SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
เรื่อง กาหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
--------------------------------------------------------------
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและประกันคุณภาพ การศึกษา
ทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป และสภาขับเคลื่อนการ
ปฏิรูปประเทศได้เสนอให้ชะลอการประเมินทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความ
เข้าใจและทราบแนวทางการปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ได้ดาเนินการปรับและพัฒนามาตรฐาน โดยสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ จุดเน้น ของการปฏิรูปการ
ศึกษาและสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแนวคิดว่ามาตรฐานที่กาหนดต้องสามารถพัฒนาผู้เรียน
ให้บรรลุได้ ประเมินได้ อย่างเป็นรูปธรรม กระชับ สามารถสะท้อนคุณภาพการศึกษาได้อย่างแท้จริง เน้น
การประเมินสภาพจริง ไม่ยุ่งยาก สร้างมาตรฐานระบบ การประเมินเพื่อลดภาระการจัดเก็บข้อมูลและลด
การจัดทาเอกสารที่ใช้ในการประเมิน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ ๑๑
ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ โดยท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ) ได้มี
การลงนามในประกาศกระทรวงศึกษาธิการไปแล้วนั้น มีจานวน ๔ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพ
ของ ผู้เรียน (๑.ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และ ๒.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน) มาตรฐาน
ที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียน
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล
ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับนี้ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับสถานศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ในการพัฒนา ส่งเสริม
สนับสนุน กากับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ ให้ใช้กับสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานทุกสังกัด
โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล จึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้นเป็นมาตรฐานการศึกษา
ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์โรงเรียน และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยให้สอดคล้องกันกับศักยภาพของนักเรียน ชุมชนและท้องถิ่น วัตถุประสงค์เพื่อ
ใช้ดาเนินงานและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกจานวน
๔ มาตรฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้
ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๙
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
(นายจิตตนาถ สิงห์โต)
ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
(นายเจษฎาพร วิเศษชาติ) (นายฤทธา นันทพันธ์)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
แนบท้ายประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง กาหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
______________________________________________
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจานวน ๔ มาตรฐาน
ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล
แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑) ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๔) ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๕) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ
๖) ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทางาน
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี
ของสังคม
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน
๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๑ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย และ
ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๒ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้
มาตรฐาน
๔. การกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม
๒. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผลการใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อ
ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
มาตรฐาน
กาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนา
คุณภาพของมาตรฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดีเยี่ยม
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเยี่ยม
๑) ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
ตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย ร้อยละ ๘๕ ได้ระดับดีขึ้นไป
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ร้อยละ ๘๕ ได้ระดับดีขึ้นไป
๔) ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
๕) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
๖) ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทางาน ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ดีเยี่ยม
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ดีเยี่ยม
๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน ระดับดีเยี่ยม
๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ระดับดีเยี่ยม
๒.๑ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของ ระดับดีเยี่ยม
ผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย และดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๒ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ
เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ระดับดีเยี่ยม
๒.๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็น
ระบบ
ระดับดีเยี่ยม
๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อ ระดับดีเยี่ยม
ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อ
ผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ระดับดีเยี่ยม
๔. การกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ระดับดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดีเยี่ยม
๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
๒. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล ดีเยี่ยม
การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดี
ยิ่งขึ้น
ระดับดีเยี่ยม
กำหนดค่ำเป้ำหมำยกำรพัฒนำคุณภำพของมำตรฐำน

More Related Content

Similar to ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล

ค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfchartthai
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfchartthai
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7pooming
 
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557Kongkrit Pimpa
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7klongnamkeaw
 
นโยบายขับเคลื่อนPptx
นโยบายขับเคลื่อนPptxนโยบายขับเคลื่อนPptx
นโยบายขับเคลื่อนPptxPhornpilart Wanich
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
Nfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานี
Nfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานีNfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานี
Nfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานีนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553Kasem S. Mcu
 

Similar to ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล (20)

Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
 
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
นโยบายขับเคลื่อนPptx
นโยบายขับเคลื่อนPptxนโยบายขับเคลื่อนPptx
นโยบายขับเคลื่อนPptx
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Nfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานี
Nfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานีNfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานี
Nfe standard3 ของ ครูจักราวุธ ๒๑ ก.พ.๕๖ กศน.อุดรธานี
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
Iqa manual2557
Iqa manual2557Iqa manual2557
Iqa manual2557
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
File1
File1File1
File1
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
 

More from kroodarunee samerpak

แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLCแบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLCkroodarunee samerpak
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงานแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงานkroodarunee samerpak
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AARแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AARkroodarunee samerpak
 
2.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ602.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ60kroodarunee samerpak
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60kroodarunee samerpak
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559kroodarunee samerpak
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258kroodarunee samerpak
 
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553kroodarunee samerpak
 
ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57kroodarunee samerpak
 
สถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียนสถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียนkroodarunee samerpak
 
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]kroodarunee samerpak
 

More from kroodarunee samerpak (18)

Student m.4 63
Student m.4 63Student m.4 63
Student m.4 63
 
Student m.1 63
Student m.1 63Student m.1 63
Student m.1 63
 
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLCแบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงานแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
 
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AARแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน.AAR
 
2.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ602.ปฏิทินวิชาการ60
2.ปฏิทินวิชาการ60
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258ปฏิทินปฏิบัติงาน258
ปฏิทินปฏิบัติงาน258
 
นำเสนอC&m2
นำเสนอC&m2นำเสนอC&m2
นำเสนอC&m2
 
ครูสอนดี
ครูสอนดีครูสอนดี
ครูสอนดี
 
ประวัติครู
ประวัติครูประวัติครู
ประวัติครู
 
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
รับรางวัลคุรุสดุดี ปี 2553
 
ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57ปฏิทินวิชาการ57
ปฏิทินวิชาการ57
 
สถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียนสถิติจำนวนักเรียน
สถิติจำนวนักเรียน
 
โอเน็ต2555
โอเน็ต2555โอเน็ต2555
โอเน็ต2555
 
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่  _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
สรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ _5_โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล[1]
 
ผลสัมฤทธิ์1
ผลสัมฤทธิ์1ผลสัมฤทธิ์1
ผลสัมฤทธิ์1
 

ประกาศมาตรฐานประกันคุณภาพโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล

  • 1. ประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง กาหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา -------------------------------------------------------------- ตามที่กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและประกันคุณภาพ การศึกษา ทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป และสภาขับเคลื่อนการ ปฏิรูปประเทศได้เสนอให้ชะลอการประเมินทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความ เข้าใจและทราบแนวทางการปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดาเนินการปรับและพัฒนามาตรฐาน โดยสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ จุดเน้น ของการปฏิรูปการ ศึกษาและสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแนวคิดว่ามาตรฐานที่กาหนดต้องสามารถพัฒนาผู้เรียน ให้บรรลุได้ ประเมินได้ อย่างเป็นรูปธรรม กระชับ สามารถสะท้อนคุณภาพการศึกษาได้อย่างแท้จริง เน้น การประเมินสภาพจริง ไม่ยุ่งยาก สร้างมาตรฐานระบบ การประเมินเพื่อลดภาระการจัดเก็บข้อมูลและลด การจัดทาเอกสารที่ใช้ในการประเมิน มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ โดยท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ) ได้มี การลงนามในประกาศกระทรวงศึกษาธิการไปแล้วนั้น มีจานวน ๔ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพ ของ ผู้เรียน (๑.ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และ ๒.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน) มาตรฐาน ที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับนี้ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กากับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ ให้ใช้กับสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานทุกสังกัด โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล จึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้นเป็นมาตรฐานการศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์โรงเรียน และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยให้สอดคล้องกันกับศักยภาพของนักเรียน ชุมชนและท้องถิ่น วัตถุประสงค์เพื่อ ใช้ดาเนินงานและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกจานวน ๔ มาตรฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๙ ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ (นายจิตตนาถ สิงห์โต) ผู้อานวยการโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล (นายเจษฎาพร วิเศษชาติ) (นายฤทธา นันทพันธ์) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘
  • 2. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศโรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล เรื่อง กาหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ______________________________________________ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจานวน ๔ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๔) ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ๕) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ ๖) ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทางาน ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี ของสังคม ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน ๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๒.๑ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย และ ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ๒.๒ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ๒.๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้ มาตรฐาน ๔. การกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ๒. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น ๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผลการใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
  • 3. มาตรฐาน กาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนา คุณภาพของมาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดีเยี่ยม ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเยี่ยม ๑) ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป ตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย ร้อยละ ๘๕ ได้ระดับดีขึ้นไป แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ร้อยละ ๘๕ ได้ระดับดีขึ้นไป ๔) ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป ๕) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป ๖) ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทางาน ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ดีเยี่ยม ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป ๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป ๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม ร้อยละ ๙๐ ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ดีเยี่ยม ๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน ระดับดีเยี่ยม ๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ระดับดีเยี่ยม ๒.๑ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของ ระดับดีเยี่ยม ผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย และดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ๒.๒ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ระดับดีเยี่ยม ๒.๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็น ระบบ ระดับดีเยี่ยม ๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อ ระดับดีเยี่ยม ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อ ผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ระดับดีเยี่ยม ๔. การกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ระดับดีเยี่ยม มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดีเยี่ยม ๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป ๒. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล ดีเยี่ยม การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดี ยิ่งขึ้น ระดับดีเยี่ยม กำหนดค่ำเป้ำหมำยกำรพัฒนำคุณภำพของมำตรฐำน