SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง
รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222)
ความหมายและลักษณะของหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง หมายถึง หนังสือที่จัดทาขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
โดยไม่จาเป็นต้องอ่านตลอดเล่ม
ห้องสมุดมักจะจัดแยกหนังสืออ้างอิงไว้ส่วนหนึ่งโดยเฉพาะเพื่อสะดวกในการศึกษาค้นคว้า
โดยให้สัญลักษณ์ตัวอักษร อ. (ย่อมาจาก อ้างอิง) หรือ R (ย่อมาจาก Reference) กากับไว้ที่สันของหนังสือ
หนังสืออ้างอิงมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากหนังสือทั่วไป ทั้งลักษณะรูปเล่มและเนื้อหา ดังนี้
1. ลักษณะรูปเล่มของหนังสืออ้างอิงมีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับประเภทของหนังสืออ้างอิง เช่น
1.1 ขนาดใหญ่มาก หรือขนาดเล็กมาก ได้แก่หนังสือพจนานุกรม จัดทารูปแบบให้เหมาะสมกับการใช้
เช่น ฉบับนักเรียนนักศึกษา ฉบับตั้งโต๊ะ ฉบับย่อ ฉบับสมบูรณ์
1.2 แต่ละชุดมีหลายเล่ม ได้แก่ หนังสือสารานุกรม
เนื่องจากมีการรวบรวมเนื้อหาทุกเรื่องทาให้เนื้อหายาว จาเป็นต้องทาหลายเล่ม
1.3 มีการจัดทาด้วยวัสดุต่าง ๆ หลากหลาย เช่น ทาปกด้วยหนัง ผ้า ผ้าไหมผ้าแรกซีน
กระดาษที่ใช้พิมพ์เนื้อหามีคุณภาพสูง
2. ผู้รับผิดชอบในการจัดทา เป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือ
ผู้เขียนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น ๆ โดยเฉพาะ
หนังสืออ้างอิงจึงเป็นหนังสือที่มีคุณภาพสูง เนื้อหาเชื่อถือได้ และใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้
3. การเรียบเรียงเนื้อหา การเรียงเนื้อหาของหนังสืออ้างอิง
จะมีวิธีการเรียงลาดับเนื้อหาให้ค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว เช่น
3.1 เรียงตามลาดับอักษรแบบพจนานุกรม (alphabeticalor dictionary arrangement) เช่น
หนังสือพจนานุกรม สารานุกรม เป็นต้น
3.2 เรียงตามลาดับเหตุการณ์ เช่น หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์หนังสือรายปี หนังสือสมพัตสร
เป็นต้น
3.3 การเรียงตามลาดับหมวดหมู่หรือหัวเรื่อง (classified or subject arrangement) เช่น
หนังสือบรรณานุกรม ดรรชนีวารสาร เป็นต้น
3.4 เรียงตามลักษณะภูมิศาสตร์ (geographicalarrangement) ได้แก่หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์
ที่มีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ และในแต่ละภูมิภาคจะเรียงเนื้อหาตามจังหวัดและอาเภอตามลาดับ
4. มีคาชี้แจงการใช้ หนังสืออ้างอิงแต่ละประเภทมักมีการจัดเรียงเนื้อหาหรือการรวบรวมข้อมูลต่างกัน
ดังนั้นจึงมีการจัดพิมพ์คาแนะนาในการใช้หนังสือไว้ตอนต้นของหนังสือแต่ละเล่ม เช่น
อธิบายวิธีการเรียงลาดับเนื้อหาภายในเล่ม อักษรย่อ (abbreviations) สัญลักษณ์ (symbols) เครื่องหมาย
(sins) ที่ใช้ในเล่ม ขอบเขตของเนื้อหา เป็นต้น
5. จัดทาเครื่องมือช่วยในการค้นภายในเล่มหรือในชุด ได้แก่ สารบัญ คานาทาง
ดัชนีริมหน้ากระดาษ อักษรนาเล่ม ส่วนโยง และดัชนี เป็นต้น
ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง
รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222)
ประเภทของหนังสืออ้างอิง
ประเภทของหนังสืออ้างอิง ลักษณะสารสนเทศ
1.
พจนานุกรม(Dictionaries)
พจนานุกรมภาษา
(General Dictionanries)
พจนานุกรมเฉพาะวิชา
(Subject Dictionaries)
-ให้คาอธิบายเกี่ยวกับ ความหมาย การออกเสียง
การสะกดคา ประเภทของคาประวัติของคาการใช้คาคาพ้อง คาตรงกันข้าม คาย่อ อักษรย่อ และอื่นๆ เป็น
ๆเกี่ยวกับคานั้น
-เรียบเรียงคาศัพท์ตามลาดับตัวอักษร
2.
สารานุกรม(Encyclopedias)
สารานุกรมทั่วไป
(General Encyclopedias)
สารานุกรมเฉพาะวิชา
(Subject Encyclopedias)
-เป็นบทความเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา
วิวัฒนาการ และความรู้ในเรื่องทั่วๆไป หรือเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งได้แก่ บุคคลสัตว์สถานที่ทางภูมิศาส
และอื่นๆ เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาค้นคว้า
-เรียบเรียงตามลาดับอักษรของเรื่องหรือหัวเรื่องของบทความมีดรรชนีช่วยค้นหาเนื้อเรื่องภายในเล่มหรือช
3. หนังสือรายปี(Year
Books)
สมพัตสร(Almanac)
รายงานประจาปี(Annual
report)
-ให้ข้อเท็จจริง เรื่องราว เหตุการณ์และ สถิติใน
ด้านต่างๆที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ในรอบปีที่ผ่านมา (สมพัตสร)
-ให้ข้อเท็จจริงของหน่วยงานราชการองค์กร
สถาบันต่างๆ เพื่อรายงานผลงานที่กระทาในรอบปีที่ผ่านมา(รายงานประจาปี)
- เรียงลาดับตามหัวข้อเรื่องหรือตามระยะเวลามีสารบัญหรือดรรชนีช่วยค้นหาเนื้อเรื่อง
4. อักขรานุกรมชีวประวัติ
(Biographicaldictionaries)
-ให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ นามสกุลปีเกิด ปีตายภูมิลาเนา ประวัติการศึกษา อาชีพ ผลงาและอื่นๆ
-เรียงรายชื่อตามลาดับอักษรชื่อเจ้าของ
ชีวประวัติ
5. นามานุกรม(Directories)
นามานุกรมท้องถิ่น
นามานุกรมสถาบัน
นามานุกรมรัฐบาล
นามานุกรมการค้าและธุรกิจ
-รวบรวมรายชื่อบุคคลนิติบุคคลเช่นองค์กร
สมาคม ห้างร้าน เป็นต้น
-ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์
ของชื่อบุคคลถ้าเป็นนิติบุคคลให้รายละเอียด
เพิ่มเติมอื่นๆ เช่น รายนามผู้บริหาร วัตถุประสงค์การจัดตั้ง ลักษณะการดาเนินงาน ผลงาน และอื่นๆ
-เรียบเรียงส่วนใหญ่ จัดเรียงรายชื่อตามลาดับ
อักษรของชื่อบุคคลหรือ หน่วยงาน
6. หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ -รวบรวมรายชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ให้
ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง
รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222)
(GeographicalSources)
อักขรานุกรมภูมิศาสตร์
(Gazetteer)
หนังสือนาเที่ยว
(Guidebooks)
หนังสือแผนที่(Atlases)
ข้อเท็จจริงทางด้านภูมิศาสตร์
-ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ฯลฯ ของสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ ประเทศ จังหวัด
มหาสมุทรทะเล เกาะ แม่น้า ที่ราบสูง และสถานที่อื่น ๆ
-ให้รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่ให้ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับนักท่องเที่ยว เช่นสภาพภูมิ
ประเทศ ภูมิอากาศ ระยะทาง ประชากรภาษา
เงินตราที่ใช้เป็นต้น
-แสดงลักษณะพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของโลก เช่น
ที่ตั้ง อาณาเขต สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
สภาพการเมือง เศรษฐกิจ เป็นต้น
-เรียบเรียงตามลาดับอักษรของชื่อภูมิศาสตร์
ยกเว้นหนังสือแผนที่มีดัชนีช่วยค้น
7. หนังสือคู่มือ
(Handbooks)
หนังสือคู่มือทั่วไป
คู่มือในการปฎิบัติงาน
(Manuals)
-รวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงเฉพาะด้านและ
ความรู้รอบตัว
-ให้ข้อเท็จจริงตอบคาถามในเรื่องที่ยาก หรือ
ข้อเท็จจริงในการปฎิบัติงานด้านใดด้านหนึ่ง
- มีสารบัญและดรรชนีช่วยค้นเนื้อหาในเล่ม
8. ดรรชนีวารสาร
(Periodicalindexes)
ดรรชนีวารสารทั่วไป
(General periodical index)
ดรรชนีวารสารเฉพาะสาขาวิชา
(Subject periodical index)
-รวบรวมรายชื่อบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารต่าง ๆ
-ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมได้แก่ ชื่อผู้เขียนบทความชื่อบทความชื่อ วารสารปีที่ฉบับที่วัน เดือน ป
เลขหน้าขอบทความ และอาจมีสาระสังเขปประกอบ
-เรียบเรียงรายชื่อบทความตามลาดับอักษรชื่อ
ผู้เขียนบทความและหัวเรื่อง
9. บรรณานุกรม
(Bibliographies)
บรรณานุกรมทั่วไป
(General bibliographies)
บรรณานุกรมเฉพาะวิชา
(Subject bibliographies)
-รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆหลายสาขาวิชาและเฉพาะสาขาวิชา
-ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากร
สารสนเทศต่าง ๆ เช่น หนังสือ ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์ ปีพิมพ์ ราคา และอาจมีสาระสังเขปประกอบ ถ้าเป็นวารสารจะให้รายละเอ
ปีเริ่มแรกที่ตีพิมพ์กาหนดออก อัตราค่าสมาชิก และอื่น ๆ
-เรียบเรียงรายการบรรณานุกรมตามลาดับอักษร
10.สิ่งพิมพ์รัฐบาล
( Government
Publications)
-
เอกสารสาคัญที่เกิดจากการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศเป็นเอกสารที่จัดทาโดยผู้ปฏิบัติงานหรือผู้เช
- เป็นเอกสารอ้างอิงแหล่งเดิมที่เชื่อถือได้มากที่สุด
ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง
รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222)
- เนื้อหาหลากหลายในทุกด้านและทุกสาขาวิชา
- มีความสาคัญต่อการศึกษาค้นคว้าวิจัยมากที่สุด
ที่มา:
หนังสืออ้างอิง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : https://tanoo.wordpress.com/. (วันที่ค้นข้อมูล : 23 พฤศจิกายน
2558).
หนังสืออ้างอิง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : home.kku.ac.th/penpan/412102/refbook.pd. (วันที่ค้นข้อมูล :
23 พฤศจิกายน 2558).

More Related Content

What's hot

4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ bookPloykarn Lamdual
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library materialPloykarn Lamdual
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.PptSupaporn Khiewwan
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศPloykarn Lamdual
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์krujee
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสารG14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 

Viewers also liked

การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 7
คะแนนรวม ห้อง 7คะแนนรวม ห้อง 7
คะแนนรวม ห้อง 7Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม 2 58
คะแนนรวม 2 58คะแนนรวม 2 58
คะแนนรวม 2 58Supaporn Khiewwan
 
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านSupaporn Khiewwan
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58Supaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้kruruttika
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 

Viewers also liked (20)

การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59
 
คะแนนรวม ห้อง 7
คะแนนรวม ห้อง 7คะแนนรวม ห้อง 7
คะแนนรวม ห้อง 7
 
คะแนนรวม 2 58
คะแนนรวม 2 58คะแนนรวม 2 58
คะแนนรวม 2 58
 
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
หมวดหมู่1
หมวดหมู่1หมวดหมู่1
หมวดหมู่1
 
การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 

Similar to ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง

หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)ILyas Waeyakoh
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSuriyapong
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 

Similar to ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง (6)

หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 

More from Supaporn Khiewwan

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนSupaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptSupaporn Khiewwan
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 9
คะแนนรวม ห้อง 9คะแนนรวม ห้อง 9
คะแนนรวม ห้อง 9Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 8
คะแนนรวม ห้อง 8คะแนนรวม ห้อง 8
คะแนนรวม ห้อง 8Supaporn Khiewwan
 

More from Supaporn Khiewwan (16)

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11
 
คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10
 
คะแนนรวม ห้อง 9
คะแนนรวม ห้อง 9คะแนนรวม ห้อง 9
คะแนนรวม ห้อง 9
 
คะแนนรวม ห้อง 8
คะแนนรวม ห้อง 8คะแนนรวม ห้อง 8
คะแนนรวม ห้อง 8
 

ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง

  • 1. ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222) ความหมายและลักษณะของหนังสืออ้างอิง หนังสืออ้างอิง หมายถึง หนังสือที่จัดทาขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยไม่จาเป็นต้องอ่านตลอดเล่ม ห้องสมุดมักจะจัดแยกหนังสืออ้างอิงไว้ส่วนหนึ่งโดยเฉพาะเพื่อสะดวกในการศึกษาค้นคว้า โดยให้สัญลักษณ์ตัวอักษร อ. (ย่อมาจาก อ้างอิง) หรือ R (ย่อมาจาก Reference) กากับไว้ที่สันของหนังสือ หนังสืออ้างอิงมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากหนังสือทั่วไป ทั้งลักษณะรูปเล่มและเนื้อหา ดังนี้ 1. ลักษณะรูปเล่มของหนังสืออ้างอิงมีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับประเภทของหนังสืออ้างอิง เช่น 1.1 ขนาดใหญ่มาก หรือขนาดเล็กมาก ได้แก่หนังสือพจนานุกรม จัดทารูปแบบให้เหมาะสมกับการใช้ เช่น ฉบับนักเรียนนักศึกษา ฉบับตั้งโต๊ะ ฉบับย่อ ฉบับสมบูรณ์ 1.2 แต่ละชุดมีหลายเล่ม ได้แก่ หนังสือสารานุกรม เนื่องจากมีการรวบรวมเนื้อหาทุกเรื่องทาให้เนื้อหายาว จาเป็นต้องทาหลายเล่ม 1.3 มีการจัดทาด้วยวัสดุต่าง ๆ หลากหลาย เช่น ทาปกด้วยหนัง ผ้า ผ้าไหมผ้าแรกซีน กระดาษที่ใช้พิมพ์เนื้อหามีคุณภาพสูง 2. ผู้รับผิดชอบในการจัดทา เป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือ ผู้เขียนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น ๆ โดยเฉพาะ หนังสืออ้างอิงจึงเป็นหนังสือที่มีคุณภาพสูง เนื้อหาเชื่อถือได้ และใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ 3. การเรียบเรียงเนื้อหา การเรียงเนื้อหาของหนังสืออ้างอิง จะมีวิธีการเรียงลาดับเนื้อหาให้ค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว เช่น 3.1 เรียงตามลาดับอักษรแบบพจนานุกรม (alphabeticalor dictionary arrangement) เช่น หนังสือพจนานุกรม สารานุกรม เป็นต้น 3.2 เรียงตามลาดับเหตุการณ์ เช่น หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์หนังสือรายปี หนังสือสมพัตสร เป็นต้น 3.3 การเรียงตามลาดับหมวดหมู่หรือหัวเรื่อง (classified or subject arrangement) เช่น หนังสือบรรณานุกรม ดรรชนีวารสาร เป็นต้น 3.4 เรียงตามลักษณะภูมิศาสตร์ (geographicalarrangement) ได้แก่หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ ที่มีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ และในแต่ละภูมิภาคจะเรียงเนื้อหาตามจังหวัดและอาเภอตามลาดับ 4. มีคาชี้แจงการใช้ หนังสืออ้างอิงแต่ละประเภทมักมีการจัดเรียงเนื้อหาหรือการรวบรวมข้อมูลต่างกัน ดังนั้นจึงมีการจัดพิมพ์คาแนะนาในการใช้หนังสือไว้ตอนต้นของหนังสือแต่ละเล่ม เช่น อธิบายวิธีการเรียงลาดับเนื้อหาภายในเล่ม อักษรย่อ (abbreviations) สัญลักษณ์ (symbols) เครื่องหมาย (sins) ที่ใช้ในเล่ม ขอบเขตของเนื้อหา เป็นต้น 5. จัดทาเครื่องมือช่วยในการค้นภายในเล่มหรือในชุด ได้แก่ สารบัญ คานาทาง ดัชนีริมหน้ากระดาษ อักษรนาเล่ม ส่วนโยง และดัชนี เป็นต้น
  • 2. ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222) ประเภทของหนังสืออ้างอิง ประเภทของหนังสืออ้างอิง ลักษณะสารสนเทศ 1. พจนานุกรม(Dictionaries) พจนานุกรมภาษา (General Dictionanries) พจนานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Dictionaries) -ให้คาอธิบายเกี่ยวกับ ความหมาย การออกเสียง การสะกดคา ประเภทของคาประวัติของคาการใช้คาคาพ้อง คาตรงกันข้าม คาย่อ อักษรย่อ และอื่นๆ เป็น ๆเกี่ยวกับคานั้น -เรียบเรียงคาศัพท์ตามลาดับตัวอักษร 2. สารานุกรม(Encyclopedias) สารานุกรมทั่วไป (General Encyclopedias) สารานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Encyclopedias) -เป็นบทความเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ และความรู้ในเรื่องทั่วๆไป หรือเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งได้แก่ บุคคลสัตว์สถานที่ทางภูมิศาส และอื่นๆ เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาค้นคว้า -เรียบเรียงตามลาดับอักษรของเรื่องหรือหัวเรื่องของบทความมีดรรชนีช่วยค้นหาเนื้อเรื่องภายในเล่มหรือช 3. หนังสือรายปี(Year Books) สมพัตสร(Almanac) รายงานประจาปี(Annual report) -ให้ข้อเท็จจริง เรื่องราว เหตุการณ์และ สถิติใน ด้านต่างๆที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ในรอบปีที่ผ่านมา (สมพัตสร) -ให้ข้อเท็จจริงของหน่วยงานราชการองค์กร สถาบันต่างๆ เพื่อรายงานผลงานที่กระทาในรอบปีที่ผ่านมา(รายงานประจาปี) - เรียงลาดับตามหัวข้อเรื่องหรือตามระยะเวลามีสารบัญหรือดรรชนีช่วยค้นหาเนื้อเรื่อง 4. อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographicaldictionaries) -ให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ นามสกุลปีเกิด ปีตายภูมิลาเนา ประวัติการศึกษา อาชีพ ผลงาและอื่นๆ -เรียงรายชื่อตามลาดับอักษรชื่อเจ้าของ ชีวประวัติ 5. นามานุกรม(Directories) นามานุกรมท้องถิ่น นามานุกรมสถาบัน นามานุกรมรัฐบาล นามานุกรมการค้าและธุรกิจ -รวบรวมรายชื่อบุคคลนิติบุคคลเช่นองค์กร สมาคม ห้างร้าน เป็นต้น -ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ ของชื่อบุคคลถ้าเป็นนิติบุคคลให้รายละเอียด เพิ่มเติมอื่นๆ เช่น รายนามผู้บริหาร วัตถุประสงค์การจัดตั้ง ลักษณะการดาเนินงาน ผลงาน และอื่นๆ -เรียบเรียงส่วนใหญ่ จัดเรียงรายชื่อตามลาดับ อักษรของชื่อบุคคลหรือ หน่วยงาน 6. หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ -รวบรวมรายชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ให้
  • 3. ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222) (GeographicalSources) อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ (Gazetteer) หนังสือนาเที่ยว (Guidebooks) หนังสือแผนที่(Atlases) ข้อเท็จจริงทางด้านภูมิศาสตร์ -ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ฯลฯ ของสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ ประเทศ จังหวัด มหาสมุทรทะเล เกาะ แม่น้า ที่ราบสูง และสถานที่อื่น ๆ -ให้รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่ให้ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับนักท่องเที่ยว เช่นสภาพภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ ระยะทาง ประชากรภาษา เงินตราที่ใช้เป็นต้น -แสดงลักษณะพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของโลก เช่น ที่ตั้ง อาณาเขต สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพการเมือง เศรษฐกิจ เป็นต้น -เรียบเรียงตามลาดับอักษรของชื่อภูมิศาสตร์ ยกเว้นหนังสือแผนที่มีดัชนีช่วยค้น 7. หนังสือคู่มือ (Handbooks) หนังสือคู่มือทั่วไป คู่มือในการปฎิบัติงาน (Manuals) -รวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงเฉพาะด้านและ ความรู้รอบตัว -ให้ข้อเท็จจริงตอบคาถามในเรื่องที่ยาก หรือ ข้อเท็จจริงในการปฎิบัติงานด้านใดด้านหนึ่ง - มีสารบัญและดรรชนีช่วยค้นเนื้อหาในเล่ม 8. ดรรชนีวารสาร (Periodicalindexes) ดรรชนีวารสารทั่วไป (General periodical index) ดรรชนีวารสารเฉพาะสาขาวิชา (Subject periodical index) -รวบรวมรายชื่อบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารต่าง ๆ -ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมได้แก่ ชื่อผู้เขียนบทความชื่อบทความชื่อ วารสารปีที่ฉบับที่วัน เดือน ป เลขหน้าขอบทความ และอาจมีสาระสังเขปประกอบ -เรียบเรียงรายชื่อบทความตามลาดับอักษรชื่อ ผู้เขียนบทความและหัวเรื่อง 9. บรรณานุกรม (Bibliographies) บรรณานุกรมทั่วไป (General bibliographies) บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Subject bibliographies) -รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆหลายสาขาวิชาและเฉพาะสาขาวิชา -ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากร สารสนเทศต่าง ๆ เช่น หนังสือ ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์ ปีพิมพ์ ราคา และอาจมีสาระสังเขปประกอบ ถ้าเป็นวารสารจะให้รายละเอ ปีเริ่มแรกที่ตีพิมพ์กาหนดออก อัตราค่าสมาชิก และอื่น ๆ -เรียบเรียงรายการบรรณานุกรมตามลาดับอักษร 10.สิ่งพิมพ์รัฐบาล ( Government Publications) - เอกสารสาคัญที่เกิดจากการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศเป็นเอกสารที่จัดทาโดยผู้ปฏิบัติงานหรือผู้เช - เป็นเอกสารอ้างอิงแหล่งเดิมที่เชื่อถือได้มากที่สุด
  • 4. ใบความรู้เรื่องหนังสืออ้างอิง รายวิชาสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า(ง30222) - เนื้อหาหลากหลายในทุกด้านและทุกสาขาวิชา - มีความสาคัญต่อการศึกษาค้นคว้าวิจัยมากที่สุด ที่มา: หนังสืออ้างอิง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : https://tanoo.wordpress.com/. (วันที่ค้นข้อมูล : 23 พฤศจิกายน 2558). หนังสืออ้างอิง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : home.kku.ac.th/penpan/412102/refbook.pd. (วันที่ค้นข้อมูล : 23 พฤศจิกายน 2558).