SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
วรรณคดีไทย
วรรณคดี  หมายถึง  วรรณกรรม หรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทาง วรรณศิลป์  การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นใน พระราชกฤษฎีกา ตั้ง วรรณคดีสโมสร ในสมัย รัชกาลที่ 6 วรรณคดี เป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะ สามารถ ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อาชีพการประพันธ์ งานเขียนในสมัยใดสมัยหนึ่ง งานประพันธ์ที่ได้รับการยกย่องจากนักวิจารณ์ และผู้อ่านทั่วไป สำหรับในภาษาไทย วรรณคดี ปรากฏครั้งแรกในหนังสือพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสร วันที่  23  กรกฎาคม พ . ศ . 2457  โดยมีความหมายคือ หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี นั้นคือมีการใช้ภาษาอย่างดี มีศิลปะการแต่งที่ยอดเยี่ยมทั้งด้านศิลปะการใช้คำ ศิลปะการใช้โวหารและถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และภาษานั้นให้ความหมายชัดเจน ทำให้เกิดการโน้มน้าวอารมณ์ผู้อ่านให้คล้องตามไปด้วย กล่าวง่ายๆ คือ เมื่อผู้อ่าน ๆ แล้วทำให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง ตื่นเต้นดื่มด่ำ หนังสือเล่มใดอ่านแล้วมีอารมณ์เฉยๆ ไม่ซาบซึ้งตรึงใจและทำให้น่าเบื่อถือว่าไม่ใช่วรรณคดี หนังสือที่ทำให้เกิดความรู้สึกดื่มด่ำดังกล่าวนี้จะต้องเป็นความรู้สึกฝ่าย สูง คือทำให้เกิดอารมณ์ความนึกคิดในทางที่ดีงาม ไม่ชักจูงในทางที่ไม่ดี การศึกษาวรรณคดีโดยวิเคราะห์ตามประเภท สามารถแบ่งได้เป็นประเภทต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้ วรรณคดีคำสอน วรรณคดีศาสนา วรรณคดีนิทาน วรรณคดีลิลิต วรรณคดีนิราศ วรรณคดีเสภา วรรณคดีบทละคร วรรณคดีเพลงยาว วรรณคดีคำฉันท์ วรรณคดียอพระเกียรติ วรรณคดีคำหลวง วรรณคดีปลุกใจ
ลักษณะเด่นของวรรณคดีไทย จำแนกเป็นข้อๆ ได้ ดังนี้             1. นิยมด้วยคำประพันธ์ร้อยกรองมากกว่าร้อย  แก้ว 2. เน้นความประณีตของคำและสำนวนโวหาร ภาษาที่ใช้ในวรรณคดีไม่เหมือนภาษาพูดทั่วไป คือ เป็นภาษาที่มีการเลือกใช้ถ้อยคำตกแต่งถ้อยคำให้หรูหรา 3. เน้นการแสดงความรู้สึกที่สะเทือนอารมณ์จาการรำพันความรู้สึก ตัวละครในเรื่องจะรำพันความรู้สึกต่างๆ เช่น รัก เศร้า โกรธ ฯลฯ  4. มีขนบการแต่ง กล่าวคือ มีวิธีแต่งที่นิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแต่โบราณ ได้แก่ ขึ้นต้นเรื่องด้วยการกล่าวคำไหว้ครู คือ ไหว้เทวดา ไหว้พระรัตนตรัย ไหว้ครูบาอาจารย์ สรรเสริญพระเกียรติคุณของพระหมากษัตริย์ หรือกล่าวชมบ้านเมือง
วรรณคดีมีประโยชน์ดังนี้                       การเรียนวรรณคดีทำให้เราได้ศึกษาสิ่งต่างๆ หลายแง่มุมจากสิ่งที่เราอ่าน ได้สัมผัสเรื่องราวที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย     โดยผ่านทางกวี สภาพสังคม วัฒนธรรม ศึกษาลักษณะคำประพันธ์ที่กวีใช้ สิ่งเหล่านี้ทำให้เรามีประสบการณ์มากขึ้น                         ๑ .  วรรณคดีช่วยให้ความรู้หลายด้านที่จะช่วยสร้างเสริมสติปัญญาให้แก่ผู้อ่าน เช่นทางด้านภาษาจะทำให้ผู้อ่านมี  ความรู้ด้านความหมายของคำ การใช้ภาษาของแต่ละยุคสมัย แต่ละภาค แบบแผนของฉันทลักษณ์แต่ละประเภท ทางด้าน  ประวัติศาสตร์ พงศาวดาร ตำนาน นิทาน เรื่องราวพื้นเมืองต่างๆ                         ๒ .  วรรณคดีให้คุณค่าทางอารมณ์ต่างๆ เพราะวรรณคดีเป็นเรื่องศิลปะของการถ่ายทอดความรู้สึกและอารมณ์ด้วยวิธี ร้อยกรองถ้อยคำที่มีชีวิตจิตใจ ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์คล้อยตาม ได้รับรสสุนทรียภาพของวรรณคดี                         ๓ .  วรรณคดีจะช่วยสะท้อนภาพสังคม สภาพชีวิต วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของบรรพบุรุษ ขนบธรรมเนียมประเพณี  ความเชื่อ และค่านิยมต่างๆ กวีจะสอดแทรกอยู่ในวรรณคดีทั้งสิ้น                         ๔ .  วรรณคดีช่วยขัดเกลาจิตใจและยกระดับจิตใจของผู้อ่านให้สูงขึ้น ช่วยจรรโลงจิตใจ ทำให้มนุษย์เห็นตัวอย่างของ  ความทุกข์ ความสุข และปัญหาชีวิตต่างๆ ทำให้ผู้อ่านมองชีวิต ด้วยความเข้าใจมากขึ้น และวรรณคดีจะช่วยสอดแทรกธรรม  ผ่านตัวอักษร เป็นการสอนใจผู้อ่านด้วย

More Related Content

What's hot

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
Sivagon Soontong
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
krunoree.wordpress.com
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
bangonchin
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
ใบงานโคลงโลกนิติ
ใบงานโคลงโลกนิติใบงานโคลงโลกนิติ
ใบงานโคลงโลกนิติ
wannasriwichai
 

What's hot (20)

เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ศีลแปดแลศีลห้า
ศีลแปดแลศีลห้าศีลแปดแลศีลห้า
ศีลแปดแลศีลห้า
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ใบงานโคลงโลกนิติ
ใบงานโคลงโลกนิติใบงานโคลงโลกนิติ
ใบงานโคลงโลกนิติ
 

Similar to วรรณคดีไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
chontee55
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
พัน พัน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
Nattha Namm
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
chontee55
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
mayavee16
 

Similar to วรรณคดีไทย (9)

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 

วรรณคดีไทย

  • 2. วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรม หรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทาง วรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นใน พระราชกฤษฎีกา ตั้ง วรรณคดีสโมสร ในสมัย รัชกาลที่ 6 วรรณคดี เป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะ สามารถ ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร
  • 3.
  • 4. อาชีพการประพันธ์ งานเขียนในสมัยใดสมัยหนึ่ง งานประพันธ์ที่ได้รับการยกย่องจากนักวิจารณ์ และผู้อ่านทั่วไป สำหรับในภาษาไทย วรรณคดี ปรากฏครั้งแรกในหนังสือพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสร วันที่ 23 กรกฎาคม พ . ศ . 2457 โดยมีความหมายคือ หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี นั้นคือมีการใช้ภาษาอย่างดี มีศิลปะการแต่งที่ยอดเยี่ยมทั้งด้านศิลปะการใช้คำ ศิลปะการใช้โวหารและถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และภาษานั้นให้ความหมายชัดเจน ทำให้เกิดการโน้มน้าวอารมณ์ผู้อ่านให้คล้องตามไปด้วย กล่าวง่ายๆ คือ เมื่อผู้อ่าน ๆ แล้วทำให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง ตื่นเต้นดื่มด่ำ หนังสือเล่มใดอ่านแล้วมีอารมณ์เฉยๆ ไม่ซาบซึ้งตรึงใจและทำให้น่าเบื่อถือว่าไม่ใช่วรรณคดี หนังสือที่ทำให้เกิดความรู้สึกดื่มด่ำดังกล่าวนี้จะต้องเป็นความรู้สึกฝ่าย สูง คือทำให้เกิดอารมณ์ความนึกคิดในทางที่ดีงาม ไม่ชักจูงในทางที่ไม่ดี การศึกษาวรรณคดีโดยวิเคราะห์ตามประเภท สามารถแบ่งได้เป็นประเภทต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้ วรรณคดีคำสอน วรรณคดีศาสนา วรรณคดีนิทาน วรรณคดีลิลิต วรรณคดีนิราศ วรรณคดีเสภา วรรณคดีบทละคร วรรณคดีเพลงยาว วรรณคดีคำฉันท์ วรรณคดียอพระเกียรติ วรรณคดีคำหลวง วรรณคดีปลุกใจ
  • 5. ลักษณะเด่นของวรรณคดีไทย จำแนกเป็นข้อๆ ได้ ดังนี้           1. นิยมด้วยคำประพันธ์ร้อยกรองมากกว่าร้อย แก้ว 2. เน้นความประณีตของคำและสำนวนโวหาร ภาษาที่ใช้ในวรรณคดีไม่เหมือนภาษาพูดทั่วไป คือ เป็นภาษาที่มีการเลือกใช้ถ้อยคำตกแต่งถ้อยคำให้หรูหรา 3. เน้นการแสดงความรู้สึกที่สะเทือนอารมณ์จาการรำพันความรู้สึก ตัวละครในเรื่องจะรำพันความรู้สึกต่างๆ เช่น รัก เศร้า โกรธ ฯลฯ 4. มีขนบการแต่ง กล่าวคือ มีวิธีแต่งที่นิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแต่โบราณ ได้แก่ ขึ้นต้นเรื่องด้วยการกล่าวคำไหว้ครู คือ ไหว้เทวดา ไหว้พระรัตนตรัย ไหว้ครูบาอาจารย์ สรรเสริญพระเกียรติคุณของพระหมากษัตริย์ หรือกล่าวชมบ้านเมือง
  • 6. วรรณคดีมีประโยชน์ดังนี้                     การเรียนวรรณคดีทำให้เราได้ศึกษาสิ่งต่างๆ หลายแง่มุมจากสิ่งที่เราอ่าน ได้สัมผัสเรื่องราวที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย   โดยผ่านทางกวี สภาพสังคม วัฒนธรรม ศึกษาลักษณะคำประพันธ์ที่กวีใช้ สิ่งเหล่านี้ทำให้เรามีประสบการณ์มากขึ้น                       ๑ . วรรณคดีช่วยให้ความรู้หลายด้านที่จะช่วยสร้างเสริมสติปัญญาให้แก่ผู้อ่าน เช่นทางด้านภาษาจะทำให้ผู้อ่านมี ความรู้ด้านความหมายของคำ การใช้ภาษาของแต่ละยุคสมัย แต่ละภาค แบบแผนของฉันทลักษณ์แต่ละประเภท ทางด้าน ประวัติศาสตร์ พงศาวดาร ตำนาน นิทาน เรื่องราวพื้นเมืองต่างๆ                       ๒ . วรรณคดีให้คุณค่าทางอารมณ์ต่างๆ เพราะวรรณคดีเป็นเรื่องศิลปะของการถ่ายทอดความรู้สึกและอารมณ์ด้วยวิธี ร้อยกรองถ้อยคำที่มีชีวิตจิตใจ ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์คล้อยตาม ได้รับรสสุนทรียภาพของวรรณคดี                       ๓ . วรรณคดีจะช่วยสะท้อนภาพสังคม สภาพชีวิต วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของบรรพบุรุษ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ และค่านิยมต่างๆ กวีจะสอดแทรกอยู่ในวรรณคดีทั้งสิ้น                       ๔ . วรรณคดีช่วยขัดเกลาจิตใจและยกระดับจิตใจของผู้อ่านให้สูงขึ้น ช่วยจรรโลงจิตใจ ทำให้มนุษย์เห็นตัวอย่างของ ความทุกข์ ความสุข และปัญหาชีวิตต่างๆ ทำให้ผู้อ่านมองชีวิต ด้วยความเข้าใจมากขึ้น และวรรณคดีจะช่วยสอดแทรกธรรม ผ่านตัวอักษร เป็นการสอนใจผู้อ่านด้วย