SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ในปี พ.ศ. 2500
จัดทำโดย
นำงสำว จิรำภรณ์ สำวิกัลป์
ชั้นมัธยมศึกษำ ปีที่ 5/3 เลขที่25
เสนอ
คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจำรี
นามปากกา: ศรีบูรพา
เกิด: 31 มีนาคม พ.ศ. 2448กรุงเทพ
ถึงแก่กรรม :16 มิถุนายนพ.ศ. 2517โรง
พยาบาลเซียะเหอ ปักกิ่งประเทศจีน
อาชีพ นักเขียน นักหนังสือพิมพ์
บิดา :สุวรรณ สายประดิษฐ์
มารดา :สมบุญ สายประดิษฐ์
คู่สมรส :ชนิด สายประดิษฐ์(ปริญชาญกล)
กุหลาบเกิดในปลายสมัยรัชกาลที่ 5เป็นชาวกรุงเทพฯ พ่อชื่อ
สุวรรณ เป็นเสมียนเอก ทางานอยู่กรมรถไฟแม่ชื่อสมบุญ เป็น
ชาวนาอยู่จังหวัดสุพรรณบุรีนายสุวรรณกับนางสมบุญ ได้ให้
กาเนิดบุตรสองคน คนโตเป็นหญิง ชื่อ จารัส นิมาภาส (แต่งงาน
กับนายกุหลาบ นิมาภาส) ส่วนคนเล็กเป็นชาย ชื่อ กุหลาบ สาย
ประดิษฐ์ สี่ชีวิตพ่อแม่ลูกได้แยกครอบครัวมาเช่าห้องแถวที่เป็น
ของพระยาสิงหเสนีอยู่แถว ๆ หัวลาโพง
เมื่อกุหลาบมีอายุได้สี่ขวบ เขาได้เริ่มต้นเรียนหนังสือครั้งแรกที่
โรงเรียนวัดหัวลาโพง จนถึงชั้นประถม 4 นายสุวรรณได้ช่วยสอน
หนังสือให้ลูกชายคนเดียวก่อนเข้าโรงเรียนด้วย แต่พ่อของกุหลาบ
อายุสั้น ป่วยเป็นไข้เสียชีวิตแต่เมื่ออายุเพียงแค่ 35 ปี ตอนนั้นกุหลาบ
เพิ่งอายุหกขวบ แม่และพี่สาวจึงได้เลี้ยงดูเขาต่อมา โดยแม่ได้รับจ้าง
ตัดเย็บเสื้อผ้า และส่งพี่สาวไปฝึกเล่นละครราและละครร้อง เพื่อหา
เงินมาช่วยจุนเจือและส่งเสียให้กุหลาบได้เรียนหนังสือโดยไม่ติดขัด
กล่าวคือเมื่อจบชั้นประถม 4 แม่ก็ได้เอากุหลาบไปฝากเข้าเรียนต่อที่
โรงเรียนทหารเด็ก ของกรมหลวงนครราชสีมา โรงเรียนแห่งนี้เป็น
โรงเรียนประจา สอนทั้งวิชาทั่วไปและวิชาทหาร กุหลาบได้เรียนอยู่ที่
โรงเรียนนี้สองปี แม่ก็รู้สึกสงสาร เพราะเห็นว่าลูกชายต้องอยู่เวรยาม
แบบทหาร และเห็นว่าอยากให้กุหลาบได้เรียนวิชาทั่วไปมากกว่า
ดังนั้นจึงเอาออกจากโรงเรียนทหาร ให้มาอยู่ที่โรงเรียนเทพศิริ
นทร์ โดยเริ่มต้นเรียนในชั้นมัธยม 2 และได้เรียนเรื่อยมาจนจบชั้น
มัธยม 8 เมื่อ พ.ศ. 2468
พ.ศ. 2465 อายุได้17 ปี เริ่มฝึกหัดการแต่งหนังสือ และทาหนังสือ
โดยใช้พิมพ์ดีด จากนั้น ใน พ.ศ. 2466เมื่ออายุได้18 ปี เขาได้เริ่ม
เขียนบทกวี และเขียนเรื่องจากภาพยนตร์ ส่งไปให้หนังสือพิมพ์
ภาพยนตร์สยาม ในช่วงนั้นใช้นามปากกา เช่น "ดาราลอย" "ส.ป.ด.
กุหลาบ" "นางสาวโกสุมภ์" "หนูศรี" "ก. สายประดิษฐ์" "นายบาเรอ"
และ "หมอต๋อง”
เริ่มต้นใช้นามปากกา "ศรีบูรพา" เป็นครั้งแรก ในเขียนงานชื่อ
แถลงการณ์ ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ทศวารบันเทิง ไม่ทราบเป็นงาน
เขียนประเภทใด ในปีนั้นได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษอยู่ที่ โรงเรียนรวม
การสอน และเป็นนักประพันธ์อยู่ใน สานักรวมการแปล ของนายแตงโม
จันทวิมพ์กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้มาฝึกการประพันธ์อยู่ที่ "สานัก" นี้
ด้วยความมุ่งหวังอยากเรียนรู้ และหารายได้จากงานเขียนไปจุนเจือ
ครอบครัว ที่มีฐานะค่อนข้างยากจน พร้อมกันนั้นก็ได้ชักชวนเพื่อนร่วม
รุ่นอีกสองคน คือ ชะเอม อันตรเสน และ สนิท เจริญรัฐ ให้มาช่วยกันที่
สานักรวมการแปล ด้วย
พ.ศ. 2467 อายุได้19 ปี เรียนอยู่ชั้นมัธยม 8 กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้
ใช้นามจริงของตัวเองเป็นครั้งแรกในการเขียนกลอนหก ชื่อ "ต้อง
แจวเรือจ้าง" พิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ของโรงเรียน ชื่อ
แถลงการณ์ศึกษาเทพศิรินทร์ หนังสือพิมพ์โรงเรียนเล่มนี้ มีหลวง
สาเร็จวรรณกิจ (บุญ เสขะนันท์) ซึ่งเป็นครูวิชาภาษาไทยของเขาเป็น
บรรณาธิการ เป็น ในปีเดียวกัน กุหลาบก็เริ่มใช้นามปากกา "ศรี
บูรพา" เขียนบทประพันธ์ขายอย่างเป็นเรื่องเป็นราว
พ.ศ. 2468 อายุ 20 กุหลาบเรียนจบชั้นมัธยม 8 เริ่มชีวิตการเป็น
บรรณาธิการครั้งแรกหนังสือรายทส(รายสิบวัน) ชื่อ สาส์นสหาย แต่
ออกมาได้แค่7เล่ม ก็ต้องเลิกไป ต่อมาวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2468 กุหลาบ
ได้เข้าทางานที่กรมยุทธศึกษาฯ โดยเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์
เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ โดยมีตาแหน่งเป็น "เจ้าพนักงานโรง
วิทยาศาสตร์" ได้เงินเดือนเดือนละ 30 บาท การที่กุหลาบไปเป็นผู้ช่วย
บรรณาธิการที่ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ เพราะสืบเนื่องมาจากเคย
ส่งเรื่องไปลงพิมพ์ที่นี่ จนเป็นที่พอใจของ พ.ท. พระพิสิษฐพจนาการ
(ชื่น อินทรปาลิต) ผู้เป็นบรรณาธิการในขณะนั้น ซึ่งต้องการ "ผู้ช่วย" ที่มี
ความรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไปทางาน
พ.ศ. 2469 อายุ 21 เริ่มเขียนงานประพันธ์อีกหลายชิ้น ได้ลงตีพิมพ์ที่
เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ (รายเดือน) สมานมิตรบันเทิง (ราย
ปักษ์) มหาวิทยาลัย (รายเดือน) สวนอักษร (รายปักษ์) สาราเกษม
(รายปักษ์) ปราโมทย์นคร (รายสัปดาห์) ดรุณเกษม (รายปักษ์) เฉลิม
เชาว์(รายเดือน) วิทยาจารย์(รายเดือน) ฯลฯ ขณะเดียวกันก็ได้ไป
ช่วยเพื่อนทาหนังสือพิมพ์ธงไทย รายสัปดาห์ และหนังสือพิมพ์
ข่าวสด ซึ่งออกในงานรื่นเริงของโรงเรียนเทพศิรินทร์
ขณะที่ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ทางานเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการ
หนังสือพิมพ์เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ อยู่ประมาณสองปีเศษนั้น
ได้มีเหตุการณ์บางอย่างที่ทาให้"Young กุหลาบ" ตัดสินใจเลิกคิดที่จะ
เอาดีทางรับราชการ และได้เบนชีวิตหันมาประกอบอาชีพนักเขียน
นักหนังสือพิมพ์โดยอิสระเพียงอย่างเดียว โดยเป็นหนึ่งในคณะ
สุภาพบุรุษร่วมกับนักเขียนชื่อดังท่านอื่นๆ เช่นยาขอบ ฮิวเมอริสต์
จัดทาหนังสือพิมพ์ชื่อ สุภาพบุรุษ รายปักษ์เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน
พ.ศ. 2472 ออกจาหน่ายทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดือน มี กุหลาบ สาย
ประดิษฐ์ เป็นบรรณาธิการและเจ้าของ มียอดพิมพ์ครั้งแรก 2,000
เล่ม หนังสือ สุภาพบุรุษ รายปักษ์ฉบับสุดท้าย คือปีที่ 2 ฉบับที่ 37
วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 หลังจากนั้นตานานแห่ง คณะ
สุภาพบุรุษ ยังคงมีสืบต่อมา แต่ทว่ามิได้เป็นไปในลักษณะของการ
จัดทา Literary Magazine อีกต่อไป การยุติลงของ สุภาพบุรุษ
เมื่อ พ.ศ. 2495 ถูกจับกุมด้วยข้อหากบฏภายในและภายนอก
ราชอาณาจักร หรือ "กบฏสันติภาพ" และได้รับนิรโทษกรรม
ใน พ.ศ. 2500 ในช่วงปลายชีวิตได้ลี้ภัยไปอยู่ที่สาธารณรัฐประชาชน
จีน
และนี่คือความมั่นคงในอุดมการณ์ของกุหลาบ สายประดิษฐ์ บทกวี
สาคัญที่กุหลาบแต่งเพื่อสดุดีชัยชนะของการต่อสู้ของนักศึกษา
ประชาชนในกรณี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๖ ยังเป็นที่จดจากันอยู่ดังนี้
หยดฝนย้อยจากฟ้ ามาสู่ดิน
ประมวลสินธุ์เป็นมหาสาครใหญ่
แผ่เสียงซัดปฐพีอึงมี่ไป
พลังไหลแรงรุดสุดต้านทาน
อันประชาสามัคคีมีจัดตั้ง
เป็นพลังแกร่งกล้ามหาศาล
แสนอาวุธแสนศัตรูหมู่อันธพาล
ไม่อาจต้านแรงมหาประชาชน
•
รวบรวมประโยคทองคา ของท่านกุหลาบ สายประดิษฐ์
โดย อติเทพ ไชยสิทธิ์ กลุ่มวรรณกรรมใบขวาน
ผมนั่งอ่านด้วยใจระทึก จึงนาเสนอประโยคทองที่ทันสมัย ของท่านศรี
บูรพา
ซึ่งนี่ยังไม่หมด ชีวิตนักเขียนสามัญชนของกุหลาบ สายประดิษฐ์
ด้วยสามารถกลั่นจิตวิญญาณเปนตัวหนังสือได้อีกมากมาย...
- รวมเรื่องสั้นรับใช้ชีวิต
- “หัวใจของ “ความเปนสุภาพบุรุษ” อยู่ที่การเสียสละ เพราะการ
เสียสละเปนบ่อเกิดของคุณความดีร้อยแปด ผู้ใดเกิดมาเปน
สุภาพบุรุษ ผู้นั้นเกิดมาสาหรับคนอื่น”
กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ "ศรีบูรพา" ผู้แปล "แม่" ของแมกซิม กอร์กี้ภาคแรก
ขอบคุณคะ

More Related Content

Similar to กุหลาบ สายประดิษฐ์

อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤตอาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤตsoda100658
 
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤตอาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤตsoda100658
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 

Similar to กุหลาบ สายประดิษฐ์ (7)

กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤตอาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
 
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤตอาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
Sss
SssSss
Sss
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

กุหลาบ สายประดิษฐ์

  • 4. นามปากกา: ศรีบูรพา เกิด: 31 มีนาคม พ.ศ. 2448กรุงเทพ ถึงแก่กรรม :16 มิถุนายนพ.ศ. 2517โรง พยาบาลเซียะเหอ ปักกิ่งประเทศจีน อาชีพ นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ บิดา :สุวรรณ สายประดิษฐ์ มารดา :สมบุญ สายประดิษฐ์ คู่สมรส :ชนิด สายประดิษฐ์(ปริญชาญกล)
  • 5. กุหลาบเกิดในปลายสมัยรัชกาลที่ 5เป็นชาวกรุงเทพฯ พ่อชื่อ สุวรรณ เป็นเสมียนเอก ทางานอยู่กรมรถไฟแม่ชื่อสมบุญ เป็น ชาวนาอยู่จังหวัดสุพรรณบุรีนายสุวรรณกับนางสมบุญ ได้ให้ กาเนิดบุตรสองคน คนโตเป็นหญิง ชื่อ จารัส นิมาภาส (แต่งงาน กับนายกุหลาบ นิมาภาส) ส่วนคนเล็กเป็นชาย ชื่อ กุหลาบ สาย ประดิษฐ์ สี่ชีวิตพ่อแม่ลูกได้แยกครอบครัวมาเช่าห้องแถวที่เป็น ของพระยาสิงหเสนีอยู่แถว ๆ หัวลาโพง
  • 6. เมื่อกุหลาบมีอายุได้สี่ขวบ เขาได้เริ่มต้นเรียนหนังสือครั้งแรกที่ โรงเรียนวัดหัวลาโพง จนถึงชั้นประถม 4 นายสุวรรณได้ช่วยสอน หนังสือให้ลูกชายคนเดียวก่อนเข้าโรงเรียนด้วย แต่พ่อของกุหลาบ อายุสั้น ป่วยเป็นไข้เสียชีวิตแต่เมื่ออายุเพียงแค่ 35 ปี ตอนนั้นกุหลาบ เพิ่งอายุหกขวบ แม่และพี่สาวจึงได้เลี้ยงดูเขาต่อมา โดยแม่ได้รับจ้าง ตัดเย็บเสื้อผ้า และส่งพี่สาวไปฝึกเล่นละครราและละครร้อง เพื่อหา เงินมาช่วยจุนเจือและส่งเสียให้กุหลาบได้เรียนหนังสือโดยไม่ติดขัด
  • 7. กล่าวคือเมื่อจบชั้นประถม 4 แม่ก็ได้เอากุหลาบไปฝากเข้าเรียนต่อที่ โรงเรียนทหารเด็ก ของกรมหลวงนครราชสีมา โรงเรียนแห่งนี้เป็น โรงเรียนประจา สอนทั้งวิชาทั่วไปและวิชาทหาร กุหลาบได้เรียนอยู่ที่ โรงเรียนนี้สองปี แม่ก็รู้สึกสงสาร เพราะเห็นว่าลูกชายต้องอยู่เวรยาม แบบทหาร และเห็นว่าอยากให้กุหลาบได้เรียนวิชาทั่วไปมากกว่า ดังนั้นจึงเอาออกจากโรงเรียนทหาร ให้มาอยู่ที่โรงเรียนเทพศิริ นทร์ โดยเริ่มต้นเรียนในชั้นมัธยม 2 และได้เรียนเรื่อยมาจนจบชั้น มัธยม 8 เมื่อ พ.ศ. 2468
  • 8. พ.ศ. 2465 อายุได้17 ปี เริ่มฝึกหัดการแต่งหนังสือ และทาหนังสือ โดยใช้พิมพ์ดีด จากนั้น ใน พ.ศ. 2466เมื่ออายุได้18 ปี เขาได้เริ่ม เขียนบทกวี และเขียนเรื่องจากภาพยนตร์ ส่งไปให้หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์สยาม ในช่วงนั้นใช้นามปากกา เช่น "ดาราลอย" "ส.ป.ด. กุหลาบ" "นางสาวโกสุมภ์" "หนูศรี" "ก. สายประดิษฐ์" "นายบาเรอ" และ "หมอต๋อง”
  • 9. เริ่มต้นใช้นามปากกา "ศรีบูรพา" เป็นครั้งแรก ในเขียนงานชื่อ แถลงการณ์ ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ทศวารบันเทิง ไม่ทราบเป็นงาน เขียนประเภทใด ในปีนั้นได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษอยู่ที่ โรงเรียนรวม การสอน และเป็นนักประพันธ์อยู่ใน สานักรวมการแปล ของนายแตงโม จันทวิมพ์กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้มาฝึกการประพันธ์อยู่ที่ "สานัก" นี้ ด้วยความมุ่งหวังอยากเรียนรู้ และหารายได้จากงานเขียนไปจุนเจือ ครอบครัว ที่มีฐานะค่อนข้างยากจน พร้อมกันนั้นก็ได้ชักชวนเพื่อนร่วม รุ่นอีกสองคน คือ ชะเอม อันตรเสน และ สนิท เจริญรัฐ ให้มาช่วยกันที่ สานักรวมการแปล ด้วย
  • 10. พ.ศ. 2467 อายุได้19 ปี เรียนอยู่ชั้นมัธยม 8 กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ ใช้นามจริงของตัวเองเป็นครั้งแรกในการเขียนกลอนหก ชื่อ "ต้อง แจวเรือจ้าง" พิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ของโรงเรียน ชื่อ แถลงการณ์ศึกษาเทพศิรินทร์ หนังสือพิมพ์โรงเรียนเล่มนี้ มีหลวง สาเร็จวรรณกิจ (บุญ เสขะนันท์) ซึ่งเป็นครูวิชาภาษาไทยของเขาเป็น บรรณาธิการ เป็น ในปีเดียวกัน กุหลาบก็เริ่มใช้นามปากกา "ศรี บูรพา" เขียนบทประพันธ์ขายอย่างเป็นเรื่องเป็นราว
  • 11. พ.ศ. 2468 อายุ 20 กุหลาบเรียนจบชั้นมัธยม 8 เริ่มชีวิตการเป็น บรรณาธิการครั้งแรกหนังสือรายทส(รายสิบวัน) ชื่อ สาส์นสหาย แต่ ออกมาได้แค่7เล่ม ก็ต้องเลิกไป ต่อมาวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2468 กุหลาบ ได้เข้าทางานที่กรมยุทธศึกษาฯ โดยเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ โดยมีตาแหน่งเป็น "เจ้าพนักงานโรง วิทยาศาสตร์" ได้เงินเดือนเดือนละ 30 บาท การที่กุหลาบไปเป็นผู้ช่วย บรรณาธิการที่ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ เพราะสืบเนื่องมาจากเคย ส่งเรื่องไปลงพิมพ์ที่นี่ จนเป็นที่พอใจของ พ.ท. พระพิสิษฐพจนาการ (ชื่น อินทรปาลิต) ผู้เป็นบรรณาธิการในขณะนั้น ซึ่งต้องการ "ผู้ช่วย" ที่มี ความรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไปทางาน
  • 12. พ.ศ. 2469 อายุ 21 เริ่มเขียนงานประพันธ์อีกหลายชิ้น ได้ลงตีพิมพ์ที่ เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ (รายเดือน) สมานมิตรบันเทิง (ราย ปักษ์) มหาวิทยาลัย (รายเดือน) สวนอักษร (รายปักษ์) สาราเกษม (รายปักษ์) ปราโมทย์นคร (รายสัปดาห์) ดรุณเกษม (รายปักษ์) เฉลิม เชาว์(รายเดือน) วิทยาจารย์(รายเดือน) ฯลฯ ขณะเดียวกันก็ได้ไป ช่วยเพื่อนทาหนังสือพิมพ์ธงไทย รายสัปดาห์ และหนังสือพิมพ์ ข่าวสด ซึ่งออกในงานรื่นเริงของโรงเรียนเทพศิรินทร์
  • 13. ขณะที่ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ทางานเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ อยู่ประมาณสองปีเศษนั้น ได้มีเหตุการณ์บางอย่างที่ทาให้"Young กุหลาบ" ตัดสินใจเลิกคิดที่จะ เอาดีทางรับราชการ และได้เบนชีวิตหันมาประกอบอาชีพนักเขียน นักหนังสือพิมพ์โดยอิสระเพียงอย่างเดียว โดยเป็นหนึ่งในคณะ สุภาพบุรุษร่วมกับนักเขียนชื่อดังท่านอื่นๆ เช่นยาขอบ ฮิวเมอริสต์
  • 14. จัดทาหนังสือพิมพ์ชื่อ สุภาพบุรุษ รายปักษ์เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2472 ออกจาหน่ายทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดือน มี กุหลาบ สาย ประดิษฐ์ เป็นบรรณาธิการและเจ้าของ มียอดพิมพ์ครั้งแรก 2,000 เล่ม หนังสือ สุภาพบุรุษ รายปักษ์ฉบับสุดท้าย คือปีที่ 2 ฉบับที่ 37 วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 หลังจากนั้นตานานแห่ง คณะ สุภาพบุรุษ ยังคงมีสืบต่อมา แต่ทว่ามิได้เป็นไปในลักษณะของการ จัดทา Literary Magazine อีกต่อไป การยุติลงของ สุภาพบุรุษ
  • 15. เมื่อ พ.ศ. 2495 ถูกจับกุมด้วยข้อหากบฏภายในและภายนอก ราชอาณาจักร หรือ "กบฏสันติภาพ" และได้รับนิรโทษกรรม ใน พ.ศ. 2500 ในช่วงปลายชีวิตได้ลี้ภัยไปอยู่ที่สาธารณรัฐประชาชน จีน
  • 16.
  • 17. และนี่คือความมั่นคงในอุดมการณ์ของกุหลาบ สายประดิษฐ์ บทกวี สาคัญที่กุหลาบแต่งเพื่อสดุดีชัยชนะของการต่อสู้ของนักศึกษา ประชาชนในกรณี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๖ ยังเป็นที่จดจากันอยู่ดังนี้ หยดฝนย้อยจากฟ้ ามาสู่ดิน ประมวลสินธุ์เป็นมหาสาครใหญ่ แผ่เสียงซัดปฐพีอึงมี่ไป พลังไหลแรงรุดสุดต้านทาน อันประชาสามัคคีมีจัดตั้ง เป็นพลังแกร่งกล้ามหาศาล แสนอาวุธแสนศัตรูหมู่อันธพาล ไม่อาจต้านแรงมหาประชาชน
  • 18. • รวบรวมประโยคทองคา ของท่านกุหลาบ สายประดิษฐ์ โดย อติเทพ ไชยสิทธิ์ กลุ่มวรรณกรรมใบขวาน ผมนั่งอ่านด้วยใจระทึก จึงนาเสนอประโยคทองที่ทันสมัย ของท่านศรี บูรพา ซึ่งนี่ยังไม่หมด ชีวิตนักเขียนสามัญชนของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ด้วยสามารถกลั่นจิตวิญญาณเปนตัวหนังสือได้อีกมากมาย... - รวมเรื่องสั้นรับใช้ชีวิต - “หัวใจของ “ความเปนสุภาพบุรุษ” อยู่ที่การเสียสละ เพราะการ เสียสละเปนบ่อเกิดของคุณความดีร้อยแปด ผู้ใดเกิดมาเปน สุภาพบุรุษ ผู้นั้นเกิดมาสาหรับคนอื่น”
  • 19.
  • 20. กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ "ศรีบูรพา" ผู้แปล "แม่" ของแมกซิม กอร์กี้ภาคแรก