SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
หลักการเขียนรายงานและบทความทางวิชาการ
(How to write an academic essay)
ดร. วีระ หวังสัจจะโชค
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เค้าโครงการบรรยาย
 สิ่งที่ควรรู้สาหรับรายงานและบทความทางวิชาการ
(ยึดตามเกณฑ์ทั่วไป 15 หน้า)
 การจัดโครงสร้างและการเขียนด้วยตัวแบบเพชร
(Diamond Model)
 การเขียนบทนาให้ตอบโจทย์ มีข้อถกเถียง และมี
โครงสร้างเป็นหนึ่งเดียว
 การเขียนส่วนเนื้อหาด้วยทักษะวิเคราะห์ สังเคราะห์
และวิพากษ์
 การเขียนบทสรุปเพื่อเน้นย้าข้อถกเถียง
 การอ้างอิง และ Plagiarism
 Checklists
1. สิ่งที่ควรรู้สาหรับรายงานและบทความวิชาการ
 รัฐศาสตร์ = Staatswissenschaft = ความรู้เกี่ยวกับรัฐ
 Political Science = วิทยาศาสตร์ทางการเมือง = การศึกษาการเมืองด้วยวิธีการ
วิทยาศาสตร์: ตั้งคาถาม พิสูจน์ และตอบโจทย์
 การเขียนรายงานและบทความวิชาการย่อมอยู่ภายใต้ระเบียบทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษา
“การเมือง” เช่นกัน
• โจทย์คืออะไร และ “ข้อถกเถียง” (argument) ในการตอบโจทย์คืออะไร
• คาอธิบายเพื่อหาข้อพิสูจน์และเหตุผลสาหรับ “ข้อถกเถียง” เช่น การเขียนเชิงวิเคราะห์
สังเคราะห์ และวิพากษ์ เป็นต้น
• บทสรุปของบทความตอบอะไร และมีคุณูประการ (contribution) อย่างไร
 ดังนั้น “การเขียนงานวิชาการ” จึงไม่ใช่ “การเขียนนิยาย/การเขียนเล่าเรื่ อง”
 งานวิชาการมันจะเขียน “ย้าไปย้ามา” เพราะมันเป็น “ระเบียบ” (discipline) ในการศึกษา
2. รูปแบบการเขียนด้วยตัวแบบเพชร
ตัวแบบปิรามิต ตัวแบบกรวย ตัวแบบเพชร ตัวแบบนาฬิกาทราย
 แต่ละรูปแบบการเขียน ขึ้นอยู่กับ “ลักษณะงาน” และ “สไตล์” ของแต่ละคน
 *** แต่ “การเขียนทางวิชาการ” ที่สากลและเข้าใจง่ายที่สุด คือ “ตัวแบบเพชร” ***
2.1 การเขียนบทนา (Introduction)
 50% - 70% ของคะแนนทั้งหมด อยู่ที่ “บทนา” (1-2 หน้า)
 การตั้งคาถาม เป็นจุดเริ่ มต้นสาหรับงาน (หากไม่รู้จะ “ถามอะไร” ควรอ่านหนังสือ/เอกสาร/ประมวล
รายวิชา/ข่าว หรือนั่ง lists คาถามออกมาแล้วเลือก ก่อนเขียนจริง)
 *** ย่อหน้าแรกของบทนาควรเขียน “ข้อถกเถียง” ไปเลย ตอบโจทย์ให้ตรง + กระชับ + ชัดเจน ***
(Argument – Thesis statement)
 ในข้อถกเถียงควรใส่ “เหตุผล 1 – 2 – 3” ด้วยเป็น Keywords และให้เหตุผลพวกนี้มาเป็น “ห้วข้อ”
ในส่วนเนื้อหา
 นิยาม ความเป็นมา หรือประวัติศาสตร์ที่อยู่ในลักษณะ “พรรณา” ไม่ต้องเอามาเขียน !! (ควรไปอยู่ใน
หัวข้อสอง) ไม่ต้องกลัวว่าคนอ่านจะไม่เข้าใจบริบท เป็นหน้าที่ของคนอ่านที่ต้องไปดูเนื้อหาข้างในเอง
 หากอยากมีเกริ่นนา ควรพูดถึง “คาถาม – วัตถุประสงค์” แล้วเขียนข้อถกเถียงในย่อหน้าถัดไป
 ย่อหน้าสุดท้ายของบททาต้องพูดถึง “โครงสร้างรายงาน/บทความ” ว่าประกอบไปด้วยกี่ส่วน (ล้อตาม
เหตุผล 1 – 2 – 3) เรื่ องอะไรบ้าง เพื่อบอกความเป็นหนึ่งเดียว (unity) ของงานเรา
2.2 การเขียนส่วนเนื้อหา (contents)
 เนื้อหาแยกออกเป็น “ส่วนพรรณา/บรรยาย” + “ส่วนทักษะ”
 เป้าหมายของเนื้อหาคือ “พิสูจน์” ว่าข้อถกเถียงสามารถตอบโจทย์ได้จริง
 ส่วน “พรรณา” เล่าเรื่ องไม่ควรเกิน 2-3 หน้า (จากบทความ 15 หน้า)
 สารวจวรรณกรรม: ทฤษฎี/กรอบการศึกษา + งานที่เกี่ยวข้องกับงานเรา
 นิยามศัพท์ คาสาคัญ และข้อกฎหมาย
 บริบททางประวัติศาสตร์
 บริบทของปัญหาที่เราจะศึกษา
 ส่วน “ทักษะ” (10 หน้า) ควรจัดหัวข้อตาม “เหตุผล 1 – 2 – 3” จากบทนา
 ทักษะที่สามารถนามาใช้ได้: วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์
2.2.1 การวิเคราะห์
 ***ต้องมี “ทฤษฎี/กรอบในการวิเคราะห์” เสมอ !! ***
 การวิเคราะห์จะต้อง “จาแนก” เหตุผลหรือคาอธิบายออกมาเป็น “ข้อๆ” (หากยังไม่อยาก turn-pro
ไม่แนะนาให้วิเคราะห์แบบเขียนยาวๆ รัวๆ)
 เล่นกับหัวข้อ ที่มาจาก “เหตุผล 1 – 2 – 3” [ตอนพิมพ์ แนะนาว่าให้วางหัวข้อให้เสร็จทั้งงานไปก่อน
เลย แล้วค่อยมาพิมพ์เนื้อหาเติมทีหลัง]
 เทคนิคที่ทาให้ดูเหมือนเราวิเคราะห์ หรือตีโจทย์จนแตกได้:
• พยายามใส่คาอธิบายผ่าน bullets - numbering บ่อยๆ
• ใส่ข้อมูลลง “ตาราง” ให้สิ่งที่เราจะศึกษาอยู่ฝั่ง column และประเด็นที่จะเล่าอยู่ฝั่ง row
• อ้างตัวเลขสถิติ มีแผนภาพ กราฟ หรือรูปแบบในการอธิบาย
• ใช้ “กรณีศึกษา” เป็นวิธีอธิบายเหตุผล
• ใช้ “อ้างอิง” ให้เยอะที่สุดเท่าที่จะทาได้สาหรับมือใหม่แนะนา “เชิงอรรถ” ... สาหรับมือใหม่กว่าแนะนา
“นาม-ปี”
2.2.2 การสังเคราะห์
 ข้อความที่กล่าวถึงการมาบรรจบกันของ “เหตุผล+ทฤษฎี+ปัญหา/ปรากฎการณ์”
 ส่วนสังเคราะห์จะอยู่ในตอนท้ายของหัวข้อแต่ละหัวข้อ (ก่อนปิดหัวข้อ “เหตุผล 1 – 2 – 3” ควรมีย่อหน้า
สังเคราะห์สักหนึ่งย่อหน้า ก่อนขึ้นหัวข้อใหม่)
 เทคนิคการสังเคราะห์:
• ใช้การอ้างอิงงานหลายๆ ชิ้น แล้วเขียนว่างานทั้งหลายนั้นจาแนกออกมาเป็น “3-4 คาอธิบาย ดังนี้ ...”
• ใช้คาเตือนใจ (Signposting) เช่น ในประเด็นนี้สังเคราะห์ได้ว่า ... // เมื่อพิจารณาทฤษฎีกับ
ปรากฎการณ์แล้วจะพบว่า ... // จากที่กล่าวมาข้างต้นสามารถชี้ให้เห็นได้ว่า .... // เมื่อพิจารณาข้อความ
ข้างต้นโดยละเอียดจะพบว่า .... // ข้อค้นพบจากเหตุผลข้างต้นทาให้เห็นว่า ....
• แยกทฤษฎี/กรอบการศึกษาออกเป็น bullets - numbering แล้วจับ “กรณีปัญหา” ประกบตาม
หัวข้อเลย อาจทาเป็นตารางก็ได้
ทฤษฎี + ปรากฎการณ์ ปรากฎการณ์ 1
(สหรัฐอเมริกา)
ปรากฎการณ์ 2
(ตุรกี)
ปรากฎการณ์ 3
(ไทย)
ตรรกะ 1 ของทฤษฎี
(การเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ) X1
... ... ...
ตรรกะ 2 ของทฤษฎี
(อัตราการอ่านออกเขียนได้
/ ระดับการศึกษา) X2
... ... ...
ตรรกะ 3 ของทฤษฎี
(วัฒนธรรมการเมือง) X3
... ... ...
 โจทย์: การถดถอยของประชาธิปไตยสหรัฐอเมริกา ตุรกี และไทย เป็นอย่างไร?
 ทฤษฎี Modernization
 สูตร Y (การถดถอยของประชาธิปไตย) = X1 + X2 + X3
2.2.3 การวิพากษ์
 การวิพากษ์ คือ หัวใจของงานวิชาการ (ไม่ได้ถูกผูกขาดกับพวกสายวิพากษ์/มาร์กซิสต์/โพสโมเดิร์น)
 เป้าหมาย คือ การแสดงจุดยืนของเราผ่านรายงาน/บทความชิ้นนี้ ว่า “ทาไมเราถูก และทาไมเขา/เธอผิด!”
 เทคนิคในการวิพากษ์:
• การเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย // เห็นด้วย-เห็นต่าง แนะนาว่าให้ทาเป็นตาราง
• Bullets-Numbering “ส่วนที่เราไม่เห็นด้วย” ให้ชัด แล้วใส่ “เหตุผล 1 – 2 – 3” ประกบเข้าไปเลย จะได้
ชัดเจนว่าเราไม่เห็นด้วยเพราะอะไร และใส่เหตุผลว่าทาไมเราถึงยืนอยู่จุดนี้
• อ้างอิงงานที่เห็นตรงกันข้ามกับเรา และวิจารณ์กลับในประโยคหรือย่อหน้าถัดไป
• Argument vs. Counter-Argument
• ประเมินสถานการณ์ (evaluation) โดยอ้างอิงจากทฤษฎี เช่น หากคุณใช้ Marxism ก็ฟังธงได้ว่าวิกฤต
เศรษฐกิจมันมาเรื่ อยๆ ความไม่เท่าเทียมยิ่งมากขึ้น และรัฐไปด้วยกันกับทุนเสมอ เป็นต้น
• วิจารณ์ทฤษฎี: มือใหม่ไม่รู้วิจารณ์อะไร ก็ลองใช้ 2 คานี้ “Atomism” ไว้วิจารณ์ทฤษฎีที่ศึกษาปัจเจกบุคคล
vs. “Reductionism/Determinism” ไว้วิจารณ์ทฤษฎีที่พูดถึงโครงสร้าง+ประวัติศาสตร์กาหนด
 ข้อควรระวัง!: การตั้งคาถามไม่ใช่การวิพากษ์ และไม่ควรตอบคาถามด้วยการ “ตั้งคาถามกลับ” แต่ควรบอก
“เหตุผล” ให้ชัดไปเลย ว่าทาไมถึงไม่เห็นด้วย
2.3 การเขียนบทสรุป (conclusion)
 บทสรุป (1 หน้า) คือ การเขียนข้อถกเถียงอีกครั้ง (Restatement) กล่าวย้าอีกครั้งเพื่อรวบยอด
งานทั้งหมด (Wrap-up)
 นา “หัวข้อ” ในเนื้อหา มาเรียงอธิบายตาม Keywords สั้นๆ
 ***ต้อง “ไม่มีเนื้อหาใหม่” ที่เป็นนัยสาคัญ หรือเปลี่ยนแนวทางของรายงาน***
 หากไม่รู้จะปิดรายงานอย่างไร ให้ใช้สูตร:
• ข้อแนะนา (suggestion): อาจเป็นการศึกษาในอนาคต หรือข้อจากัดที่ต้องอาศัยงานอื่นเพิ่มเติม
• คาดการณ์อนาคตที่ควรเป็น (prediction): ต้องมีกล่าวในเนื้อหาบ้างในส่วนวิเคราะห์และสังเคราะห์
• ข้อเสนอแนะทางนโยบาย (prescription): ต้องมีกล่าวในเนื้อหาบ้างในส่วนการวิเคราะห์
• ข้อความปลูกใจ (emancipation): ต้องมีกล่าวในเนื้อหาบ้างในส่วนการวิพากษ์
3. การอ้างอิง และ Plagiarism
 การอ้างอิง เป็นกฎของงานวิชาการ เพราะไม่มีความรู้ใดในโลกเกิดมา “ใหม่” แต่ต่างเกิดมาจากการ “ต่อยอด” กัน
 ผู้อ่านที่ Turn-pro แล้ว ส่วนใหญ่จะอ่านบทนา+อ้างอิง เป็นลาดับแรก
 การคัดลอกผลงาน (Plagiarism) เป็นอาชญากรรมทางวิชาการ โทษหนักเบาตามระเบียบมหาวิทยาลัย
เช่น หักคะแนน ให้ F หรือบางกรณีคือการถอนปริญญา เป็นต้น
 การ Copy-Paste ยังไงก็ผิด การเขียนจึงควรเขียนด้วย “ภาษาตัวเอง” และ Paraphrasing
 เลือกระบบอ้างอิงที่ตัวเองถนัด ระหว่าง “เชิงอรรถ” และ “นามปี” แต่ต้องมีแค่แบบเดียวทั้งงาน !!
 ท้ายเล่มหากเขียนว่า “เอกสารอ้างอิง” (references) ต้องมีการอ้างเอกสารทุกชิ้นในส่วนบทความ แต่
หากเขียนว่า “บรรณานุกรม” (Bibliography) จะรวมทั้งเอกสารที่อ้างในบทความ และเอกสารอื่นๆ ที่
อาจจะอ่านได้ใจความ แต่ไม่ได้เอามาอ้างในเนื้อหา
 การอ้างอิงหนังสือ บทความ ข่าว และอินเตอร์เน็ต แตกต่างกัน ควรศึกษาเพิ่มเติม
3. การอ้างอิง และ Plagiarism
 เทคนิคการอ้างอิง
• ทุกส่วนที่มีการอ้างตัวเลข แผนภาพ หรือกราฟ ต้องมีการอ้างอิง
• ทุกส่วนที่มีการใส่ “ประโยคคาพูด” (quotation) ต้องอ้างอิง
• การกล่าวถึงทฤษฎี/กรอบการศึกษา หรือนิยาม ต้องมีการอ้างอิง
• สูตรง่ายๆ สาหรับบทความ 15 หน้า คือ “จานวนเอกสารอ้างอิง = จานวนหน้า*2”
• ทุกจุดที่เอามาจากอินเตอร์เน็ต ต้องมีการอ้างอิง แต่ระวังการอ้างเว็บกับความน่าเชื่ อถื อด้วย เช่น
Wikipedia+Facebook เปลี่ยนได้ตลอด, เว็บ Clickbait ไม่ควรเอามาอ้าง เป็นต้น
• อ้างอิงไปเถอะ ยิ่งอ้างเยอะยิ่งดี มันจะดูเหมือนว่าเราอ่านมาเยอะ -*-
• การเขียนอ้างอิงแนะนารูปแบบ APA ตัวอย่าง http://asj.oas.psu.ac.th/content/ref
4. Checklists
 บทนา
 คาถาม/เป้าหมายในการศึกษา
 *** ข้อถกเถียงที่ใช้ตอบคาถาม ***
 ข้อจากัด หรือขอบเขตของงาน
 ย่อหน้า “ลาดับโครงสร้าง”
 เนื้อหา: เชิงบรรยายและวิเคราะห์
 ทฤษฎี/กรอบการศึกษา
 เหตุผล 1 – 2 – 3
 ตาราง แผนภาพ และตัวเลขสถิติ
 บริบททางประวัติศาสตร์
 ข้อกฎหมาย – กฎกติกา – คุณค่า ที่เกี่ยวข้อง
 กรณีตัวอย่าง
 เนื้อหา: เชิงสังเคราะห์
 ย่อหน้าสุดท้ายของทุกหัวข้อ
 ทฤษฎี + วิเคราะห์ จับเอามาต่อกัน
 เนื้อหา: เชิงวิพากษ์
 ข้อดี – ข้อเสีย
 สนับสนุน – คัดค้าน (Pros - Cons)
 ประเมินสถานการณ์ พร้อมเหตุผล
 วิจารณ์ข้อจากัดของ ทฤษฎี / กรณีศึกษา
 ตารางเปรียบเทียบ
 บทสรุป
 Restatement สาหรับข้อถกเถียง
 ข้อเสนอแนะ
 ไม่มีเนื้อหาใหม่
 รูปแบบวิชาการ
 เลขหน้า และเลขหัวข้อ
 กั้นหน้าให้เท่ากัน และย่อหน้า (ห้ามย่อหน้าเดียวทั้งหน้า !!)
 เลขไทย – เลขอารบิค – คาเชื่อม “ที่/ซึ่ง/อัน/ผู้”
 ระบบอ้างอิง
บทส่งท้าย
 หากสุดท้ายแล้วเขียนไม่ออก ไม่รู้จะเริ่มยังไง จะทาอย่างไร?
• ตั้งสติ แล้วถามตัวเองว่า “สงสัยเรื่ องอะไร” หรือ “อยากตอบคาถามอะไร”
• ลองทา “Concept Paper” สัก 1 หน้า เขียนเป็นหัวข้อ หรือ Mapping ก่อนก็ได้ เพื่อให้เห็น
ภาพรวมของงาน เพราะทางรัฐศาสตร์ โจทย์กับคาตอบมันมาพร้อมกับตัวตนในการมองโลกของเราอยู่แล้ว
• ลองเขียนคาอธิบายหรือคาตอบคร่าวๆ แบบ Free writing โดยไม่ต้องสนระเบียบการเขียนรายงาน
มากนัก (ค่อยมาแก้ทีหลังได้) นึกไว้ว่าให้มันได้ลงมือเขียนจะดีกว่านั่งมโนฯ อย่างเดียว
• หาอะไร “ดื่ม” ระหว่างเขียน ช่วยทาให้เรา “กล้า” มากขึ้น (หลายคนกลัวการพิมพ์เพราะคิดว่ามันจะผิด หรือไม่
ตอบโจทย์ หรือนั่งมองจอคอมและท้อแท้ในตัวเอง)
 เลือกหัวข้อ หรือคาถามอย่างไร?
• หาจุดแข็งของตัวเอง หรือเรื่ องที่เราติดใจสงสัยมากที่สุด
 หากยัง “ไม่มีอารมณ์” ต้องทายังไง?
• งานเขียนทางวิชาการ หัวใจคือ “ระเบียบ + วินัย” ไม่ใช่นิยาย ไม่จาเป็นต้องอาศัยอารมณ์ในการเล่าเรื่ องให้เห็นภาพ
ขนาดนั้น อย่าไปหวังพึ่งอารมณ์มาก เพราะเราแยกไม่ออกหรอกว่าช่วงไหนเรา “ไม่มีอารมณ์” หรือเราแค่ “ขี้เกียจ”
บทส่งท้าย
 แต่ละคาถามแตกต่างกันอย่างไร?
• What: บรรยาย และอภิปรายข้อถกเถียงระหว่างกัน
• Why: อธิบายเหตุผลของปรากฎการณ์
• How: อธิบายขั้นตอน กระบวนการ และเหตุผล
• Can: อธิบายความน่าจะเป็น และการหาจุดยืนของเรา
• Discuss: สารวจข้อถกเถียงของแต่ละฝ่าย และฟันธงจุดยืนของเรา
• In what ways: สารวจเงื่อนไขในแต่ละทาง และฟันธงจุดยืนของเรา
• To what extent: วิพากษ์วิจารณ์ถึงข้อจากัดของทฤษฎี/ปรากฎการณ์
บทส่งท้าย
 ควรวางแผนการเขียนนานขนาดไหน?
• ลงมือเขียนจริงๆ 15 หน้า ไม่กี่วันก็เสร็จ ความยากจะอยู่ที่ตอนอ่าน เก็บข้อมูล และทาโน๊ตย่อ
• วางแผน 1 อาทิตย์ อ่าน 1 เดือน เก็บข้อมูล ... เดือน เขียน 1 อาทิตย์ และอ่านอีกรอบ 1 วันเพื่อแก้ไขก่อนส่ง (เว้น
ระยะจากวันที่เขียนเสร็จสัก 1 อาทิตย์)
 ควรเขียนให้ยาก หรือเล่นคาแปลกๆ ไหม เช่น ย้อนแย้ง ลักลั่น?
• ไม่แนะนา เพราะจะทาให้คนอ่านไม่สบายใจว่าคุณมีความหมายในนั้นจริงๆ หรือเอามาจากเซเล็บฯนักวิชาการ/นัก
กิจกรรมตาม facebook
• ควรใช้คาที่เข้าใจง่ายมากกว่า เพราะงานเขียนที่ดีควรสื่อสารได้กับทั้ง “นักวิชาการ และนักศึกษาด้วยกันเอง”
 “อ่านไปเขียนไป” หรือ “อ่านจบเขียนทีเดียว” ?
• ขึ้นอยู่กับสไตล์ หาก “อ่านไปเขียนไป” ต้องวางโครงเรื่ องไว้แล้ว
• หาก “อ่านจบเขียนทีเดียว” ต้องทาโน๊ตย่อเก็บไว้
 เขียนงานเป็น “กลุ่ม” ทาอย่างไง ?
• ควรจะมี “บก.” ประจากลุ่มสัก 1 คน: วางโครงเรื่ อง แจกงาน และรวมงาน

More Related Content

What's hot

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาNuttarika Kornkeaw
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

Similar to หลักการเขียนบทความวิชาการทางรัฐศาสตร์ How to write an academic essay

การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยsanya111
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
 
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยPrachyanun Nilsook
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9Yui Siriwararat
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6StampPamika
 

Similar to หลักการเขียนบทความวิชาการทางรัฐศาสตร์ How to write an academic essay (20)

01
0101
01
 
01
0101
01
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
Academic article
Academic articleAcademic article
Academic article
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
 
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 

หลักการเขียนบทความวิชาการทางรัฐศาสตร์ How to write an academic essay

  • 1. หลักการเขียนรายงานและบทความทางวิชาการ (How to write an academic essay) ดร. วีระ หวังสัจจะโชค คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 2. เค้าโครงการบรรยาย  สิ่งที่ควรรู้สาหรับรายงานและบทความทางวิชาการ (ยึดตามเกณฑ์ทั่วไป 15 หน้า)  การจัดโครงสร้างและการเขียนด้วยตัวแบบเพชร (Diamond Model)  การเขียนบทนาให้ตอบโจทย์ มีข้อถกเถียง และมี โครงสร้างเป็นหนึ่งเดียว  การเขียนส่วนเนื้อหาด้วยทักษะวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์  การเขียนบทสรุปเพื่อเน้นย้าข้อถกเถียง  การอ้างอิง และ Plagiarism  Checklists
  • 3. 1. สิ่งที่ควรรู้สาหรับรายงานและบทความวิชาการ  รัฐศาสตร์ = Staatswissenschaft = ความรู้เกี่ยวกับรัฐ  Political Science = วิทยาศาสตร์ทางการเมือง = การศึกษาการเมืองด้วยวิธีการ วิทยาศาสตร์: ตั้งคาถาม พิสูจน์ และตอบโจทย์  การเขียนรายงานและบทความวิชาการย่อมอยู่ภายใต้ระเบียบทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษา “การเมือง” เช่นกัน • โจทย์คืออะไร และ “ข้อถกเถียง” (argument) ในการตอบโจทย์คืออะไร • คาอธิบายเพื่อหาข้อพิสูจน์และเหตุผลสาหรับ “ข้อถกเถียง” เช่น การเขียนเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์ เป็นต้น • บทสรุปของบทความตอบอะไร และมีคุณูประการ (contribution) อย่างไร  ดังนั้น “การเขียนงานวิชาการ” จึงไม่ใช่ “การเขียนนิยาย/การเขียนเล่าเรื่ อง”  งานวิชาการมันจะเขียน “ย้าไปย้ามา” เพราะมันเป็น “ระเบียบ” (discipline) ในการศึกษา
  • 4. 2. รูปแบบการเขียนด้วยตัวแบบเพชร ตัวแบบปิรามิต ตัวแบบกรวย ตัวแบบเพชร ตัวแบบนาฬิกาทราย  แต่ละรูปแบบการเขียน ขึ้นอยู่กับ “ลักษณะงาน” และ “สไตล์” ของแต่ละคน  *** แต่ “การเขียนทางวิชาการ” ที่สากลและเข้าใจง่ายที่สุด คือ “ตัวแบบเพชร” ***
  • 5. 2.1 การเขียนบทนา (Introduction)  50% - 70% ของคะแนนทั้งหมด อยู่ที่ “บทนา” (1-2 หน้า)  การตั้งคาถาม เป็นจุดเริ่ มต้นสาหรับงาน (หากไม่รู้จะ “ถามอะไร” ควรอ่านหนังสือ/เอกสาร/ประมวล รายวิชา/ข่าว หรือนั่ง lists คาถามออกมาแล้วเลือก ก่อนเขียนจริง)  *** ย่อหน้าแรกของบทนาควรเขียน “ข้อถกเถียง” ไปเลย ตอบโจทย์ให้ตรง + กระชับ + ชัดเจน *** (Argument – Thesis statement)  ในข้อถกเถียงควรใส่ “เหตุผล 1 – 2 – 3” ด้วยเป็น Keywords และให้เหตุผลพวกนี้มาเป็น “ห้วข้อ” ในส่วนเนื้อหา  นิยาม ความเป็นมา หรือประวัติศาสตร์ที่อยู่ในลักษณะ “พรรณา” ไม่ต้องเอามาเขียน !! (ควรไปอยู่ใน หัวข้อสอง) ไม่ต้องกลัวว่าคนอ่านจะไม่เข้าใจบริบท เป็นหน้าที่ของคนอ่านที่ต้องไปดูเนื้อหาข้างในเอง  หากอยากมีเกริ่นนา ควรพูดถึง “คาถาม – วัตถุประสงค์” แล้วเขียนข้อถกเถียงในย่อหน้าถัดไป  ย่อหน้าสุดท้ายของบททาต้องพูดถึง “โครงสร้างรายงาน/บทความ” ว่าประกอบไปด้วยกี่ส่วน (ล้อตาม เหตุผล 1 – 2 – 3) เรื่ องอะไรบ้าง เพื่อบอกความเป็นหนึ่งเดียว (unity) ของงานเรา
  • 6. 2.2 การเขียนส่วนเนื้อหา (contents)  เนื้อหาแยกออกเป็น “ส่วนพรรณา/บรรยาย” + “ส่วนทักษะ”  เป้าหมายของเนื้อหาคือ “พิสูจน์” ว่าข้อถกเถียงสามารถตอบโจทย์ได้จริง  ส่วน “พรรณา” เล่าเรื่ องไม่ควรเกิน 2-3 หน้า (จากบทความ 15 หน้า)  สารวจวรรณกรรม: ทฤษฎี/กรอบการศึกษา + งานที่เกี่ยวข้องกับงานเรา  นิยามศัพท์ คาสาคัญ และข้อกฎหมาย  บริบททางประวัติศาสตร์  บริบทของปัญหาที่เราจะศึกษา  ส่วน “ทักษะ” (10 หน้า) ควรจัดหัวข้อตาม “เหตุผล 1 – 2 – 3” จากบทนา  ทักษะที่สามารถนามาใช้ได้: วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์
  • 7. 2.2.1 การวิเคราะห์  ***ต้องมี “ทฤษฎี/กรอบในการวิเคราะห์” เสมอ !! ***  การวิเคราะห์จะต้อง “จาแนก” เหตุผลหรือคาอธิบายออกมาเป็น “ข้อๆ” (หากยังไม่อยาก turn-pro ไม่แนะนาให้วิเคราะห์แบบเขียนยาวๆ รัวๆ)  เล่นกับหัวข้อ ที่มาจาก “เหตุผล 1 – 2 – 3” [ตอนพิมพ์ แนะนาว่าให้วางหัวข้อให้เสร็จทั้งงานไปก่อน เลย แล้วค่อยมาพิมพ์เนื้อหาเติมทีหลัง]  เทคนิคที่ทาให้ดูเหมือนเราวิเคราะห์ หรือตีโจทย์จนแตกได้: • พยายามใส่คาอธิบายผ่าน bullets - numbering บ่อยๆ • ใส่ข้อมูลลง “ตาราง” ให้สิ่งที่เราจะศึกษาอยู่ฝั่ง column และประเด็นที่จะเล่าอยู่ฝั่ง row • อ้างตัวเลขสถิติ มีแผนภาพ กราฟ หรือรูปแบบในการอธิบาย • ใช้ “กรณีศึกษา” เป็นวิธีอธิบายเหตุผล • ใช้ “อ้างอิง” ให้เยอะที่สุดเท่าที่จะทาได้สาหรับมือใหม่แนะนา “เชิงอรรถ” ... สาหรับมือใหม่กว่าแนะนา “นาม-ปี”
  • 8. 2.2.2 การสังเคราะห์  ข้อความที่กล่าวถึงการมาบรรจบกันของ “เหตุผล+ทฤษฎี+ปัญหา/ปรากฎการณ์”  ส่วนสังเคราะห์จะอยู่ในตอนท้ายของหัวข้อแต่ละหัวข้อ (ก่อนปิดหัวข้อ “เหตุผล 1 – 2 – 3” ควรมีย่อหน้า สังเคราะห์สักหนึ่งย่อหน้า ก่อนขึ้นหัวข้อใหม่)  เทคนิคการสังเคราะห์: • ใช้การอ้างอิงงานหลายๆ ชิ้น แล้วเขียนว่างานทั้งหลายนั้นจาแนกออกมาเป็น “3-4 คาอธิบาย ดังนี้ ...” • ใช้คาเตือนใจ (Signposting) เช่น ในประเด็นนี้สังเคราะห์ได้ว่า ... // เมื่อพิจารณาทฤษฎีกับ ปรากฎการณ์แล้วจะพบว่า ... // จากที่กล่าวมาข้างต้นสามารถชี้ให้เห็นได้ว่า .... // เมื่อพิจารณาข้อความ ข้างต้นโดยละเอียดจะพบว่า .... // ข้อค้นพบจากเหตุผลข้างต้นทาให้เห็นว่า .... • แยกทฤษฎี/กรอบการศึกษาออกเป็น bullets - numbering แล้วจับ “กรณีปัญหา” ประกบตาม หัวข้อเลย อาจทาเป็นตารางก็ได้
  • 9. ทฤษฎี + ปรากฎการณ์ ปรากฎการณ์ 1 (สหรัฐอเมริกา) ปรากฎการณ์ 2 (ตุรกี) ปรากฎการณ์ 3 (ไทย) ตรรกะ 1 ของทฤษฎี (การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ) X1 ... ... ... ตรรกะ 2 ของทฤษฎี (อัตราการอ่านออกเขียนได้ / ระดับการศึกษา) X2 ... ... ... ตรรกะ 3 ของทฤษฎี (วัฒนธรรมการเมือง) X3 ... ... ...  โจทย์: การถดถอยของประชาธิปไตยสหรัฐอเมริกา ตุรกี และไทย เป็นอย่างไร?  ทฤษฎี Modernization  สูตร Y (การถดถอยของประชาธิปไตย) = X1 + X2 + X3
  • 10. 2.2.3 การวิพากษ์  การวิพากษ์ คือ หัวใจของงานวิชาการ (ไม่ได้ถูกผูกขาดกับพวกสายวิพากษ์/มาร์กซิสต์/โพสโมเดิร์น)  เป้าหมาย คือ การแสดงจุดยืนของเราผ่านรายงาน/บทความชิ้นนี้ ว่า “ทาไมเราถูก และทาไมเขา/เธอผิด!”  เทคนิคในการวิพากษ์: • การเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย // เห็นด้วย-เห็นต่าง แนะนาว่าให้ทาเป็นตาราง • Bullets-Numbering “ส่วนที่เราไม่เห็นด้วย” ให้ชัด แล้วใส่ “เหตุผล 1 – 2 – 3” ประกบเข้าไปเลย จะได้ ชัดเจนว่าเราไม่เห็นด้วยเพราะอะไร และใส่เหตุผลว่าทาไมเราถึงยืนอยู่จุดนี้ • อ้างอิงงานที่เห็นตรงกันข้ามกับเรา และวิจารณ์กลับในประโยคหรือย่อหน้าถัดไป • Argument vs. Counter-Argument • ประเมินสถานการณ์ (evaluation) โดยอ้างอิงจากทฤษฎี เช่น หากคุณใช้ Marxism ก็ฟังธงได้ว่าวิกฤต เศรษฐกิจมันมาเรื่ อยๆ ความไม่เท่าเทียมยิ่งมากขึ้น และรัฐไปด้วยกันกับทุนเสมอ เป็นต้น • วิจารณ์ทฤษฎี: มือใหม่ไม่รู้วิจารณ์อะไร ก็ลองใช้ 2 คานี้ “Atomism” ไว้วิจารณ์ทฤษฎีที่ศึกษาปัจเจกบุคคล vs. “Reductionism/Determinism” ไว้วิจารณ์ทฤษฎีที่พูดถึงโครงสร้าง+ประวัติศาสตร์กาหนด  ข้อควรระวัง!: การตั้งคาถามไม่ใช่การวิพากษ์ และไม่ควรตอบคาถามด้วยการ “ตั้งคาถามกลับ” แต่ควรบอก “เหตุผล” ให้ชัดไปเลย ว่าทาไมถึงไม่เห็นด้วย
  • 11. 2.3 การเขียนบทสรุป (conclusion)  บทสรุป (1 หน้า) คือ การเขียนข้อถกเถียงอีกครั้ง (Restatement) กล่าวย้าอีกครั้งเพื่อรวบยอด งานทั้งหมด (Wrap-up)  นา “หัวข้อ” ในเนื้อหา มาเรียงอธิบายตาม Keywords สั้นๆ  ***ต้อง “ไม่มีเนื้อหาใหม่” ที่เป็นนัยสาคัญ หรือเปลี่ยนแนวทางของรายงาน***  หากไม่รู้จะปิดรายงานอย่างไร ให้ใช้สูตร: • ข้อแนะนา (suggestion): อาจเป็นการศึกษาในอนาคต หรือข้อจากัดที่ต้องอาศัยงานอื่นเพิ่มเติม • คาดการณ์อนาคตที่ควรเป็น (prediction): ต้องมีกล่าวในเนื้อหาบ้างในส่วนวิเคราะห์และสังเคราะห์ • ข้อเสนอแนะทางนโยบาย (prescription): ต้องมีกล่าวในเนื้อหาบ้างในส่วนการวิเคราะห์ • ข้อความปลูกใจ (emancipation): ต้องมีกล่าวในเนื้อหาบ้างในส่วนการวิพากษ์
  • 12. 3. การอ้างอิง และ Plagiarism  การอ้างอิง เป็นกฎของงานวิชาการ เพราะไม่มีความรู้ใดในโลกเกิดมา “ใหม่” แต่ต่างเกิดมาจากการ “ต่อยอด” กัน  ผู้อ่านที่ Turn-pro แล้ว ส่วนใหญ่จะอ่านบทนา+อ้างอิง เป็นลาดับแรก  การคัดลอกผลงาน (Plagiarism) เป็นอาชญากรรมทางวิชาการ โทษหนักเบาตามระเบียบมหาวิทยาลัย เช่น หักคะแนน ให้ F หรือบางกรณีคือการถอนปริญญา เป็นต้น  การ Copy-Paste ยังไงก็ผิด การเขียนจึงควรเขียนด้วย “ภาษาตัวเอง” และ Paraphrasing  เลือกระบบอ้างอิงที่ตัวเองถนัด ระหว่าง “เชิงอรรถ” และ “นามปี” แต่ต้องมีแค่แบบเดียวทั้งงาน !!  ท้ายเล่มหากเขียนว่า “เอกสารอ้างอิง” (references) ต้องมีการอ้างเอกสารทุกชิ้นในส่วนบทความ แต่ หากเขียนว่า “บรรณานุกรม” (Bibliography) จะรวมทั้งเอกสารที่อ้างในบทความ และเอกสารอื่นๆ ที่ อาจจะอ่านได้ใจความ แต่ไม่ได้เอามาอ้างในเนื้อหา  การอ้างอิงหนังสือ บทความ ข่าว และอินเตอร์เน็ต แตกต่างกัน ควรศึกษาเพิ่มเติม
  • 13. 3. การอ้างอิง และ Plagiarism  เทคนิคการอ้างอิง • ทุกส่วนที่มีการอ้างตัวเลข แผนภาพ หรือกราฟ ต้องมีการอ้างอิง • ทุกส่วนที่มีการใส่ “ประโยคคาพูด” (quotation) ต้องอ้างอิง • การกล่าวถึงทฤษฎี/กรอบการศึกษา หรือนิยาม ต้องมีการอ้างอิง • สูตรง่ายๆ สาหรับบทความ 15 หน้า คือ “จานวนเอกสารอ้างอิง = จานวนหน้า*2” • ทุกจุดที่เอามาจากอินเตอร์เน็ต ต้องมีการอ้างอิง แต่ระวังการอ้างเว็บกับความน่าเชื่ อถื อด้วย เช่น Wikipedia+Facebook เปลี่ยนได้ตลอด, เว็บ Clickbait ไม่ควรเอามาอ้าง เป็นต้น • อ้างอิงไปเถอะ ยิ่งอ้างเยอะยิ่งดี มันจะดูเหมือนว่าเราอ่านมาเยอะ -*- • การเขียนอ้างอิงแนะนารูปแบบ APA ตัวอย่าง http://asj.oas.psu.ac.th/content/ref
  • 14. 4. Checklists  บทนา  คาถาม/เป้าหมายในการศึกษา  *** ข้อถกเถียงที่ใช้ตอบคาถาม ***  ข้อจากัด หรือขอบเขตของงาน  ย่อหน้า “ลาดับโครงสร้าง”  เนื้อหา: เชิงบรรยายและวิเคราะห์  ทฤษฎี/กรอบการศึกษา  เหตุผล 1 – 2 – 3  ตาราง แผนภาพ และตัวเลขสถิติ  บริบททางประวัติศาสตร์  ข้อกฎหมาย – กฎกติกา – คุณค่า ที่เกี่ยวข้อง  กรณีตัวอย่าง  เนื้อหา: เชิงสังเคราะห์  ย่อหน้าสุดท้ายของทุกหัวข้อ  ทฤษฎี + วิเคราะห์ จับเอามาต่อกัน  เนื้อหา: เชิงวิพากษ์  ข้อดี – ข้อเสีย  สนับสนุน – คัดค้าน (Pros - Cons)  ประเมินสถานการณ์ พร้อมเหตุผล  วิจารณ์ข้อจากัดของ ทฤษฎี / กรณีศึกษา  ตารางเปรียบเทียบ  บทสรุป  Restatement สาหรับข้อถกเถียง  ข้อเสนอแนะ  ไม่มีเนื้อหาใหม่  รูปแบบวิชาการ  เลขหน้า และเลขหัวข้อ  กั้นหน้าให้เท่ากัน และย่อหน้า (ห้ามย่อหน้าเดียวทั้งหน้า !!)  เลขไทย – เลขอารบิค – คาเชื่อม “ที่/ซึ่ง/อัน/ผู้”  ระบบอ้างอิง
  • 15. บทส่งท้าย  หากสุดท้ายแล้วเขียนไม่ออก ไม่รู้จะเริ่มยังไง จะทาอย่างไร? • ตั้งสติ แล้วถามตัวเองว่า “สงสัยเรื่ องอะไร” หรือ “อยากตอบคาถามอะไร” • ลองทา “Concept Paper” สัก 1 หน้า เขียนเป็นหัวข้อ หรือ Mapping ก่อนก็ได้ เพื่อให้เห็น ภาพรวมของงาน เพราะทางรัฐศาสตร์ โจทย์กับคาตอบมันมาพร้อมกับตัวตนในการมองโลกของเราอยู่แล้ว • ลองเขียนคาอธิบายหรือคาตอบคร่าวๆ แบบ Free writing โดยไม่ต้องสนระเบียบการเขียนรายงาน มากนัก (ค่อยมาแก้ทีหลังได้) นึกไว้ว่าให้มันได้ลงมือเขียนจะดีกว่านั่งมโนฯ อย่างเดียว • หาอะไร “ดื่ม” ระหว่างเขียน ช่วยทาให้เรา “กล้า” มากขึ้น (หลายคนกลัวการพิมพ์เพราะคิดว่ามันจะผิด หรือไม่ ตอบโจทย์ หรือนั่งมองจอคอมและท้อแท้ในตัวเอง)  เลือกหัวข้อ หรือคาถามอย่างไร? • หาจุดแข็งของตัวเอง หรือเรื่ องที่เราติดใจสงสัยมากที่สุด  หากยัง “ไม่มีอารมณ์” ต้องทายังไง? • งานเขียนทางวิชาการ หัวใจคือ “ระเบียบ + วินัย” ไม่ใช่นิยาย ไม่จาเป็นต้องอาศัยอารมณ์ในการเล่าเรื่ องให้เห็นภาพ ขนาดนั้น อย่าไปหวังพึ่งอารมณ์มาก เพราะเราแยกไม่ออกหรอกว่าช่วงไหนเรา “ไม่มีอารมณ์” หรือเราแค่ “ขี้เกียจ”
  • 16. บทส่งท้าย  แต่ละคาถามแตกต่างกันอย่างไร? • What: บรรยาย และอภิปรายข้อถกเถียงระหว่างกัน • Why: อธิบายเหตุผลของปรากฎการณ์ • How: อธิบายขั้นตอน กระบวนการ และเหตุผล • Can: อธิบายความน่าจะเป็น และการหาจุดยืนของเรา • Discuss: สารวจข้อถกเถียงของแต่ละฝ่าย และฟันธงจุดยืนของเรา • In what ways: สารวจเงื่อนไขในแต่ละทาง และฟันธงจุดยืนของเรา • To what extent: วิพากษ์วิจารณ์ถึงข้อจากัดของทฤษฎี/ปรากฎการณ์
  • 17. บทส่งท้าย  ควรวางแผนการเขียนนานขนาดไหน? • ลงมือเขียนจริงๆ 15 หน้า ไม่กี่วันก็เสร็จ ความยากจะอยู่ที่ตอนอ่าน เก็บข้อมูล และทาโน๊ตย่อ • วางแผน 1 อาทิตย์ อ่าน 1 เดือน เก็บข้อมูล ... เดือน เขียน 1 อาทิตย์ และอ่านอีกรอบ 1 วันเพื่อแก้ไขก่อนส่ง (เว้น ระยะจากวันที่เขียนเสร็จสัก 1 อาทิตย์)  ควรเขียนให้ยาก หรือเล่นคาแปลกๆ ไหม เช่น ย้อนแย้ง ลักลั่น? • ไม่แนะนา เพราะจะทาให้คนอ่านไม่สบายใจว่าคุณมีความหมายในนั้นจริงๆ หรือเอามาจากเซเล็บฯนักวิชาการ/นัก กิจกรรมตาม facebook • ควรใช้คาที่เข้าใจง่ายมากกว่า เพราะงานเขียนที่ดีควรสื่อสารได้กับทั้ง “นักวิชาการ และนักศึกษาด้วยกันเอง”  “อ่านไปเขียนไป” หรือ “อ่านจบเขียนทีเดียว” ? • ขึ้นอยู่กับสไตล์ หาก “อ่านไปเขียนไป” ต้องวางโครงเรื่ องไว้แล้ว • หาก “อ่านจบเขียนทีเดียว” ต้องทาโน๊ตย่อเก็บไว้  เขียนงานเป็น “กลุ่ม” ทาอย่างไง ? • ควรจะมี “บก.” ประจากลุ่มสัก 1 คน: วางโครงเรื่ อง แจกงาน และรวมงาน