SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
การพัฒนาการคิดโดยใช้ Mind mapping
แผนทีความคิด (Mind Map) เป็นการนําเอาทฤษฎีทีเกียวกับสมองไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
การเขียนแผนทีความคิด (MIND MAP) นั7น เกิดจากการใช้ทักษะทั7งหมดของสมองหรือเป็นการทํางานร่วมกันของ
สมองทั7ง 2 ซีก คือสองซีกซ้ายและซีกขวา ซึงสมองซีกซ้ายจะทําหน้าทีในการวิเคราะห์ คํา ภาษา สัญลักษณ์ ระบบ
ลําดับ ความเป็นเหตุผล ตรรกวิทยา ส่วนสมองซีกขวาจะทําหน้าทีสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ จินตนาการ ความงาม
ศิลปะ จังหวะโดยมีแถบเส้นประสาทคอร์ปัสคอโลซัมเป็นเสมือนสะพานเชือม
แผนทีความคิด (Mind Mapping) ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรืองใดเรืองหนึงระหว่างความคิด
หลัก ความคิดรองและความคิดย่อยทีเกียวข้องสัมพันธ์กัน
Mind Map เป็นการถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ทีมีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น
และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมทีเป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดียวกันมันก็ช่วยเป็นสือนําข้อมูล
จากภายนอก เช่น หนังสือ คําบรรยาย การประชุม ส่งเข้าสมองให้เก็บรักษาไว้ได้ดีกว่าเดิม ซํ7ายังช่วยให้เกิดความคิด
สร้างสรรค์ได้ง่ายเข้า เนืองจะเห็นเป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชือมโยงต่อข้อมูลหรือ ความคิดต่าง ๆ
เข้าหากันได้ง่ายกว่า
แผนทีความคิด เป็นวิธีการบันทึกความคิดเพือให้เห็นภาพของความคิดทีหลากหลายมุมมอง ทีกว้าง และที
ชัดเจน โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆทั7งสิ7น เป็นการเขียนตามความคิด ทีเกิดขึ7นขณะนั7น การเขียนมี
ลักษณะเหมือนต้นไม้แตกกิงก้าน สาขาออกไปเรือยๆ ทําให้สมองได้คิดได้ทํางานตามธรรมชาติอย่างและมีการ
จินตนาการกว้างไกล
ตัวอย่างแผนที"ความคิด
2
ความสําคัญของแผนที"ความคิด (Mind Mapping)
ความสําคัญของการทํา Mind Mapping : ควรให้ความสําคัญ ดังนี7
1) ประเด็น /ความคิดสําคัญทีอยู่กลางภาพ ควรใช้ภาพทีสือความหมาย และชัดเจนสวยงาม เพือเป็นการดึงดูด
ความสนใจ และสามารถค้นหาได้ง่ายกว่าการใช้ตัวอักษร เมือเก็บรวบรวมไว้ด้วยกัน
2) การแตกแขนง ควรจัดลําดับความสําคัญของข้อความในแต่ละกิงทีแตกออกจากจุดกึงกลาง จากมากไปหาน้อย
และถ้ามีความสําคัญในระดับใกล้เคียงกัน จะแตกออกจากจุดเดียวกัน
3) การใช้ถ้อยคํา ใช้ถ้อยคําทีกระชับ ง่าย และสือความหมายชัดเจน
4) การผสมผสานเชือมโยง ระหว่างข้อความในแต่ละกิงย่อย และกิงใหญ่เพือให้เกิดความคิดรวบยอดทีสอดคล้อง
กับภาพตรงกลาง
5) เป็นเทคนิคทีเหมาะสําหรับคนขี7เกียจเขียน และเป็นการบริหารสมองทั7ง 2 ซีก
ตัวอย่างแผนที"ความคิด
แนวคิดเกี"ยวกับแผนที"ความคิด (Mind Mapping)
แผนทีความคิด (Mind Mapping) เป็นเครืองมือสําคัญทีครูผู้สอนนิยมใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่วนใหญ่ใช้
ในการระดมสมองขณะทํากิจกรรมกลุ่มของผู้เรียน และในการสรุปบทเรียนทั7งรายกลุ่มและรายบุคคล เนืองจากเกิด
ความสนุกสนานแก่ผู้เรียนในการเขียนสิงทีตนเรียนรู้อย่างอิสระ มีการจัดกลุ่มและเรียงลําดับความสําคัญผ่านเส้น
แขนงต่าง ๆ จากจุดกึงกลางเพือให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความคิดรวบยอดย่อยๆ และความคิดรวมทั7งหมดใน
กระดาษเพียงแผ่นเดียวนอกจากนี7 Mind Mapping ยังสามารถนํามาใช้ในการวางแผนงาน ทั7งของครู และการทํา
โครงงานของนักเรียน หรือการเตรียมงาน เช่น การเตรียมการสอนของครู การวางแผนเพือเขียนเรียงความของ
นักเรียน เอกสารฉบับนี7จึงขอนําเสนอเทคนิคการทํา Mind Mapping ในการจับประเด็น / หัวข้อย่อยต่างๆ โดยการ
3
ทดลองทําในแผ่นแรกให้ครอบคลุมทั7งหมดก่อน แล้วจึงนํามาจัดระเบียบความคิดใหม่ในแผ่นที 2 ซึงจะทําให้ Mind
Mapping ทีได้มีความกระชับ น่าสนใจ และครอบคลุมตรงตามหัวข้อหลักทีนําเสนอ
หลักการเขียน Mind Map
การเขียน Mind Map ใช้กระดาษแผ่นเดียว การเขียนใช้สีสันหลากหลาย ใช้โครงสร้างตามธรรมชาติทีแผ่กระจาย
ออกมาจุดศูนย์กลาง ใช้เส้นโยง มีเครืองหมาย สัญลักษณ์ และรูปภาพทีผสมผสานร่วมกันอย่างเรียบง่าย สอดคล้อง
กับการทํางานตามธรรมชาติของสมอง
วิธีการเขียน Mind Map
1. เตรียมกระดาษเปล่าทีไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน
2. วาดภาพสีหรือเขียนคําหรือข้อความทีสือหรือแสดงถึงเรืองจะทํา Mind Map กลางหน้ากระดาษ โดยใช้สี
อย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต
3. คิดถึงหัวเรืองสําคัญทีเป็นส่วนประกอบของเรืองทีทํา Mind Map โดยให้เขียนเป็นคํา ทีมีลักษณะเป็น
หน่วย หรือเป็นคําสําคัญ (Key Word) สั7น ๆ ทีมีความหมาย บนเส้น ซึงเส้นแต่ละเส้นจะต้องแตกออกมาจาก
ศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิง
4. แตกความคิดของหัวเรืองสําคัญแต่ละเรืองในข้อ 3 ออกเป็นกิง ๆ หลายกิง โดยเขียนคําหรือวลีบนเส้นที
แตกออกไป ลักษณะของกิงควรเอนไม่เกิน 60 องศา
5. แตกความคิดรองลงไปทีเป็นส่วนประกอบของแต่ละกิง ในข้อ 4 โดยเขียนคําหรือวลีเส้นทีแตกออกไป
ซึงสามารถแตกความคิดออกไปเรือยๆ
4
6. การเขียนคํา ควรเขียนด้วยคําทีเป็นคําสําคัญ (Key Word) หรือคําหลัก หรือเป็นวลีทีมีความหมายชัดเจน
7. คํา วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดทีต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทําให้เด่น เช่น การล้อมกรอบหรือใส่กล่อง
เป็นต้น
8. ตกแต่ง Mind Map ทีเขียนด้วยความสนุกสนานทั7งภาพและแนวคิดทีเชือมโยงต่อกัน
กระบวนการของแผนที"ความคิด (Mind Mapping)
ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรืองใดเรืองหนึงระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อย
ทีเกียวข้องสัมพันธ์กัน” ผังความคิด (Mind Map) ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรืองใดเรืองหนึงระหว่าง
ความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยทีเกียวข้องสัมพันธ์กัน ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือ
นําประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลัก แล้วต่อด้วยประเด็นรองในชั7นถัดไป
Mind Map® จะช่วยให้การจัดหมวดหมู่ความคิด รวมทั7งการเชือมโยงประเด็นสําคัญๆ ซึงจะช่วยให้การจัด
กระบวนการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้ าหมายทีตั7งไว้ได้
ขั0นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้
ขั0นตอนที" 1 ประเมินปัญหาความต้องการของผู้เข้าร่วม (Need Assesment)
ขั0นตอนที" 2 กําหนดวัตถุประสงค์ (Objectives define)
ขั0นตอนที" 3 เลือกกําหนดเนื7อหาและจัดลําดับเนื7อหา (Content and Priority setting)
5
ขั0นตอนที" 4 เลือกวิธีการในการจัดการเรียนรู้ (Technique selection)
ขั0นตอนที" 5 จัดทําโครงการจัดการเรียนรู้ (Project setting)
ขั0นตอนที" 6 การออกแบบจัดทําหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู้ (course outline for PLP)
ขั0นตอนที" 7 จัดกระบวนการเรียนรู้ (PLP-conduct)
ขั0นตอนที" 8-9 ประเมินผลและติดตามสนับสนุน (Evaluation and Monitoring)
จากขั7นตอนทั7ง 9 ขั7นตอน เพือให้เป็นภาพรวมทีเข้าใจกันง่ายขึ7นเราสามารถสรุปเป็นแผนทีความคิด
(Mind Map ) ทีสวยงาม ได้ดังภาพ ซึงเป็นการแตกแขนง และแยกรายละเอียดให้ลึกมากขึ7น
รายละเอียดเกี"ยวกับแผนที"ความคิด (Mind Mapping)
รายละเอียดเกียวกับแผนทีความคิด (Mind Map® ) โดยลักษณะสําคัญด้วยกัน มี 4 ประการ ดังนี7
1.หัวเรืองทีเป็นข้อใหญ่ใจความได้รับการกลันกรองจนตกผลึกเป็นภาพ “ แก่นแกน ” ตรงกลาง
2.ประเด็นสําคัญกระจายเป็นรัศมีออกมาเป็น “ ก้าน” หรือ กิงแก้ว แตกแขนงออกจาก “ แก่นแกน ”
3. กิงทีแตกแขนงออกมาแต่ละกิงรองรับ คําไข/ภาพ โดยมีเส้นเชือมเป็นรายละเอียดออกมารอบๆ
4. กิงก้านต่างๆต้องเชือมต่อยึดโยงกันดุจกิงไม้หรือรากไม้
Mind Map® เป็นเพียงส่วนหนึงของเครืองมือในการบันทึกข้อมูลและความคิดเป็นภาพ ซึงเครืองมือ
นําเสนอด้วยภาพ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่
- ดาว / ใยแมงมุม / เครือข่าย = เหมาะสําหรับการอธิบาย คําจํากัดความ คุณสมบัติ คุณลักษณะ
- แผนภูมิ / ตาราง / แถวอันดับ = เหมาะสําหรับแสดงคุณสมบัติ คุณลักษณะเปรียบเทียบ
การประเมิน
- ต้นไม้/ แผนที = เหมาะสําหรับการ จําแนก ตารางชาติตระกูล สายพันธ์
- ลูกโซ่ = เหมาะสําหรับกระบวนการเหตุและผล ทีมาทีไป ลําดับเหตุการณ์ในอดีต
- ภาพร่าง = เหมาะสําหรับโครงสร้างทางกายภาพ ทําเลทีตั7ง สถานที รูปลักษณ์
วิธีการนําเข้าสู่การเรียนรู้ทักษะการเรียน Mind Map®
คือพยายามเชือมโยงความคิดรวบยอดหรือกระบวนทัศน์ของการเรียน Mind Map® กับ
ประสบการณ์ ตรงในเรืองแผนทีของผู้เรียนเอง จากนั7นเริมนําเข้าสู่ประเด็นต่างๆดังต่อไปนี7
- การคัดเลือกข้อมูล
- คํากุญแจ/ประเด็นหลัก/สัญลักษณ์
6
- การจัดระบบเชิงภาพ
- ประโยชน์ใช้สอยของแผนที
- ลงมือเขียนแผนที
ขั0นตอนในการเขียน Mind Map® 7 ขั0นตอน
1.วางกระดาษเปล่าตามแนวนอน เริมจากกลางหน้ากระดาษ เพราะมันจะช่วยให้มีอิสระในการคิดแผ่ขยาย
ได้ตามธรรมชาติ
2.ใช้รูปภาพ หรือสัญลักษณ์แทนประเด็นหลัก ทีศูนย์กลางซึงเรียกว่า “แก่นแกน”
3.ใช้สีสันให้ทัวทั7งแผ่น
4.เชืองโยง “กิงแก้ว” เข้ากับ “แก่นแกน” ทีอยู่ตรงกลาง และเชือม “กิงแก้ว” ออกไปเป็นขั7นที 2 และ 3
5.วาดกิงทีมีสัญลักษณ์เป็นเส้นโค้ง
6.ใช้คํามูล เพียงคําเดียวบนแต่ละกิง
7.ใช้รูปภาพ ประกอบให้ทัวทั7งแผ่น Mind Map® เพราะภาพแทนคําได้เท่ากับคําพันคํา
ข้อแนะนําในการทํา Mind Map®
1. แก่นแกน ควรมีขนาดพอเหมาะไม่ใหญ่ หรือ เล็กเกินไป
2. ห้ามล้อมแก่นแกน
3. เส้นของกิงแก้วต้องโยงเชือมต่อกับแก่นแกนเสมอ
4. คํายิงสั7นยิงดี ควรเป็นคํามูล
5. เส้นต้องมีความยาวสัมพันธ์กับคําหรือภาพ
6. กิงก้อยทีแตกแขนงออกมากิงแก้วควรมีสีเดียวกันทั7งแขนง
7. ต้องแตกกิง ณ จุดสุดท้ายของเส้นเสมอ
8. อย่าเขียนกลับหัวตัวอักษร/อย่าหมุนกระดาษ
9. ไม่ควรใช้วลีหรือประโยค
10. เส้นต้องเชืองโยงกัน อย่าเขียนเส้นให้ขาดหรือแหว่ง
11. ห้ามล้อมวงกลมทีคําหรือภาพ
12. ห้ามเขียนคํา/ภาพปิดท้ายเส้น
13. ห้ามเขียนคํา/ภาพทั7งบนและใต้กิงเดียวกัน
7
การนํา Mind Map® มาใช้ในการเรียนการสอน
Mind Map® ช่วยให้การเรียนการสอนง่ายและสนุกสนานได้หลายวิธี เช่น
1.ใช้เตรียมการสอน เพราะจะทําให้สามารถสอนแบบธรรมชาติและเป็นระบบ
2.วางแผนรายปี ช่วยให้ครูเห็นแผนการสอนตอลดทั7งปีการศึกษา
3.วางแผนรายภาคเรียน ช่วยให้ครูรู้ว่าภาคนี7จะสอนอะไรบ้าง
4.วางแผนรายวัน ลงรายละเอียดทบทวนบทเรียนเดิมทีจะสอนนักเรียน
5.การสอน เป็นการใช้ขณะสอนนักเรียนในชั7นเรียน
6.การสอบของนักเรียน เป็นการวัดความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจของนักเรียนได้ดี
7.โครงการ/โครงงาน ใช้ทํากิจกรรม หรือ นิทรรศการ หรือ วางแผนงาน
ตัวอย่างแผนที"ความคิด

More Related Content

What's hot

การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมMickey Toon Luffy
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
การนำเสนองาน
การนำเสนองานการนำเสนองาน
การนำเสนองานguest0d05a5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 

What's hot (6)

การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
 
Mind Manager
Mind ManagerMind Manager
Mind Manager
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
การนำเสนองาน
การนำเสนองานการนำเสนองาน
การนำเสนองาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 

Viewers also liked

เรียนรู้การเขียน Mind mapping
เรียนรู้การเขียน Mind mappingเรียนรู้การเขียน Mind mapping
เรียนรู้การเขียน Mind mappingAun Wny
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer Tasanee Nunark
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 
Project planning and Scheduling
Project planning and SchedulingProject planning and Scheduling
Project planning and Schedulingsaurabmi2
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001peter dontoom
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
ความเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการความเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการyingsinee
 

Viewers also liked (19)

เรียนรู้การเขียน Mind mapping
เรียนรู้การเขียน Mind mappingเรียนรู้การเขียน Mind mapping
เรียนรู้การเขียน Mind mapping
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
Project planning and Scheduling
Project planning and SchedulingProject planning and Scheduling
Project planning and Scheduling
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
Project Planning Scheduling
Project Planning SchedulingProject Planning Scheduling
Project Planning Scheduling
 
ความเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการความเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการ
 

Similar to Mind map (1)

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์BKc BiGgy
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศchaimate
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันParishat Tanteng
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 

Similar to Mind map (1) (20)

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
บทท 8
บทท   8บทท   8
บทท 8
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
Analytical thinking2
Analytical thinking2Analytical thinking2
Analytical thinking2
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ai
AiAi
Ai
 
Ai
AiAi
Ai
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 

Mind map (1)

  • 1. 1 การพัฒนาการคิดโดยใช้ Mind mapping แผนทีความคิด (Mind Map) เป็นการนําเอาทฤษฎีทีเกียวกับสมองไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด การเขียนแผนทีความคิด (MIND MAP) นั7น เกิดจากการใช้ทักษะทั7งหมดของสมองหรือเป็นการทํางานร่วมกันของ สมองทั7ง 2 ซีก คือสองซีกซ้ายและซีกขวา ซึงสมองซีกซ้ายจะทําหน้าทีในการวิเคราะห์ คํา ภาษา สัญลักษณ์ ระบบ ลําดับ ความเป็นเหตุผล ตรรกวิทยา ส่วนสมองซีกขวาจะทําหน้าทีสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ จินตนาการ ความงาม ศิลปะ จังหวะโดยมีแถบเส้นประสาทคอร์ปัสคอโลซัมเป็นเสมือนสะพานเชือม แผนทีความคิด (Mind Mapping) ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรืองใดเรืองหนึงระหว่างความคิด หลัก ความคิดรองและความคิดย่อยทีเกียวข้องสัมพันธ์กัน Mind Map เป็นการถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ทีมีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมทีเป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดียวกันมันก็ช่วยเป็นสือนําข้อมูล จากภายนอก เช่น หนังสือ คําบรรยาย การประชุม ส่งเข้าสมองให้เก็บรักษาไว้ได้ดีกว่าเดิม ซํ7ายังช่วยให้เกิดความคิด สร้างสรรค์ได้ง่ายเข้า เนืองจะเห็นเป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชือมโยงต่อข้อมูลหรือ ความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า แผนทีความคิด เป็นวิธีการบันทึกความคิดเพือให้เห็นภาพของความคิดทีหลากหลายมุมมอง ทีกว้าง และที ชัดเจน โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆทั7งสิ7น เป็นการเขียนตามความคิด ทีเกิดขึ7นขณะนั7น การเขียนมี ลักษณะเหมือนต้นไม้แตกกิงก้าน สาขาออกไปเรือยๆ ทําให้สมองได้คิดได้ทํางานตามธรรมชาติอย่างและมีการ จินตนาการกว้างไกล ตัวอย่างแผนที"ความคิด
  • 2. 2 ความสําคัญของแผนที"ความคิด (Mind Mapping) ความสําคัญของการทํา Mind Mapping : ควรให้ความสําคัญ ดังนี7 1) ประเด็น /ความคิดสําคัญทีอยู่กลางภาพ ควรใช้ภาพทีสือความหมาย และชัดเจนสวยงาม เพือเป็นการดึงดูด ความสนใจ และสามารถค้นหาได้ง่ายกว่าการใช้ตัวอักษร เมือเก็บรวบรวมไว้ด้วยกัน 2) การแตกแขนง ควรจัดลําดับความสําคัญของข้อความในแต่ละกิงทีแตกออกจากจุดกึงกลาง จากมากไปหาน้อย และถ้ามีความสําคัญในระดับใกล้เคียงกัน จะแตกออกจากจุดเดียวกัน 3) การใช้ถ้อยคํา ใช้ถ้อยคําทีกระชับ ง่าย และสือความหมายชัดเจน 4) การผสมผสานเชือมโยง ระหว่างข้อความในแต่ละกิงย่อย และกิงใหญ่เพือให้เกิดความคิดรวบยอดทีสอดคล้อง กับภาพตรงกลาง 5) เป็นเทคนิคทีเหมาะสําหรับคนขี7เกียจเขียน และเป็นการบริหารสมองทั7ง 2 ซีก ตัวอย่างแผนที"ความคิด แนวคิดเกี"ยวกับแผนที"ความคิด (Mind Mapping) แผนทีความคิด (Mind Mapping) เป็นเครืองมือสําคัญทีครูผู้สอนนิยมใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่วนใหญ่ใช้ ในการระดมสมองขณะทํากิจกรรมกลุ่มของผู้เรียน และในการสรุปบทเรียนทั7งรายกลุ่มและรายบุคคล เนืองจากเกิด ความสนุกสนานแก่ผู้เรียนในการเขียนสิงทีตนเรียนรู้อย่างอิสระ มีการจัดกลุ่มและเรียงลําดับความสําคัญผ่านเส้น แขนงต่าง ๆ จากจุดกึงกลางเพือให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความคิดรวบยอดย่อยๆ และความคิดรวมทั7งหมดใน กระดาษเพียงแผ่นเดียวนอกจากนี7 Mind Mapping ยังสามารถนํามาใช้ในการวางแผนงาน ทั7งของครู และการทํา โครงงานของนักเรียน หรือการเตรียมงาน เช่น การเตรียมการสอนของครู การวางแผนเพือเขียนเรียงความของ นักเรียน เอกสารฉบับนี7จึงขอนําเสนอเทคนิคการทํา Mind Mapping ในการจับประเด็น / หัวข้อย่อยต่างๆ โดยการ
  • 3. 3 ทดลองทําในแผ่นแรกให้ครอบคลุมทั7งหมดก่อน แล้วจึงนํามาจัดระเบียบความคิดใหม่ในแผ่นที 2 ซึงจะทําให้ Mind Mapping ทีได้มีความกระชับ น่าสนใจ และครอบคลุมตรงตามหัวข้อหลักทีนําเสนอ หลักการเขียน Mind Map การเขียน Mind Map ใช้กระดาษแผ่นเดียว การเขียนใช้สีสันหลากหลาย ใช้โครงสร้างตามธรรมชาติทีแผ่กระจาย ออกมาจุดศูนย์กลาง ใช้เส้นโยง มีเครืองหมาย สัญลักษณ์ และรูปภาพทีผสมผสานร่วมกันอย่างเรียบง่าย สอดคล้อง กับการทํางานตามธรรมชาติของสมอง วิธีการเขียน Mind Map 1. เตรียมกระดาษเปล่าทีไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน 2. วาดภาพสีหรือเขียนคําหรือข้อความทีสือหรือแสดงถึงเรืองจะทํา Mind Map กลางหน้ากระดาษ โดยใช้สี อย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต 3. คิดถึงหัวเรืองสําคัญทีเป็นส่วนประกอบของเรืองทีทํา Mind Map โดยให้เขียนเป็นคํา ทีมีลักษณะเป็น หน่วย หรือเป็นคําสําคัญ (Key Word) สั7น ๆ ทีมีความหมาย บนเส้น ซึงเส้นแต่ละเส้นจะต้องแตกออกมาจาก ศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิง 4. แตกความคิดของหัวเรืองสําคัญแต่ละเรืองในข้อ 3 ออกเป็นกิง ๆ หลายกิง โดยเขียนคําหรือวลีบนเส้นที แตกออกไป ลักษณะของกิงควรเอนไม่เกิน 60 องศา 5. แตกความคิดรองลงไปทีเป็นส่วนประกอบของแต่ละกิง ในข้อ 4 โดยเขียนคําหรือวลีเส้นทีแตกออกไป ซึงสามารถแตกความคิดออกไปเรือยๆ
  • 4. 4 6. การเขียนคํา ควรเขียนด้วยคําทีเป็นคําสําคัญ (Key Word) หรือคําหลัก หรือเป็นวลีทีมีความหมายชัดเจน 7. คํา วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดทีต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทําให้เด่น เช่น การล้อมกรอบหรือใส่กล่อง เป็นต้น 8. ตกแต่ง Mind Map ทีเขียนด้วยความสนุกสนานทั7งภาพและแนวคิดทีเชือมโยงต่อกัน กระบวนการของแผนที"ความคิด (Mind Mapping) ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรืองใดเรืองหนึงระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อย ทีเกียวข้องสัมพันธ์กัน” ผังความคิด (Mind Map) ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรืองใดเรืองหนึงระหว่าง ความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยทีเกียวข้องสัมพันธ์กัน ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือ นําประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลัก แล้วต่อด้วยประเด็นรองในชั7นถัดไป Mind Map® จะช่วยให้การจัดหมวดหมู่ความคิด รวมทั7งการเชือมโยงประเด็นสําคัญๆ ซึงจะช่วยให้การจัด กระบวนการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้ าหมายทีตั7งไว้ได้ ขั0นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั0นตอนที" 1 ประเมินปัญหาความต้องการของผู้เข้าร่วม (Need Assesment) ขั0นตอนที" 2 กําหนดวัตถุประสงค์ (Objectives define) ขั0นตอนที" 3 เลือกกําหนดเนื7อหาและจัดลําดับเนื7อหา (Content and Priority setting)
  • 5. 5 ขั0นตอนที" 4 เลือกวิธีการในการจัดการเรียนรู้ (Technique selection) ขั0นตอนที" 5 จัดทําโครงการจัดการเรียนรู้ (Project setting) ขั0นตอนที" 6 การออกแบบจัดทําหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู้ (course outline for PLP) ขั0นตอนที" 7 จัดกระบวนการเรียนรู้ (PLP-conduct) ขั0นตอนที" 8-9 ประเมินผลและติดตามสนับสนุน (Evaluation and Monitoring) จากขั7นตอนทั7ง 9 ขั7นตอน เพือให้เป็นภาพรวมทีเข้าใจกันง่ายขึ7นเราสามารถสรุปเป็นแผนทีความคิด (Mind Map ) ทีสวยงาม ได้ดังภาพ ซึงเป็นการแตกแขนง และแยกรายละเอียดให้ลึกมากขึ7น รายละเอียดเกี"ยวกับแผนที"ความคิด (Mind Mapping) รายละเอียดเกียวกับแผนทีความคิด (Mind Map® ) โดยลักษณะสําคัญด้วยกัน มี 4 ประการ ดังนี7 1.หัวเรืองทีเป็นข้อใหญ่ใจความได้รับการกลันกรองจนตกผลึกเป็นภาพ “ แก่นแกน ” ตรงกลาง 2.ประเด็นสําคัญกระจายเป็นรัศมีออกมาเป็น “ ก้าน” หรือ กิงแก้ว แตกแขนงออกจาก “ แก่นแกน ” 3. กิงทีแตกแขนงออกมาแต่ละกิงรองรับ คําไข/ภาพ โดยมีเส้นเชือมเป็นรายละเอียดออกมารอบๆ 4. กิงก้านต่างๆต้องเชือมต่อยึดโยงกันดุจกิงไม้หรือรากไม้ Mind Map® เป็นเพียงส่วนหนึงของเครืองมือในการบันทึกข้อมูลและความคิดเป็นภาพ ซึงเครืองมือ นําเสนอด้วยภาพ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ - ดาว / ใยแมงมุม / เครือข่าย = เหมาะสําหรับการอธิบาย คําจํากัดความ คุณสมบัติ คุณลักษณะ - แผนภูมิ / ตาราง / แถวอันดับ = เหมาะสําหรับแสดงคุณสมบัติ คุณลักษณะเปรียบเทียบ การประเมิน - ต้นไม้/ แผนที = เหมาะสําหรับการ จําแนก ตารางชาติตระกูล สายพันธ์ - ลูกโซ่ = เหมาะสําหรับกระบวนการเหตุและผล ทีมาทีไป ลําดับเหตุการณ์ในอดีต - ภาพร่าง = เหมาะสําหรับโครงสร้างทางกายภาพ ทําเลทีตั7ง สถานที รูปลักษณ์ วิธีการนําเข้าสู่การเรียนรู้ทักษะการเรียน Mind Map® คือพยายามเชือมโยงความคิดรวบยอดหรือกระบวนทัศน์ของการเรียน Mind Map® กับ ประสบการณ์ ตรงในเรืองแผนทีของผู้เรียนเอง จากนั7นเริมนําเข้าสู่ประเด็นต่างๆดังต่อไปนี7 - การคัดเลือกข้อมูล - คํากุญแจ/ประเด็นหลัก/สัญลักษณ์
  • 6. 6 - การจัดระบบเชิงภาพ - ประโยชน์ใช้สอยของแผนที - ลงมือเขียนแผนที ขั0นตอนในการเขียน Mind Map® 7 ขั0นตอน 1.วางกระดาษเปล่าตามแนวนอน เริมจากกลางหน้ากระดาษ เพราะมันจะช่วยให้มีอิสระในการคิดแผ่ขยาย ได้ตามธรรมชาติ 2.ใช้รูปภาพ หรือสัญลักษณ์แทนประเด็นหลัก ทีศูนย์กลางซึงเรียกว่า “แก่นแกน” 3.ใช้สีสันให้ทัวทั7งแผ่น 4.เชืองโยง “กิงแก้ว” เข้ากับ “แก่นแกน” ทีอยู่ตรงกลาง และเชือม “กิงแก้ว” ออกไปเป็นขั7นที 2 และ 3 5.วาดกิงทีมีสัญลักษณ์เป็นเส้นโค้ง 6.ใช้คํามูล เพียงคําเดียวบนแต่ละกิง 7.ใช้รูปภาพ ประกอบให้ทัวทั7งแผ่น Mind Map® เพราะภาพแทนคําได้เท่ากับคําพันคํา ข้อแนะนําในการทํา Mind Map® 1. แก่นแกน ควรมีขนาดพอเหมาะไม่ใหญ่ หรือ เล็กเกินไป 2. ห้ามล้อมแก่นแกน 3. เส้นของกิงแก้วต้องโยงเชือมต่อกับแก่นแกนเสมอ 4. คํายิงสั7นยิงดี ควรเป็นคํามูล 5. เส้นต้องมีความยาวสัมพันธ์กับคําหรือภาพ 6. กิงก้อยทีแตกแขนงออกมากิงแก้วควรมีสีเดียวกันทั7งแขนง 7. ต้องแตกกิง ณ จุดสุดท้ายของเส้นเสมอ 8. อย่าเขียนกลับหัวตัวอักษร/อย่าหมุนกระดาษ 9. ไม่ควรใช้วลีหรือประโยค 10. เส้นต้องเชืองโยงกัน อย่าเขียนเส้นให้ขาดหรือแหว่ง 11. ห้ามล้อมวงกลมทีคําหรือภาพ 12. ห้ามเขียนคํา/ภาพปิดท้ายเส้น 13. ห้ามเขียนคํา/ภาพทั7งบนและใต้กิงเดียวกัน
  • 7. 7 การนํา Mind Map® มาใช้ในการเรียนการสอน Mind Map® ช่วยให้การเรียนการสอนง่ายและสนุกสนานได้หลายวิธี เช่น 1.ใช้เตรียมการสอน เพราะจะทําให้สามารถสอนแบบธรรมชาติและเป็นระบบ 2.วางแผนรายปี ช่วยให้ครูเห็นแผนการสอนตอลดทั7งปีการศึกษา 3.วางแผนรายภาคเรียน ช่วยให้ครูรู้ว่าภาคนี7จะสอนอะไรบ้าง 4.วางแผนรายวัน ลงรายละเอียดทบทวนบทเรียนเดิมทีจะสอนนักเรียน 5.การสอน เป็นการใช้ขณะสอนนักเรียนในชั7นเรียน 6.การสอบของนักเรียน เป็นการวัดความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจของนักเรียนได้ดี 7.โครงการ/โครงงาน ใช้ทํากิจกรรม หรือ นิทรรศการ หรือ วางแผนงาน ตัวอย่างแผนที"ความคิด