SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
---------------------------------------
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา จานวน ๓
ฉบับ คือ ฉบับที่ ๑ ประกาศกฎกระทรวงด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
ประกาศเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ฉบับที่ ๒ ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา ประกาศเมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ฉบับที่ ๓ ประกาศคณะกรรมการประกัน
คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
ภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๔ และ นโยบายการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สองที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทย
ในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล จึงปรับมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและการ
มีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครองและประชาชน ในชุมชนให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกันเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับ
การประเมินคุณภาพภายนอก
โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูลจึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของโรงเรียนและมาตรฐาน
การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ จานวน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้
ทั้งนี้ให้มีผลดาเนินการตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๘
ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(นายจาเนียร ราษเจริญ)
ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
(นางจันทรา หาญสุทธิชัย)
ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
(นายฤทธา นันทพันธ์)
ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘
การกาหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
เรื่อง การกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
................................................
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว
บ่งชี้
คะแนน
รวม
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ด้านคุณภาพผู้เรียน ๒๖ ๓๐ ระดับคุณภาพดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะทีดีและมีสุนทรียภาพ ๖
๕
๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย
สม่าเสมอ
๐.๕๐ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกาย
ตามเกณฑ์มาตรฐาน
๐.๕๐ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑.๓ ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง
ตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย
อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑.๔ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก
อย่างเหมาะสม
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑.๖ สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี
/นาฏศิลป์กีฬา/นันทนาการตามจินตนาการ
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม
ที่พึงประสงค์
๔
๕
ระดับคุณภาพดีเยี่ยม
๒.๑ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๒.๒ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๒.๓ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๒.๔ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเองรักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
๔
๕
ระดับดีมาก
๓.๑ มีนิสัยรักการอ่าน และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
๒
ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๓.๒ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถา
เพื่อค้นคว้าหาความรูเพิ่มเติม
๑
ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๓.๓ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อ
การเรียนรู้ระหว่างกัน
๑
ร้อยละ๘๕ได้ระดับดีขึ้นไป
๓.๔ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน ๑ ร้อยละ๘๔ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว
บ่งชี้
คะแนน
รวม
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่าง
เป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
๔
๕
ระดับดีมาก
๔.๑
สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสาร
โดยการพูดหรือการเขียนตามความคิดของตนเอง
๒
ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๔.๒ นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการ
ของตนเอง
๑
ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๔.๓ กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหา
โดยมีเหตุผลประกอบ
๑
ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๔.๔ มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความ
ภาคภูมิใจ
๑
ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น
ตามหลักสูตร
๔
๕
ระดับดี
๕.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไป
ตามเกณฑ์
๒ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป
๕.๒ มีผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร
เป็นไปตามเกณฑ์
๑ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป
๕.๓ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
เป็นไปตามเกณฑ์
๑ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป
๕.๔ ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ ๑ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการ
ทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี
ต่ออาชีพสุจริต
๔
๕
ระดับดีเยี่ยม
๖.๑ วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๖.๒
ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจ
ในผลงานของตนเอง
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๖.๓ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๖.๔
มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้
เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว
บ่งชี้
คะแนน
รวม
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ๓๓ ๕๐
มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
๙
๑๐
ระดับดีมาก
๗.๑
ครูมีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้าน
ความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๒
ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูล
ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ
ของผู้เรียน
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๓
ครูออกแบบและการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ
แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสิตปัญญา
๒
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๔
ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนา
บริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการใน
การจัดการเรียนรู้
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๕
ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการ
เรียนรู้ของนักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๖
ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่
ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความ
เสมอภาค
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๗
ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ใน
วิชาที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการสอน
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๘
ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็น
สมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
๑
ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๗.๙
ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมาย
เต็มเวลาเต็มความสามารถ
๑
ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง
มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
๖
๑๐
ระดับดีเยี่ยม
๘.๑
ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นาและความคิดริเริ่มที่
เน้นการพัฒนาผู้เรียน
๑
ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๘.๒
ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้
ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้ง
ด้านวิชาการและการจัดการ
๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๘.๓
ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุ
เป้าหมายตามที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติกา
๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๘.๔
ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้
พร้อมรับการกระจายอานาจ
๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน
ตัวบ่งชี้
คะแนน
รวม
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
๘.๕ นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนพึงพอใจผลการ
บริหารการจัดการศึกษา
๑ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๘.๖ ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและ
เอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง
ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
๓ ระดับดีเยี่ยม
๙.๑ คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตาม
ระเบียบกาหนด
๒
๕
ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๙.๒ คณะกรรมการสถานศึกษากากับ ติดตาม ดูแลและ
ขับเคลื่อนการดาเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุ
สาเร็จตามเป้าหมาย
๑ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๙.๓ ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
สถานศึกษา
๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการ
เรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่าง
รอบด้าน
๖ ระดับดีมาก
๑๐.๑ หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับ
ท้องถิ่น
๒
๑๐
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๐.๒ จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือก
เรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ
๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๐.๓ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนอง
ความต้องการ ความสามารถ ความถนัดและความ
สนใจของผู้เรียน
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๐.๔
สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้
ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ ได้ด้วยตนเอง
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๐.๕
นิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบและนาผลไป
ปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ
๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๐.๖
จัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มี
ประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน
๒
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและ
การบริการที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ
๓
๑๐
ระดับดีเยี่ยม
๑๑.๑
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง
สะอาด และปลอดภัย มีสิ่งอานวยความสะดวก
พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่ม
รื่นและแหล่งเรียนรู้สาหรับผู้เรียน
๔
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว
บ่งชี้
คะแนน
รวม
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
๑๑.๒
จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและ
ความปลอดภัยขอผู้เรียน
๓ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๑.๓
จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยี
สารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและ
หรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
๓ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
๖
๕
ระดับดีเยี่ยม
๑๒.๑ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๒.๒
จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๒.๓
จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการ
บริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
๑
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๒.๔
ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถาน
๐.๕๐
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๒.๕
นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก
ไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง
๐.๕๐
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๒.๖ จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมิน
คุณภาพภายใน
๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๒ ๑๐
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็น สังคมแห่งการเรียนรู้
๒
๑๐
ระดับดีเยี่ยม
๑๓.๑
มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายใน
สถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้
ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของ
สถานศึกษารวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง
๕
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๓.๒
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคลภายใน
สถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว
ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
๕
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน
ตัวบ่งชี้
คะแนน
รวม
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๒ ๕
มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม
วิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นที่กาหนดขึ้น
๒
๕
ระดับดีเยี่ยม
๑๔.๑
จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพ
แข็งแรง มีจิตสาธารณะ โดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๓
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๔.๒
ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพ
แข็งแรง มีจิตสาธารณะโดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๒
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
๕
มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้นแนว
ทางการปฏิรูปการศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษา
ให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
๒
ระดับดีเยี่ยม
๑๕.๑
จัดโครงการ กิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ โดยการ
นาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๓
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
๑๕.๒
ผลการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพโดยนาเอาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาบรรลุตามเป้าหมาย
๒
ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
เรื่อง การกาหนดอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………..
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองโดยมีเป้าหมาย และ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยรวมทั้งการศึกษาไทยในอนาคต ไว้อย่างชัดเจน ประกอบกับประกาศ
กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๑๔ (๑) ให้
โรงเรียนกาหนดมาตรฐานการศึกษา และข้อ ๑๕ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑)
ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด และต้องครอบคลุมสาระการเรียนรู้และ
กระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งคานึงถึงศักยภาพของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น อีกทั้ง ข้อ ๓๙ หมวด ๓ การประกัน
คุณภาพภายนอก ว่าด้วยวิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็นไปตามระเบียบที่สานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษากาหนดนั้น
ในการนี้การกาหนดอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จึงประกาศอัตลักษณ์โรงเรียนและเอกลักษณ์
โรงเรียน ดังนี้
อัตลักษณ์โรงเรียน “ใฝ่เรียนรู้ คู่จรรยา”
เอกลักษณ์โรงเรียน “ยิ้มง่าย ไหว้สวย ช่วยอาสา”
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(นายจาเนียร ราษเจริญ)
ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
(นางจันทรา หาญสุทธิชัย)
ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานระบบการประกันคุณภาพภายใน
.................................................................
อาศัยอานาจตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙(๓)ให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มี
ระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล จึงได้ประกาศ
แต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการในคณะกรรมการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน ดังนี้
๑. นางจันทรา หาญสุทธิชัย ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ
๒. นายจาเนียร ราษเจริญ ผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
๓. นายเจษฎาภรณ์ วิเศษชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๔. นางวาทินี สมบัติวงค์ ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ
๕. นายสุทอน สมบัติวงค์ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ
๖. นายวิชัย แสงธรรม ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ
๗. นายพยนต์ ธรรมโหร รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการ
๘. นายสารวน เสมอภาค ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
๙. นางสาวปรีดาภรณ์ จันทร์สว่าง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
๑๐.นายปรีชา วงค์ภักดี ผู้ปกครองนักเรียน กรรมการ
๑๑.นางสาวปานตะวัน นามวงศ์ นักเรียน กรรมการ
๑๒.นายไพรวัลย์ หอมใจ นักเรียน กรรมการ
๑๓.นางดรุณี เสมอภาค ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
มีหน้าที่
๑. วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการอย่างครบถ้วน
๒. กาหนดมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
๓. กาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จของทุกมาตรฐานและตัวบ่งชี้อย่างเหมาะสมโดยได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
๔. จัดทาประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการประชาสัมพันธ์ให้
ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาได้รับทราบ
ให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการดาเนินงานระบบการประกันคุณภาพภายใน
โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นประโยชน์ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงว่าด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน ด้วยความ
เอาใจใส่และคานึงถึงประโยชน์ของทางราชการและคุณภาพการศึกษาเป็นสาคัญ
ทั้งนี้ให้มีผลดาเนินการตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๘
สั่ง ณ วันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘
(นายจาเนียร ราษเจริญ)
ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
๒
ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการภายนอกและภายในเพื่อการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
..........................................
การประเมินคุณภาพภายใน (Internal Quality Assessment) เป็นระบบและกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามนโยบายที่กาหนดในสถานศึกษา และ/
หรือหน่วยงานต้นสังกัด ต้องดาเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๖
ระบุไว้ว่า การจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ได้ระบุไว้ว่า ให้มี
คณะกรรมการประเมินภายในอย่างน้อย ๓ คน ที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานต้นสังกัดขึ้น
ทะเบียนไว้อย่างน้อย ๑ คน เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา อย่างน้อยปีละ ๑
ครั้ง เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการประเมินคุณภาพภายในสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียน
ห้วยทับทันวิทยาคมจึงแต่งตั้งบุคคลเป็นคณะกรรมการการประเมินคุณภาพภายใน ดังนี้
๑. นายจาเนียร ราษเจริญ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
๒. นายพยนต์ ธรรมโหร รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
๓. นายสารวน เสมอภาค ครูวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
๔. นางสุนทราภรณ์ ธรรมวิเศษ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๕. นางดรุณี เสมอภาค ครูวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
มีหน้าที่
๑. ศึกษาเอกสารรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
๒. จัดทากาหนดการตรวจเยี่ยมและประเมินร่วมกับคณะผู้ประเมิน
๓. กากับดูแลให้การประเมินเป็นไปตามแผนที่กาหนด
๔. ประสานงานกับผู้ประเมินให้การประเมินสัมพันธ์กันไม่ซ้าซ้อน
๕. สรุปผลการประเมินเป็นระยะๆ
๖. พิจารณาสรุปผลการประเมินรวบยอด
๗. แจ้งผลการประเมินอย่างไม่เป็นทางการด้วยวาจา พร้อมให้ข้อเสนอแนะและคาแนะนาให้การ
ปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนางานแก่สถานศึกษา
๘. ดูแล กากับ และร่วมจัดทารายงานผลการประเมิน
๙. ส่งรายงานผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้อง
ให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการการประเมินคุณภาพ โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล ปฏิบัติหน้าที่ให้
เป็นประโยชน์ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และ
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน ด้วยความเอาใจใส่และคานึงถึงประโยชน์ของทางราชการ
และคุณภาพการศึกษาเป็นสาคัญ
ทั้งนี้ให้มีผลดาเนินการตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๘
สั่ง ณ วันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘
(นายจาเนียร ราษเจริญ)
ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
๒

More Related Content

Similar to ประกาศมาตราน 58

ประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯ
ประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯ
ประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพ
9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพ9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพ
9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพPochchara Tiamwong
 
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfchartthai
 

Similar to ประกาศมาตราน 58 (7)

ประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯ
ประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯ
ประกาศโรงเรียนอนุบาลระนองเรื่องการจัดซื้อครุภัณฑ์ คอมฯ
 
ประกาศจัดซื้อคอมฯ+LED
ประกาศจัดซื้อคอมฯ+LEDประกาศจัดซื้อคอมฯ+LED
ประกาศจัดซื้อคอมฯ+LED
 
ปี58
ปี58ปี58
ปี58
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพ
9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพ9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพ
9ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพ
 
Iqa manual2557
Iqa manual2557Iqa manual2557
Iqa manual2557
 
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
 

More from kroodarunee samerpak

แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLCแบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLCkroodarunee samerpak
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงานแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงานkroodarunee samerpak
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AARแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AARkroodarunee samerpak
 
2.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ602.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ60kroodarunee samerpak
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60kroodarunee samerpak
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559kroodarunee samerpak
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258kroodarunee samerpak
 
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553kroodarunee samerpak
 
ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57kroodarunee samerpak
 
สถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียนสถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียนkroodarunee samerpak
 
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]kroodarunee samerpak
 

More from kroodarunee samerpak (18)

Student m.4 63
Student m.4 63Student m.4 63
Student m.4 63
 
Student m.1 63
Student m.1 63Student m.1 63
Student m.1 63
 
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLCแบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงานแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AARแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
 
2.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ602.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ60
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258
 
นำเสนอC&m2
นำเสนอC&m2นำเสนอC&m2
นำเสนอC&m2
 
ครูสอนดี
ครูสอนดีครูสอนดี
ครูสอนดี
 
ประวัติครู
ประวัติครูประวัติครู
ประวัติครู
 
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
 
ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57
 
สถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียนสถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียน
 
โอเน็ต2555
โอเน็ต2555โอเน็ต2555
โอเน็ต2555
 
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
 
ผลสัมฤทธิ์1
ผลสัมฤทธิ์1ผลสัมฤทธิ์1
ผลสัมฤทธิ์1
 

ประกาศมาตราน 58

  • 1. ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา --------------------------------------- ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา จานวน ๓ ฉบับ คือ ฉบับที่ ๑ ประกาศกฎกระทรวงด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ประกาศเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ฉบับที่ ๒ ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา ประกาศเมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ฉบับที่ ๓ ประกาศคณะกรรมการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ ภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๔ และ นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สองที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทย ในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล จึงปรับมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและการ มีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครองและประชาชน ในชุมชนให้เหมาะสมและ สอดคล้องกันเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับ การประเมินคุณภาพภายนอก โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูลจึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของโรงเรียนและมาตรฐาน การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ จานวน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้ ทั้งนี้ให้มีผลดาเนินการตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๘ ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ (นายจาเนียร ราษเจริญ) ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล (นางจันทรา หาญสุทธิชัย) ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล (นายฤทธา นันทพันธ์) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘
  • 2. การกาหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง การกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ................................................ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว บ่งชี้ คะแนน รวม ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ด้านคุณภาพผู้เรียน ๒๖ ๓๐ ระดับคุณภาพดีเยี่ยม มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะทีดีและมีสุนทรียภาพ ๖ ๕ ๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย สม่าเสมอ ๐.๕๐ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๐.๕๐ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑.๓ ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง ตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑.๔ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก อย่างเหมาะสม ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑.๖ สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี /นาฏศิลป์กีฬา/นันทนาการตามจินตนาการ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม ที่พึงประสงค์ ๔ ๕ ระดับคุณภาพดีเยี่ยม ๒.๑ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๒.๒ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๒.๓ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๒.๔ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในแสวงหาความรู้ด้วย ตนเองรักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ๔ ๕ ระดับดีมาก ๓.๑ มีนิสัยรักการอ่าน และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว ๒ ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๓.๒ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถา เพื่อค้นคว้าหาความรูเพิ่มเติม ๑ ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๓.๓ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อ การเรียนรู้ระหว่างกัน ๑ ร้อยละ๘๕ได้ระดับดีขึ้นไป ๓.๔ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน ๑ ร้อยละ๘๔ได้ระดับดีขึ้นไป
  • 3. มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว บ่งชี้ คะแนน รวม ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่าง เป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ๔ ๕ ระดับดีมาก ๔.๑ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสาร โดยการพูดหรือการเขียนตามความคิดของตนเอง ๒ ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๔.๒ นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการ ของตนเอง ๑ ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๔.๓ กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหา โดยมีเหตุผลประกอบ ๑ ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๔.๔ มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ ๑ ร้อยละ๘๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น ตามหลักสูตร ๔ ๕ ระดับดี ๕.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไป ตามเกณฑ์ ๒ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป ๕.๒ มีผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร เป็นไปตามเกณฑ์ ๑ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป ๕.๓ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นไปตามเกณฑ์ ๑ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป ๕.๔ ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ ๑ ร้อยละ๗๘ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการ ทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี ต่ออาชีพสุจริต ๔ ๕ ระดับดีเยี่ยม ๖.๑ วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๖.๒ ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจ ในผลงานของตนเอง ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๖.๓ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๖.๔ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้ เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
  • 4. มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว บ่งชี้ คะแนน รวม ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ๓๓ ๕๐ มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๙ ๑๐ ระดับดีมาก ๗.๑ ครูมีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๒ ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูล ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียน ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๓ ครูออกแบบและการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสิตปัญญา ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนา บริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการใน การจัดการเรียนรู้ ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๕ ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการ เรียนรู้ของนักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๖ ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความ เสมอภาค ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๗ ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ใน วิชาที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการสอน ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๘ ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็น สมาชิกที่ดีของสถานศึกษา ๑ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๗.๙ ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมาย เต็มเวลาเต็มความสามารถ ๑ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๖ ๑๐ ระดับดีเยี่ยม ๘.๑ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นาและความคิดริเริ่มที่ เน้นการพัฒนาผู้เรียน ๑ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๘.๒ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้ง ด้านวิชาการและการจัดการ ๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๘.๓ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุ เป้าหมายตามที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติกา ๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๘.๔ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ พร้อมรับการกระจายอานาจ ๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป
  • 5. มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน ตัวบ่งชี้ คะแนน รวม ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๘.๕ นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนพึงพอใจผลการ บริหารการจัดการศึกษา ๑ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๘.๖ ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและ เอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ๓ ระดับดีเยี่ยม ๙.๑ คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตาม ระเบียบกาหนด ๒ ๕ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๙.๒ คณะกรรมการสถานศึกษากากับ ติดตาม ดูแลและ ขับเคลื่อนการดาเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุ สาเร็จตามเป้าหมาย ๑ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๙.๓ ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา สถานศึกษา ๒ ร้อยละ๑๐๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการ เรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่าง รอบด้าน ๖ ระดับดีมาก ๑๐.๑ หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับ ท้องถิ่น ๒ ๑๐ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐.๒ จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือก เรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐.๓ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนอง ความต้องการ ความสามารถ ความถนัดและความ สนใจของผู้เรียน ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐.๔ สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ ได้ด้วยตนเอง ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐.๕ นิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบและนาผลไป ปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐.๖ จัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มี ประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและ การบริการที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ ๓ ๑๐ ระดับดีเยี่ยม ๑๑.๑ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาด และปลอดภัย มีสิ่งอานวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่ม รื่นและแหล่งเรียนรู้สาหรับผู้เรียน ๔ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
  • 6. มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวนตัว บ่งชี้ คะแนน รวม ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๑๑.๒ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและ ความปลอดภัยขอผู้เรียน ๓ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๑.๓ จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและ หรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๓ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ๖ ๕ ระดับดีเยี่ยม ๑๒.๑ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๒.๒ จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๒.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการ บริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๒.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาของสถาน ๐.๕๐ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๒.๕ นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก ไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง ๐.๕๐ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๒.๖ จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมิน คุณภาพภายใน ๑ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๒ ๑๐ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ ๒ ๑๐ ระดับดีเยี่ยม ๑๓.๑ มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายใน สถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของ สถานศึกษารวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ๕ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๓.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคลภายใน สถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ๕ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
  • 7. มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จานวน ตัวบ่งชี้ คะแนน รวม ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๒ ๕ มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม วิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นที่กาหนดขึ้น ๒ ๕ ระดับดีเยี่ยม ๑๔.๑ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพ แข็งแรง มีจิตสาธารณะ โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๓ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๔.๒ ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพ แข็งแรง มีจิตสาธารณะโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม ๕ มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้นแนว ทางการปฏิรูปการศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษา ให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น ๒ ระดับดีเยี่ยม ๑๕.๑ จัดโครงการ กิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ โดยการ นาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๕.๒ ผลการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพโดยนาเอาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาบรรลุตามเป้าหมาย ๒ ร้อยละ๙๐ได้ระดับดีขึ้นไป
  • 8. ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง การกาหนดอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………….. ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองโดยมีเป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยรวมทั้งการศึกษาไทยในอนาคต ไว้อย่างชัดเจน ประกอบกับประกาศ กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๑๔ (๑) ให้ โรงเรียนกาหนดมาตรฐานการศึกษา และข้อ ๑๕ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑) ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด และต้องครอบคลุมสาระการเรียนรู้และ กระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งคานึงถึงศักยภาพของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น อีกทั้ง ข้อ ๓๙ หมวด ๓ การประกัน คุณภาพภายนอก ว่าด้วยวิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็นไปตามระเบียบที่สานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษากาหนดนั้น ในการนี้การกาหนดอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จึงประกาศอัตลักษณ์โรงเรียนและเอกลักษณ์ โรงเรียน ดังนี้ อัตลักษณ์โรงเรียน “ใฝ่เรียนรู้ คู่จรรยา” เอกลักษณ์โรงเรียน “ยิ้มง่าย ไหว้สวย ช่วยอาสา” ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ (นายจาเนียร ราษเจริญ) ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล (นางจันทรา หาญสุทธิชัย) ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
  • 9. ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานระบบการประกันคุณภาพภายใน ................................................................. อาศัยอานาจตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙(๓)ให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มี ระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล จึงได้ประกาศ แต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการในคณะกรรมการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน ดังนี้ ๑. นางจันทรา หาญสุทธิชัย ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ ๒. นายจาเนียร ราษเจริญ ผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ ๓. นายเจษฎาภรณ์ วิเศษชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๔. นางวาทินี สมบัติวงค์ ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ ๕. นายสุทอน สมบัติวงค์ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ ๖. นายวิชัย แสงธรรม ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ ๗. นายพยนต์ ธรรมโหร รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการ ๘. นายสารวน เสมอภาค ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการ ๙. นางสาวปรีดาภรณ์ จันทร์สว่าง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการ ๑๐.นายปรีชา วงค์ภักดี ผู้ปกครองนักเรียน กรรมการ ๑๑.นางสาวปานตะวัน นามวงศ์ นักเรียน กรรมการ ๑๒.นายไพรวัลย์ หอมใจ นักเรียน กรรมการ ๑๓.นางดรุณี เสมอภาค ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ๑. วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการอย่างครบถ้วน ๒. กาหนดมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ๓. กาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จของทุกมาตรฐานและตัวบ่งชี้อย่างเหมาะสมโดยได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. จัดทาประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการประชาสัมพันธ์ให้ ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาได้รับทราบ
  • 10. ให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการดาเนินงานระบบการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นประโยชน์ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงว่าด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน ด้วยความ เอาใจใส่และคานึงถึงประโยชน์ของทางราชการและคุณภาพการศึกษาเป็นสาคัญ ทั้งนี้ให้มีผลดาเนินการตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๘ สั่ง ณ วันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ (นายจาเนียร ราษเจริญ) ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล ๒
  • 11. ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการภายนอกและภายในเพื่อการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา .......................................... การประเมินคุณภาพภายใน (Internal Quality Assessment) เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามนโยบายที่กาหนดในสถานศึกษา และ/ หรือหน่วยงานต้นสังกัด ต้องดาเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๖ ระบุไว้ว่า การจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ได้ระบุไว้ว่า ให้มี คณะกรรมการประเมินภายในอย่างน้อย ๓ คน ที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานต้นสังกัดขึ้น ทะเบียนไว้อย่างน้อย ๑ คน เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการประเมินคุณภาพภายในสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียน ห้วยทับทันวิทยาคมจึงแต่งตั้งบุคคลเป็นคณะกรรมการการประเมินคุณภาพภายใน ดังนี้ ๑. นายจาเนียร ราษเจริญ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๒. นายพยนต์ ธรรมโหร รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ ๓. นายสารวน เสมอภาค ครูวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการ ๔. นางสุนทราภรณ์ ธรรมวิเศษ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ ๕. นางดรุณี เสมอภาค ครูวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ๑. ศึกษาเอกสารรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ๒. จัดทากาหนดการตรวจเยี่ยมและประเมินร่วมกับคณะผู้ประเมิน ๓. กากับดูแลให้การประเมินเป็นไปตามแผนที่กาหนด ๔. ประสานงานกับผู้ประเมินให้การประเมินสัมพันธ์กันไม่ซ้าซ้อน ๕. สรุปผลการประเมินเป็นระยะๆ ๖. พิจารณาสรุปผลการประเมินรวบยอด ๗. แจ้งผลการประเมินอย่างไม่เป็นทางการด้วยวาจา พร้อมให้ข้อเสนอแนะและคาแนะนาให้การ ปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนางานแก่สถานศึกษา ๘. ดูแล กากับ และร่วมจัดทารายงานผลการประเมิน ๙. ส่งรายงานผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้อง ให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการการประเมินคุณภาพ โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล ปฏิบัติหน้าที่ให้ เป็นประโยชน์ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน ด้วยความเอาใจใส่และคานึงถึงประโยชน์ของทางราชการ และคุณภาพการศึกษาเป็นสาคัญ
  • 12. ทั้งนี้ให้มีผลดาเนินการตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๘ สั่ง ณ วันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ (นายจาเนียร ราษเจริญ) ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล ๒