูลสงคราม ซึ่งถือเป็นนายทหารชั้นผู้น้อยกว่า ได้ สอบถามว่า หากแผนการดังกล่าวไม่สําเร็จ จะมีแผนสํารองประการใด หรือไม่ แต่ทางฝ่าย พ.อ.พระยาทรงสุรเดชไม่ตอบ แต่ได้ย้อนถามกลับไป ว่า แล้วทางจอมพล ป. มีแผนอะไร และไม่ยอมตอบว่าตนมีแผนสํารอง อะไร ซึ่งทั้งคู่ได้มีปากเสียงกัน หลังจากการประชุมจบแล้ว จอมพล ป. ได้ ปรารภกับนายทวี บุณยเกตุ สมาชิกคณะราษฎรฝ่ายพลเรือนที่เข้าประชุม ด้วยกันว่า ตนเองกับ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ไม่อาจอยู่ร่วมโลกกันได้
  • 9. การดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งแรก นับแต่จอมพล ป. ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2481 ได้มี นโยบายในการสร้างชาติ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออก กฎหมายคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพ บางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้า ไทย ด้วยคําขวัญว่า "ไทยทํา ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรมบางอย่าง เพื่อให้สอดคล้อง กับการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และให้เกิดความทันสมัย เช่น ประกาศให้ข้าราชการเลิกนุ่งผ้าม่วง เลิกสวมเสื้อราชปะแตน
  • 10. และให้นุ่งกางเกงขายาวแทน มีการยกเลิกบรรดาศักดิ์ และยศข้าราชการพลเรือน มี การเปลี่ยนชื่อประเทศจาก "สยาม" เป็น "ไทย" ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และ เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จาก วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เพื่อให้ สอดคล้องกับหลักสากล มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485 เพื่อจัดระเบียบการดําเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบอารยประเทศ โดย ประกาศรัฐนิยมฉบับต่างๆ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกินหมากโดย เด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิก นุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่งเสริมศิลปะ และดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริมดนตรีสากล ฯลฯ โดยมีคําขวัญในสมัยนั้นว่า "มาลานํา ไทยสู่มหาอํานาจ"
  • 11. หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตํารวจจับและปรับ และยังวางระเบียบการใช้คํา แทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน, ท่าน, เรา มีคําสั่งให้ข้าราชการกล่าวคําว่า "สวัสดี" ใน โอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออกเสียงซํ้ากันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการ สะกดคํามากมาย เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เขียนเป็น กระซวงสึกสาธิการ เป็นต้น เมื่อ จอมพล ป. พิบูลสงคราม หลุดจากอํานาจหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ รัฐนิยมก็ถูก ยกเลิกไปโดยปริยาย อักขรวิธีภาษาไทยได้กลับไปใช้แบบเดิมอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ดี วัฒนธรรมที่สังคมไทยเริ่มรับมาจากตะวันตกหลายรูปแบบในขณะนั้น ยังคงอยู่ต่อมา แม้ว่าจะไม่มีการบังคับใช้ตาม "รัฐนิยม" อีกต่อไป และได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของ วัฒนธรรมไทยสมัยใหม่ไปแล้ว
  • 12.
  • 13. ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เกิดสงครามอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศส จาก ปัญหาเรื่องการใช้แม่นํ้าโขงเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน ซึ่ง อยู่ในครอบครองฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยฝรั่งเศสไม่ยอมตกลงเรื่อง การใช้ร่องนํ้าลึกเป็นเส้นเขตแดน ในเดือนพฤศจิกายนพ.ศ. 2483 ฝรั่งเศสส่ง เครื่องบินมาทิ้งระเบิดเมืองนครพนม การรบระหว่างฝรั่งเศสกับไทยจึงเริ่มขึ้น ฝรั่งเศสโจมตีไทยทางอรัญประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. ส่งทหารไทยเข้าไปในอิน โดจีนทางด้านเขมร แต่ในที่สุดญี่ปุ่นเสนอตัวเข้าไกล่เกลี่ย จนมีการส่งผู้แทนไป ลงนามอนุสัญญาโตเกียว เมื่อวันที่ พฤษภาคม พ.ศ. 2484
  • 14. ในครั้งนั้นไทยได้ดินแดนฝั่งขวาแม่นํ้าโขงคืน รวมทั้งทางใต้ ตรงข้ามปากเซ คือ แขวงจัมปาศักดิ์ และดินแดนในเขมรที่เสียให้ ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ. 2450 กลับคืนมาด้วย และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้เป็นผู้ วางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เพื่อเป็นอนุสรณ์ สถานระลึกถึงชัยชนะของไทยต่อฝรั่งเศส และ 1 ปีต่อมา จอม พล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้กระทําพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485
  • 15. การดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีในครั้งหลัง แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี พ.ศ. 2491 ท่านก็ได้ หวนกลับมาคืนสู่ตําแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทํา รัฐประหารของกลุ่มนายทหารที่นับถือท่านอยู่ ที่นําโดย พลโท ผิน ชุณหะวัณ คราวนี้ดํารงตําแหน่งยาวนานถึง 9 ปี ผ่านวิกฤต และเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอาชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น กบฏเสนาธิการ, กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคยยึด อํานาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาในช่วงที่ยังไม่หลุดจากอํานาจว่า "นายกฯตลอดกาล"
  • 16. บั้นปลายชีวิต จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพัก ส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้66 ปี โดยก่อนที่จะถึงแก่ อสัญกรรมนั้น จอมพล ป. ยังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมือนคน ปกติ ยังรับประทานอาหารมื้อเที่ยงพร้อมกับครอบครัวและคน สนิทได้เหมือนปกติ แต่ทว่าเมื่อถึงเวลาเย็นก็ได้ทรุดลงและถึงแก่ อสัญกรรมอย่างกระทันหัน (ซึ่งในเรื่องนี้บางส่วนเชื่อกันว่าเป็น การลอบวางยาพิษ )
  • 17. บทบาททางสังคม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มองค์กรและ หน่วยงานสําคัญ ๆ ของประเทศหลายองค์กร ที่พัฒนาและ เจริญรุ่งเรืองมาจนปัจจุบัน ซึ่งล้วนแต่เป็นหน่วยงานที่มีความ เฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน), มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้ง เป็นผู้ที่ใช้อํานาจยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อ พระวงศ์และที่อยู่ของบุคคลสําคัญก่อนการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองมาใช้เป็นสถานที่ราชการ เช่น วังบางขุนพรหม, วังสวน กุหลาบ, บ้านมนังคศิลา, บ้านพิษณุโลก, บ้านนรสิงห์ เป็นต้น
  • 18. ผู้ก่อตั้งโทรทัศน์แห่งแรกของประเทศ วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2493 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู้นํา รัฐบาลมอบหมายให้ กรมประชาสัมพันธ์เสนอ "โครงการจัดตั้ง วิทยุโทรภาพ" ต่อคณะรัฐมนตรี ต่อมาวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2493 คณะรัฐมนตรีลงมติให้จัดตั้งวิทยุโทรภาพและให้ตั้ง งบประมาณใน พ.ศ. 2494 ในวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2493 จอมพล ป. เขียนข้อความด้วย ลายมือ ถึง พล.ต.สุรจิต จารุเศรณี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ใน ขณะนั้น ให้ศึกษาจัดหาและจัดส่ง "Television"
  • 19. ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2491 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ประกาศนโยบาย จัดตั้งตลาดนัดทั่วประเทศทุกสุดสัปดาห์ ในกรุงเทพฯ มีการจัด ตลาดนัดขึ้นที่สนามหลวง ซึ่งเรียกว่า ตลาดนัดสนามหลวง หรือ ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน ตลาดนัดสนามหลวงได้ย้าย ออกไปจากบริเวณสนามหลวงแล้ว โดยไปอยู่ที่ ตลาดนัดจตุจักร แทน
  • 20. บ้านพักคนชรา บ้านพักคนชราบางแค หรือ บ้านบางแค ในปัจจุบัน เดิมใช้ชื่อ ว่า "สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค" ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2496 ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น นายกรัฐมนตรี นับเป็นสถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุแห่งแรกของ ประเทศไทย เพื่อให้การสงเคราะห์ผู้สูงอายุตามนโยบาย สวัสดิการสังคมของรัฐ โดยเริ่มเปิดดําเนินการในสมัยของนาย ปกรณ์ อังศุสิงห์ เป็นอธิบดีกรมประชาสงเคราะห์