SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก  การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  ( พ . ศ .  ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓ ) และการรับรองมาตรฐานการศึกษา สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( องค์การมหาชน )
มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา เพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอก มาตรฐานการศึกษาชาติ
มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของคนไทยที่  พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมือง และพลโลก มาตรฐานที่ ๒ แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๓ แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ / สังคมแห่งความรู้
หลักการการศึกษานอกระบบ   การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจสำคัญที่มุ่งให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตตามมาตรฐานของสังคมซึ่งเป็นสิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับ นอกจากนั้นยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเนื่องจากการศึกษาพื้นฐานเพื่อนำความรู้ไปพัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมในที่สุด
หลักการการศึกษานอกระบบ   การจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษานอกระบบจึงยึดหลักการสำคัญ ๕ ประการ คือ หลักความเสมอภาคทางการศึกษา หลักการพัฒนาตนเองและพึ่งพาตนเอง หลักการบูรณาการการเรียนรู้และวิถีชีวิต หลักความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และหลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน ดังนี้
หลักการการศึกษานอกระบบ   ๑ .  หลักความเสมอภาคทางการศึกษา  กลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นผู้พลาดโอกาส และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ซึ่งอาจมีความแตกต่างทางด้านสถานภาพในสังคม อาชีพเศรษฐกิจ และข้อจำกัดต่างๆ ในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติ หากแต่สร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน
หลักการการศึกษานอกระบบ   ๒ .  หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเอง  การจัดการศึกษานอกระบบจะต้องจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตน สามารถเรียนรู้เกิดความสำนึกที่จะพัฒนาตนเองได้ เป็นคนคิดเป็น ปรับตัวเพื่อให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เรียนด้วยตนเอง พึ่งพาตนเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างเป็นปกติสุขท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม
หลักการการศึกษานอกระบบ   ๓ .  หลักการการบูรณาการการเรียนรู้กับวิถีชีวิต  หลักการนี้อยู่บนพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับสภาพปัญหา วิถีชีวิต  สภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียน ซึ่งเป็นหลักการที่สำคัญในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นลักษณะของการบูรณาการจึงมีความเหมาะ โดยบูรณาการสาระต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ และนำไปใช้ ตลอดจนการบูรณาการวิธีการจัดการเรียนการสอน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการคุณภาพชีวิตของผู้เรียนอย่างเป็นองค์รวม
หลักการการศึกษานอกระบบ   ๔ .  หลักความสอดคล้องกับปัญหาความต้องการและความถนัดของผู้เรียน  หลักการนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักความต้องการของตนเอง สามารถจัดการศึกษาให้กับตนเองได้อย่างเหมาะสม ครูการศึกษานอกโรงเรียนมีบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ วิธีการเรียน และการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งเป็นกระบวนการการศึกษานอกระบบที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
หลักการการศึกษานอกระบบ   ๕ .  หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน  การเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้เรียนนับว่ามีความสำคัญ เป็นการส่งเสริมและสร้างกัลยาณมิตรในกลุ่มผู้เรียน ก่อให้เกิดความร่วมมือ ความผูกพัน ความเอื้ออาทร การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปลูกฝังวินัยในตนเอง ฝึกความรับผิดชอบ ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรเกิดขึ้นสำหรับผู้เรียนที่มีวุฒิภาวะ สำหรับการมีส่วนร่วมของชุมชนก็นับว่าเป็นหลักการสำคัญในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ชุมชนสามารถเข้ามาร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การจัดสรรทรัพยากรทั้งด้านภูมิปัญญา วัสดุอุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนสนับสนุนในเรื่องอื่นๆ เพื่อผลิตผู้เรียนให้มีคุณภาพ และเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชนต่อไป
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐานการศึกษานอกโรงเรียน มี ๙ มาตรฐาน ๒๘ ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การประเมินคุณภาพ ภายนอก
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินที่ได้รับมอบหมายจาก สมศ .  เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น การประเมินภายนอก คืออะไร
หลักการสำคัญ ในการประเมินภายนอกมีอะไรบ้าง ๑ .  มุ่งพัฒนาคุณภาพไม่ได้จับผิดหรือลงโทษ ๒ .  ยึดหลักความยุติธรรมโปร่งใส ๓ .  มุ่งสร้างความสมดุล ระหว่างเสรีภาพทางการศึกษา  และหลักการศึกษาของชาติ ๔ .   มุ่งเน้นการประสานงาน มีลักษณะกัลยาณมิตร ๕ .  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก ,[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรฐาน และตัวบ่งชี้  เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก  การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย  ( พ . ศ .  ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓ ) ๕ มาตรฐาน  ๑๙ ตัวบ่งชี้
มาตรฐาน กศน . และอัธยาศัย ,[object Object],[object Object],๒ . การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นอกระบบ ๓ .  จัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาอาชีพและ ทักษะชีวิต ๔ .  การบริหารจัดการ ๕ .  การประกัน คุณภาพภายใน
มาตรฐานที่ ๑ ปรัชญา วัตถุประสงค์  กลยุทธ์และแผนการจัดการศึกษา ( ม . ๕ ประกันคุณภาพภายใน ) มี ๓  ตัวบ่งชี้ คือ ๑ . ๑  การกำหนดปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และแผนการ ดำเนินงาน  รวมทั้งมีการกำหนดตัวบ่งชี้จากผลสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนครบทุกพันธกิจ
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีข้อ ๓ และมีการติดตามตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานอย่างน้อย  ปีละ ๑ ครั้งและนำไปปรับปรุงกลยุทธ์และแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๔ มีข้อ ๒ และมีการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานประจำปีครบทุกพันธกิจ ๓ มีข้อ ๑ และ มีการพัฒนาคุณภาพ และแผนการดำเนินงานประจำปีให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  พร้อมมีการกำหนดตัวบ่งชี้ของการดำเนินงานและเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของการดำเนินงาน ๒ มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  เป็นลายลักษณ์อักษร ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
[object Object]
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีข้อ ๓ และมีการนำผลการประเมินไปปรับแผนการดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ในปีต่อไป ๔ มีข้อ ๒ และมีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามปรัชญาที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและนโยบายการศึกษานอกระบบของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายการศึกษาของจังหวัดพื้นที่  ๓ มีข้อ ๑ และมีการกำหนดแผนการดำเนินงาน รวมทั้งมีการดำเนินงานให้เป็นไปตามปรัชญาที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและนโยบายการศึกษานอกระบบของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายการศึกษาของจังหวัดพื้นที่ ๒ มีการกำหนดปรัชญาให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและนโยบายการศึกษานอกระบบของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายการศึกษาของจังหวัดพื้นที่ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
[object Object]
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   บรรลุเป้าหมาย ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๔ บรรลุเป้าหมาย ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๓ บรรลุเป้าหมาย ตั้งแต่ร้อยละ  ๕๐ - ๗๔ ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๒ บรรลุเป้าหมาย ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐  ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
มาตรฐานที่ ๒  การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ ( ม . ๑ ,  ๒ ,  ๓ ,  ๔ ,  ๖ และ ๘ ) ,[object Object]
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ๒ . ๑  ระดับคุณภาพของหลักสูตร มีข้อ ๓ และหลักสูตรที่เปิดสอนทุกระดับชั้นได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานทุกเรื่องและมีการประกันคุณภาพหลักสูตร ๔ มีข้อ ๒ และมีการบริหารหลักสูตร การประเมินหลักสูตรและการปรับปรุงหลักสูตร ๓ มีข้อ ๑ และมีการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปพัฒนาผู้เรียน ๒ มีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่บูรณาการสภาพปัญหา ความต้องการ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
๒ . ๒  ระดับคุณภาพของผู้สอน เกณฑ์การพิจารณา ๒ . ๒ . ๑  มีจำนวนครูที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพียงพอเหมาะสม ๒ . ๒ . ๒  ครูมีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณและจิตวิญญาณความเป็นครู ๒ . ๒ . ๓  ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและเพื่อนร่วมงาน ๒ . ๒ . ๔  ครูมีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน ๒ . ๒ . ๕  ครูมีแผนการสอนครบถ้วนตามรายวิชาที่สอน ๒ . ๒ . ๖  ครูที่จบระดับปริญญาตรีทางด้านการศึกษาขึ้นไป หรือได้รับการพัฒนาให้มีคุณวุฒิทางการศึกษา  ๒ . ๒ . ๗   ครูสอนตรงตามวุฒิหรือผ่านการอบรมในรายวิชาที่สอน  ( เฉพาะวิชาหลัก ) ๒ . ๒ . ๘  ครูได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนหรือวิชาครูไม่ต่ำกว่า ๒๐ ชั่วโมงต่อปี
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ทั้ง ๘  ข้อ ๔ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน  ๖ - ๗  ข้อ ๓ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๔ - ๕  ข้อ ๒ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๐ - ๓  ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะ แนน
๒ . ๓   ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนต่อกระบวนการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน  ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ๔ ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน  ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ๓ ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน  ตั้งแต่ร้อยละ  ๕๐ - ๗๔ ๒ ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน  ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
๒ . ๔ ระดับความสำเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เกณฑ์การพิจารณา ๒ . ๔ . ๑  ครูมีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายของการจัดการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ๒ . ๔ . ๒  ครูมีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล  ๒ . ๔ . ๓  ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ๒ . ๔ . ๔  ครูมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน  ๒ . ๔ . ๕  ครูมีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน ๒ . ๔ . ๖  ครูมีการนำผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ๒ . ๔ . ๗  ครูมีการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของผู้เรียนและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน  ๗  ข้อ ๔ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน  ๕ - ๖  ข้อ ๓ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๓ - ๔  ข้อ ๒ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๐ - ๒  ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
๒ . ๕ ระดับคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ผู้เรียนตั้งแต่ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป มีคะแนน  O-Net  >=  X  - 1 SD   ๔ ผู้เรียนตั้งแต่ร้อยละ ๖๕   -  ๘๙   มีคะแนน (O-Net)   สูงกว่า ขีดจำกัดล่างของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ  ( X -1 SD   )   ๓ ผู้เรียนตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ - ๖๔ มีคะแนน (O-Net)   สูงกว่า ขีดจำกัดล่างของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ  ( X -1 SD   )   ๒ ผู้เรียนต่ำกว่าร้อยละ ๕๐ มีคะแนน (O-Net)   สูงกว่า ขีดจำกัดล่างของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ  (  X  -1 SD   )   ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
๒ . ๖   ร้อยละของผู้เรียนที่จบตามเกณฑ์ เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ผู้เรียนตั้งแต่ ร้อยละ ๙๐  ขึ้นไป จบตามเกณฑ์ที่กำหนด   ๔ ผู้เรียนตั้งแต่ ร้อยละ ๖๕  -  ๘๙  จบตามเกณฑ์ที่กำหนด   ๓ ผู้เรียนตั้งแต่ ร้อยละ ๕๐ - ๖๔  จบตามเกณฑ์ที่กำหนด   ๒ ผู้เรียนต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐  จบตามเกณฑ์ที่กำหนด   ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
มาตรฐานที่  ๓ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ( ม . ๑ ,  ๒ ,  ๓ ,  ๔ ,  ๖ และ ๘ ) ,[object Object]
[object Object],เกณฑ์การพิจารณา ๓ . ๑ . ๑  หลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต สอดคล้องกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๓ . ๑ . ๒  หลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ตามแผนปฏิบัติงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ตรงความต้องการจำเป็น ๓ . ๑ . ๓  ประชาชนในพื้นที่ที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  รับผิดชอบมีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมและการให้บริการวิชาการและวิชาชีพ
[object Object],เกณฑ์การพิจารณา ( ต่อ ) ๓ . ๑ . ๔  ผู้เข้ารับการอบรมหรือเข้าร่วมกิจกรรมจากหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้พัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะอาชีพ และพัฒนาทักษะชีวิตของตนเองได้ ๓ . ๑ . ๕  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  มีการติดตามและประเมินผลหลักสูตรแล้วนำผลการประเมินไปปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๕ ข้อ ๔ ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๔ ข้อ ๓ ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๓ ข้อ ๒ ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
๓ . ๒  จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิตเทียบกับเป้าหมาย เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ของเป้าหมายทั้งปี ๔ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ของเป้าหมายทั้งปี ๓ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ตั้งแต่ร้อยละ  ๕๐ - ๗๔ ของเป้าหมายทั้งปี ๒ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ ของเป้าหมายทั้งปี ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
๓ . ๓  ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและ ทักษะชีวิต เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร  ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ๔ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร  ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ๓ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร  ตั้งแต่ร้อยละ  ๕๐ - ๗๔ ๒ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร  ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
[object Object],เกณฑ์การพิจารณา   ๓ . ๔ . ๑  มีการจัดทำข้อมูลพื้นฐานหรือทำเนียบเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาในท้องถิ่น เพื่อให้บริการความรู้แก่ประชาชนในท้องถิ่น  ๓ . ๔ . ๒  มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๓ . ๔ . ๓  มีแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมการให้ความรู้ และการให้บริการชุมชนที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ประชาชนในท้องถิ่น  ๓ . ๔ . ๔  มีการจัดกิจกรรมตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมการให้ความรู้ และการให้บริการชุมชนที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ประชาชนในท้องถิ่น
[object Object],เกณฑ์การพิจารณา   ( ต่อ ) ๓ . ๔ . ๕  มีการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถใช้ประโยชน์จากประสบการณ์ / กิจกรรมในชีวิตประจำวันพัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๓ . ๔ . ๖  มีการกำกับ ควบคุม ติดตามการดำเนินการให้เป็นไปตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมที่กำหนด ๓ . ๔ . ๗  มีการประเมินผลการดำเนินงานและการให้บริการและมีร่องรอยของการปรับปรุง / พัฒนา
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๗ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๕ - ๖ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๓ - ๔ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
มาตรฐานที่ ๔   การบริหารจัดการ ( ม .  ๕ ,  ๗ และ ๙ ) ,[object Object]
๔ . ๑  ระดับความสำเร็จของแผนพัฒนาบุคลากร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๕ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๔ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๓ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
[object Object],เกณฑ์การพิจารณา ๔ . ๒ . ๑  มีการวางแผนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบในการประกันคุณภาพ และพันธกิจทุกด้านของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๔ . ๒ . ๒  มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการตามแผนที่วางไว้ ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบ  ในการประกันคุณภาพ และพันธกิจทุกด้านของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต
[object Object],เกณฑ์การพิจารณา ( ต่อ ) ๔ . ๒ . ๓  มีการใช้ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๔ . ๒ . ๔  มีการติดตามและประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๔ . ๒ . ๕  มีการนำผลการติดตามและประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการไปปรับระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๕ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๔ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๓ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
๔ . ๓  ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีข้อ ๓ และมีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา  องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร  มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการดำเนินงาน ของการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๔ มีข้อ ๒ และมีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา  องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร  มีส่วนร่วมในการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานและนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๓ มีข้อ ๑ และ มีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา  องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร  มีส่วนร่วมดำเนินการ ตามแผนการดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๒ มีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา  องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร  มีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงาน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
[object Object],เกณฑ์การพิจารณา ๔ . ๔ . ๑  มีการใช้มาตรฐานของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเป้าหมายในการบริหารจัดการ ๔ . ๔ . ๒  มีการจัดทำนโยบายตามแผนการส่งเสริมและการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ . ๔ . ๓  มีระบบข้อมูล สารสนเทศ เพื่อการบริหารที่ถูกต้อง และครบถ้วนทันกับการใช้งาน ๔ . ๔ . ๔   มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล เปรียบเทียบกับเป้าหมายตามแผนอย่างต่อเนื่อง ๔ . ๔ . ๕  มีการนำข้อมูลและผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินใจและปรับปรุงงาน ๔ . ๔ . ๖  มีการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการ
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๖ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๕ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๓ - ๔ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา  ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
มาตรฐานที่ ๕  การประกันคุณภาพภายใน ( ม .  ๕ ) ,[object Object],[object Object]
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีข้อ ๓ และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต มีการประเมินระบบการประกันคุณภาพ โดยเฉพาะผลลัพธ์ของระบบประกันคุณภาพและมีการนำผลประเมินมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๔ มีข้อ ๒ และมีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยการพัฒนาคุณภาพ การติดตามตรวจสอบ และการประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี และมีการนำผลการติดตามและประเมินคุณภาพภายในมาพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานตามพันธกิจให้เกิดผลดี ๓ มีข้อ ๑ และ มีการกำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ที่สอดคล้องกับมาตรฐานของหน่วยงานหลักของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  และเจตนารมณ์ในการจัดตั้งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ครอบคลุมปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอย่างครบถ้วน ๒ มีระบบ กลไก และนโยบายในการประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสม ทั้งระดับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  และหน่วยงานหลักของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
[object Object]
เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้   มีข้อ ๓ และมีรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินตนเองที่สามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ๔ มีข้อ ๒ และมีการนำเสนอรายงานประเมินตนเอง และแผนพัฒนาคุณภาพที่คณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานหลักพิจารณาและอนุมัติแผนพัฒนาคุณภาพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติและรายงานผลให้ต้นสังกัดทราบเป็นระยะ ๓ มีข้อ ๑ และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  มีรายงานประจำปีที่สะท้อนผลการปฏิบัติงานตามพันธกิจ วิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม ๒ มีรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  และหน่วยงานหลักของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามระบบควบคุมภายในของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต  ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
การรับรองมาตรฐานของสถานศึกษาในภาพรวม   ,[object Object],[object Object],[object Object],สถานศึกษาในที่นี้  หมายถึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต
แนวทางในการเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก คือ  การประกันคุณภาพภายใน
เป้าหมาย   ใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบ  เป็นเป้าหมายใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา จะทำการประกันคุณภาพใน สถานศึกษาให้สำเร็จได้อย่างไร
การพัฒนาคุณภาพ (QC) การตรวจติดตามคุณภาพ (QAu) ,[object Object],[object Object],[object Object],การประกันคุณภาพ (QA) กระบวนการ ปรับปรุง  คุณภาพ กระบวนการพัฒนาสู่คุณภาพ กระบวนการ ตรวจสอบ คุณภาพ
พ . ร . บ .  การศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 ฉบับปรับปรุงแก้ไข พ . ศ .2545 มาตรา  51 :  บทบังคับสถานศึกษาที่ประเมินแล้ว ยังไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด  จะต้องปรับปรุงแก้ไขตามที่   สมศ .  เสนอแนะ มาตรา   50:  ให้สถานศึกษาให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ สถานศึกษา เพื่อประโยชน์ในการประเมิน คุณภาพภายนอกแก่ สมศ . มาตรา   49: ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา  มีฐานะเป็นองค์การมหาชน   มาตรา   48   :  1. ต้องจัดให้มีระบบ 2.  ต้องดำเนินการต่อเนื่องเป็นปกติ 3.  ต้องทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงาน ประเมินตนเอง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Quality  Control Quality Assurance  System ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Quality  Auditing
มาตรา ๔๗ หมวด ๖  ให้มีระบบประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพภายนอก  ( มาตรา ๔๙ ) การประกันคุณภาพภายใน  ( มาตรา ๔๘ ) ข้อมูลป้อนกลับ รายงานประจำปีที่เป็น การประเมินตนเอง การปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา การประเมินตนเอง ของสถานศึกษา การตรวจเยี่ยม การติดตามผล รายงานผล การประเมิน ข้อมูลป้อนกลับ สถานศึกษา สมศ .
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object],[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object],[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
คำแนะนำสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐาน  ( รอบที่สอง  :  พ . ศ . ๒๕๔๙  -  ๒๕๕๓ ) ,[object Object]
สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา 02-216-3955  ต่อ  150 ( ภารดี ),154( พรวลัย ) http://www.onesqa.or.th e-mail : info@onesqa.or.th

More Related Content

What's hot

46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้านPochchara Tiamwong
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานworapanthewaha
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาDuangnapa Inyayot
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อanuban bandek
 
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกามาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกาNattapon
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 

What's hot (19)

งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริงธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
 
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
 
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกามาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
 
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
คู่มือสภา
คู่มือสภาคู่มือสภา
คู่มือสภา
 

Viewers also liked

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupTiwawan
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542Suwanan Nonsrikham
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมBoonlert Aroonpiboon
 

Viewers also liked (9)

Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
Edu reform-draft
Edu reform-draftEdu reform-draft
Edu reform-draft
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

Similar to เกณฑ์มาตรฐานเพา1

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานคู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานBoonlert Sangdee
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 

Similar to เกณฑ์มาตรฐานเพา1 (20)

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
World class
World classWorld class
World class
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานคู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
T5
T5T5
T5
 
Paper1
Paper1Paper1
Paper1
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
File1
File1File1
File1
 
Herp 600302
Herp 600302Herp 600302
Herp 600302
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
4
44
4
 

เกณฑ์มาตรฐานเพา1

  • 1. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ( พ . ศ . ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓ ) และการรับรองมาตรฐานการศึกษา สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( องค์การมหาชน )
  • 2. มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา เพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอก มาตรฐานการศึกษาชาติ
  • 3. มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของคนไทยที่ พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมือง และพลโลก มาตรฐานที่ ๒ แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๓ แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ / สังคมแห่งความรู้
  • 4. หลักการการศึกษานอกระบบ การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจสำคัญที่มุ่งให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตตามมาตรฐานของสังคมซึ่งเป็นสิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับ นอกจากนั้นยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเนื่องจากการศึกษาพื้นฐานเพื่อนำความรู้ไปพัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมในที่สุด
  • 5. หลักการการศึกษานอกระบบ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษานอกระบบจึงยึดหลักการสำคัญ ๕ ประการ คือ หลักความเสมอภาคทางการศึกษา หลักการพัฒนาตนเองและพึ่งพาตนเอง หลักการบูรณาการการเรียนรู้และวิถีชีวิต หลักความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และหลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน ดังนี้
  • 6. หลักการการศึกษานอกระบบ ๑ . หลักความเสมอภาคทางการศึกษา กลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นผู้พลาดโอกาส และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ซึ่งอาจมีความแตกต่างทางด้านสถานภาพในสังคม อาชีพเศรษฐกิจ และข้อจำกัดต่างๆ ในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติ หากแต่สร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน
  • 7. หลักการการศึกษานอกระบบ ๒ . หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเอง การจัดการศึกษานอกระบบจะต้องจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตน สามารถเรียนรู้เกิดความสำนึกที่จะพัฒนาตนเองได้ เป็นคนคิดเป็น ปรับตัวเพื่อให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เรียนด้วยตนเอง พึ่งพาตนเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างเป็นปกติสุขท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม
  • 8. หลักการการศึกษานอกระบบ ๓ . หลักการการบูรณาการการเรียนรู้กับวิถีชีวิต หลักการนี้อยู่บนพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับสภาพปัญหา วิถีชีวิต สภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียน ซึ่งเป็นหลักการที่สำคัญในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สิ่งดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นลักษณะของการบูรณาการจึงมีความเหมาะ โดยบูรณาการสาระต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ และนำไปใช้ ตลอดจนการบูรณาการวิธีการจัดการเรียนการสอน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการคุณภาพชีวิตของผู้เรียนอย่างเป็นองค์รวม
  • 9. หลักการการศึกษานอกระบบ ๔ . หลักความสอดคล้องกับปัญหาความต้องการและความถนัดของผู้เรียน หลักการนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักความต้องการของตนเอง สามารถจัดการศึกษาให้กับตนเองได้อย่างเหมาะสม ครูการศึกษานอกโรงเรียนมีบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ วิธีการเรียน และการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งเป็นกระบวนการการศึกษานอกระบบที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  • 10. หลักการการศึกษานอกระบบ ๕ . หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน การเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้เรียนนับว่ามีความสำคัญ เป็นการส่งเสริมและสร้างกัลยาณมิตรในกลุ่มผู้เรียน ก่อให้เกิดความร่วมมือ ความผูกพัน ความเอื้ออาทร การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปลูกฝังวินัยในตนเอง ฝึกความรับผิดชอบ ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรเกิดขึ้นสำหรับผู้เรียนที่มีวุฒิภาวะ สำหรับการมีส่วนร่วมของชุมชนก็นับว่าเป็นหลักการสำคัญในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ชุมชนสามารถเข้ามาร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การจัดสรรทรัพยากรทั้งด้านภูมิปัญญา วัสดุอุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนสนับสนุนในเรื่องอื่นๆ เพื่อผลิตผู้เรียนให้มีคุณภาพ และเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชนต่อไป
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 24. การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินที่ได้รับมอบหมายจาก สมศ . เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น การประเมินภายนอก คืออะไร
  • 25. หลักการสำคัญ ในการประเมินภายนอกมีอะไรบ้าง ๑ . มุ่งพัฒนาคุณภาพไม่ได้จับผิดหรือลงโทษ ๒ . ยึดหลักความยุติธรรมโปร่งใส ๓ . มุ่งสร้างความสมดุล ระหว่างเสรีภาพทางการศึกษา และหลักการศึกษาของชาติ ๔ . มุ่งเน้นการประสานงาน มีลักษณะกัลยาณมิตร ๕ . ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย
  • 26.
  • 27. มาตรฐาน และตัวบ่งชี้ เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ( พ . ศ . ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓ ) ๕ มาตรฐาน ๑๙ ตัวบ่งชี้
  • 28.
  • 29. มาตรฐานที่ ๑ ปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนการจัดการศึกษา ( ม . ๕ ประกันคุณภาพภายใน ) มี ๓ ตัวบ่งชี้ คือ ๑ . ๑ การกำหนดปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และแผนการ ดำเนินงาน รวมทั้งมีการกำหนดตัวบ่งชี้จากผลสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนครบทุกพันธกิจ
  • 30. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีข้อ ๓ และมีการติดตามตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานอย่างน้อย ปีละ ๑ ครั้งและนำไปปรับปรุงกลยุทธ์และแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๔ มีข้อ ๒ และมีการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานประจำปีครบทุกพันธกิจ ๓ มีข้อ ๑ และ มีการพัฒนาคุณภาพ และแผนการดำเนินงานประจำปีให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต พร้อมมีการกำหนดตัวบ่งชี้ของการดำเนินงานและเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของการดำเนินงาน ๒ มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต เป็นลายลักษณ์อักษร ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 31.
  • 32. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีข้อ ๓ และมีการนำผลการประเมินไปปรับแผนการดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ในปีต่อไป ๔ มีข้อ ๒ และมีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามปรัชญาที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและนโยบายการศึกษานอกระบบของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายการศึกษาของจังหวัดพื้นที่ ๓ มีข้อ ๑ และมีการกำหนดแผนการดำเนินงาน รวมทั้งมีการดำเนินงานให้เป็นไปตามปรัชญาที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและนโยบายการศึกษานอกระบบของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายการศึกษาของจังหวัดพื้นที่ ๒ มีการกำหนดปรัชญาให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและนโยบายการศึกษานอกระบบของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายการศึกษาของจังหวัดพื้นที่ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 33.
  • 34. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ บรรลุเป้าหมาย ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๔ บรรลุเป้าหมาย ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๓ บรรลุเป้าหมาย ตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ - ๗๔ ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๒ บรรลุเป้าหมาย ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ ของตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 35.
  • 36. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ๒ . ๑ ระดับคุณภาพของหลักสูตร มีข้อ ๓ และหลักสูตรที่เปิดสอนทุกระดับชั้นได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานทุกเรื่องและมีการประกันคุณภาพหลักสูตร ๔ มีข้อ ๒ และมีการบริหารหลักสูตร การประเมินหลักสูตรและการปรับปรุงหลักสูตร ๓ มีข้อ ๑ และมีการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปพัฒนาผู้เรียน ๒ มีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่บูรณาการสภาพปัญหา ความต้องการ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 37. ๒ . ๒ ระดับคุณภาพของผู้สอน เกณฑ์การพิจารณา ๒ . ๒ . ๑ มีจำนวนครูที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพียงพอเหมาะสม ๒ . ๒ . ๒ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณและจิตวิญญาณความเป็นครู ๒ . ๒ . ๓ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและเพื่อนร่วมงาน ๒ . ๒ . ๔ ครูมีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน ๒ . ๒ . ๕ ครูมีแผนการสอนครบถ้วนตามรายวิชาที่สอน ๒ . ๒ . ๖ ครูที่จบระดับปริญญาตรีทางด้านการศึกษาขึ้นไป หรือได้รับการพัฒนาให้มีคุณวุฒิทางการศึกษา ๒ . ๒ . ๗ ครูสอนตรงตามวุฒิหรือผ่านการอบรมในรายวิชาที่สอน ( เฉพาะวิชาหลัก ) ๒ . ๒ . ๘ ครูได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนหรือวิชาครูไม่ต่ำกว่า ๒๐ ชั่วโมงต่อปี
  • 38. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ทั้ง ๘ ข้อ ๔ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๖ - ๗ ข้อ ๓ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๔ - ๕ ข้อ ๒ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๐ - ๓ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะ แนน
  • 39. ๒ . ๓ ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนต่อกระบวนการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ๔ ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ๓ ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน ตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ - ๗๔ ๒ ผู้เรียนพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปต่อการเรียนการสอน ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 40. ๒ . ๔ ระดับความสำเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เกณฑ์การพิจารณา ๒ . ๔ . ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายของการจัดการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒ . ๔ . ๒ ครูมีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๒ . ๔ . ๓ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๒ . ๔ . ๔ ครูมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน ๒ . ๔ . ๕ ครูมีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน ๒ . ๔ . ๖ ครูมีการนำผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ๒ . ๔ . ๗ ครูมีการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของผู้เรียนและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน
  • 41. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๗ ข้อ ๔ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๕ - ๖ ข้อ ๓ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๓ - ๔ ข้อ ๒ ครูมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา จำนวน ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 42. ๒ . ๕ ระดับคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ผู้เรียนตั้งแต่ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป มีคะแนน O-Net >= X - 1 SD ๔ ผู้เรียนตั้งแต่ร้อยละ ๖๕ - ๘๙ มีคะแนน (O-Net) สูงกว่า ขีดจำกัดล่างของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ ( X -1 SD ) ๓ ผู้เรียนตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ - ๖๔ มีคะแนน (O-Net) สูงกว่า ขีดจำกัดล่างของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ ( X -1 SD ) ๒ ผู้เรียนต่ำกว่าร้อยละ ๕๐ มีคะแนน (O-Net) สูงกว่า ขีดจำกัดล่างของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ ( X -1 SD ) ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 43. ๒ . ๖ ร้อยละของผู้เรียนที่จบตามเกณฑ์ เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ผู้เรียนตั้งแต่ ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป จบตามเกณฑ์ที่กำหนด ๔ ผู้เรียนตั้งแต่ ร้อยละ ๖๕ - ๘๙ จบตามเกณฑ์ที่กำหนด ๓ ผู้เรียนตั้งแต่ ร้อยละ ๕๐ - ๖๔ จบตามเกณฑ์ที่กำหนด ๒ ผู้เรียนต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ จบตามเกณฑ์ที่กำหนด ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๕ ข้อ ๔ ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๔ ข้อ ๓ ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๓ ข้อ ๒ ทุกหลักสูตรมีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 48. ๓ . ๒ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิตเทียบกับเป้าหมาย เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ของเป้าหมายทั้งปี ๔ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ของเป้าหมายทั้งปี ๓ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ - ๗๔ ของเป้าหมายทั้งปี ๒ จำนวนผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ ของเป้าหมายทั้งปี ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 49. ๓ . ๓ ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและ ทักษะชีวิต เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป ๔ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร ตั้งแต่ร้อยละ ๗๕ - ๘๙ ๓ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร ตั้งแต่ร้อยละ ๕๐ - ๗๔ ๒ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับดีขึ้นไปทุกหลักสูตร ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 50.
  • 51.
  • 52. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๗ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๕ - ๖ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๓ - ๔ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 53.
  • 54.
  • 55. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๕ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๔ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๓ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 56.
  • 57.
  • 58. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๕ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๔ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๓ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 59. ๔ . ๓ ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีข้อ ๓ และมีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการดำเนินงาน ของการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๔ มีข้อ ๒ และมีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร มีส่วนร่วมในการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานและนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๓ มีข้อ ๑ และ มีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร มีส่วนร่วมดำเนินการ ตามแผนการดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๒ มีการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากร มีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงาน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 60.
  • 61. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๖ ข้อ ๔ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๕ ข้อ ๓ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๓ - ๔ ข้อ ๒ มีคุณลักษณะตามเกณฑ์การพิจารณา ๐ - ๒ ข้อ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 62.
  • 63. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีข้อ ๓ และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต มีการประเมินระบบการประกันคุณภาพ โดยเฉพาะผลลัพธ์ของระบบประกันคุณภาพและมีการนำผลประเมินมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๔ มีข้อ ๒ และมีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยการพัฒนาคุณภาพ การติดตามตรวจสอบ และการประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี และมีการนำผลการติดตามและประเมินคุณภาพภายในมาพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานตามพันธกิจให้เกิดผลดี ๓ มีข้อ ๑ และ มีการกำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ที่สอดคล้องกับมาตรฐานของหน่วยงานหลักของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต และเจตนารมณ์ในการจัดตั้งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ครอบคลุมปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอย่างครบถ้วน ๒ มีระบบ กลไก และนโยบายในการประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสม ทั้งระดับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต และหน่วยงานหลักของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 64.
  • 65. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งชี้ มีข้อ ๓ และมีรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินตนเองที่สามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ๔ มีข้อ ๒ และมีการนำเสนอรายงานประเมินตนเอง และแผนพัฒนาคุณภาพที่คณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานหลักพิจารณาและอนุมัติแผนพัฒนาคุณภาพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติและรายงานผลให้ต้นสังกัดทราบเป็นระยะ ๓ มีข้อ ๑ และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต มีรายงานประจำปีที่สะท้อนผลการปฏิบัติงานตามพันธกิจ วิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม ๒ มีรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต และหน่วยงานหลักของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามระบบควบคุมภายในของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ / เขต ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
  • 66.
  • 68. เป้าหมาย ใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบ เป็นเป้าหมายใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา จะทำการประกันคุณภาพใน สถานศึกษาให้สำเร็จได้อย่างไร
  • 69.
  • 70.
  • 71. มาตรา ๔๗ หมวด ๖ ให้มีระบบประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพภายนอก ( มาตรา ๔๙ ) การประกันคุณภาพภายใน ( มาตรา ๔๘ ) ข้อมูลป้อนกลับ รายงานประจำปีที่เป็น การประเมินตนเอง การปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา การประเมินตนเอง ของสถานศึกษา การตรวจเยี่ยม การติดตามผล รายงานผล การประเมิน ข้อมูลป้อนกลับ สถานศึกษา สมศ .
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82.
  • 83. สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา 02-216-3955 ต่อ 150 ( ภารดี ),154( พรวลัย ) http://www.onesqa.or.th e-mail : info@onesqa.or.th