SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
หนังสือ
เป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศทั้งทางด้านวิชาการ
สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาที่จบบริบูรณ์ในเล่มเดียวหรือ
หลายเล่มที่เรียกว่า หนังสือชุด
หนังสือจัดแยกตามลักษณะเนื้อหา ได้ดังนี้
• 1.1 หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (text book)
• 1.2 หนังสือสารคดี
• 1.3 หนังสือแบบเรียน
• 1.4 หนังสืออ้างอิง (reference books)
• 1.5 วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์ (thesis or dissertation)
• 1.6 รายงานการวิจัย (research report)
• 1.7 รายงานการประชุมทางวิชาการ (proceedings)
• 1.8 นวนิยายและเรื่องสั้น (short story collection)
1.1 หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (text book)
หนังสือที่ให้ความรู้ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยผู้แต่ง
ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา การนาเสนอ
เนื้อหามักใช้คาศัพท์เฉพาะทางวิชาการ
1.2 หนังสือสารคดี
หนังสือที่นาเสนอเรื่องราวกึ่งวิชาการเพื่อความเพลิดเพลิน
ในการอ่าน และหลีกเลี่ยงการใช้คาศัพท์เฉพาะทางวิชาการ
เพื่อให้เข้าใจเนื้อหาสาระได้โดยง่าย
1.3 หนังสือแบบเรียน
หนังสือที่จัดทาขึ้นตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้ประกอบการ
เรียนการสอนของนักเรียนนักศึกษาในระดับต่าง ๆ นาเสนอ
เนื้อหาตามข้อกาหนดในหลักสูตร
1.4 หนังสืออ้างอิง (reference books)
หนังสือที่รวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่
เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า
1.5 วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์
(thesis or dissertation)
เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยเพื่อขอรับปริญญาตาม
หลักสูตรในระดับปริญญาโท (thesis)
และปริญญาเอก (dissertation)
1.6 รายงานการวิจัย (research report)
เสนอสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษา ค้นคว้าวิจัย-
เนื้อหามักประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ข้อความเกี่ยวกับ ผู้เขียน
สาระสังเขป บทนา วัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีดาเนินการ
วิจัย ผลการวิจัย บทสรุป
และ รายการอ้างอิง
1.7 รายงานการประชุมทางวิชาการ
(proceedings)
ให้สารสนเทศที่ได้จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของ
นักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นข้อสรุปในการแก้ปัญหา
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความรู้ใหม่ที่ค้นพบ
1.8 นวนิยายและเรื่องสั้น
(short story collection)
เป็นหนังสือที่แต่งขึ้นตามจินตนาการ เน้นความสนุกความ
เพลิดเพลิน และความซาบซึ้งในอรรถรสวรรณกรรม
สารสนเทศจากนวนิยายนามาใช้เป็นหลักฐานอ้างอิง
ข้อเท็จจริงไม่ได้
คุณค่าของหนังสือ
• 1.หนังสือสะดวกต่อการใช้ สามารถอ่านได้ตลอดเวลาโดยไม่
จากัดสถานที่
• 2.หนังสือให้รายละเอียด เนื้อหาได้มากและลึกซึ้งกว่าสื่ออื่นๆ
• 3.หนังสือราคาถูกกว่า ถ้าเปรียบเทียบในคุณภาพเดียวกัน
• 4.หนังสื่อจะช่วยสื่อความหมายและถ่ายทอดได้อย่างถูกต้อง
เพราะเป็นลายลักษณ์อักษร
• 5.หนังสือจะส่งเสริมการสร้างนิสัยรักการอ่าน
ประโยชน์ของหนังสือ
• 1.อธิบายเรื่องไม่รู้ให้กระจ่างได้ในขอบเขต
• 2.ส่งเสริมความใฝ่รู้ให้แก่ผู้อ่านจากภาษาที่เข้าใจง่าย
• 3.หนังสือจะกล่อมเกลาจิตใจผู้อ่านให้เกิดอารมณ์สุนทรีและ
ประทับใจกับบุคคลและเหตุการณ์บางอย่าง
• 4.ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน และส่งเสริมให้การอ่านเป็นความจา
เป็นของชีวิต
• 5.หนังสือเป็นเพื่อนคลายเหงา ช่วยให้ผู้อ่านรู้จักใช้เวลา ว่างให้
เป็นประโยชน์
บทบาทของหนังสือในปัจจุบัน
• 1.บทบาทด้านการศึกษา
การเรียนในระดับอุดมศึกษา นิสิตจะต้องศึกษาจากตาราที่มีอยู่
ในห้องสมุดเป็นส่วนใหญ่ซึ้งต้องใช้หนังสือเป็นประจา
• 2.บทบาทด้านอาชีพ
หนังสือมีความผูกพันอยู่กับบุคลทุกอาชีพที่มุ่งหวังความ
เจริญก้าวหน้า เพราะผู้ประกอบอาชีพที่ดีนั้นจาเป็นต้องขวนขวาย
หาความรู้อยู่เสมอ ส่งผลให้บุคคลเหล่านั้นมีความรู้อย่างกว้างขวาง
• 3.บทบาทด้านนันทนาการ
ในปัจจุบันนี้การเสาะแสวงหาความบันเทิงเริงรมย์เป็นไปได้ง่าย
และมีหลายรูปแบบ เช่น การอ่านหนังสือ อาจจะเป็นหนังสือ
โบราณคดี กวีนิพนธ์
นอกจะทาให้ผู้อ่านได้รับความรู้ความบันเทิงแล้ว ยังจะเป็นทักษะฝึก
การอ่านอีกด้วย
• 4.บทบาทด้านพัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศ
คือ ให้ประชาชนมีการศึกษา เป็นผู้รู้หนังสือในระดับที่พอจะเป็น
พื้นฐาน ในการพัฒนาชีวิตของตนเองและพัฒนาประเทศต่อไป

More Related Content

Similar to ทรัพยากรสารสนเทศ

เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)FadilJeje
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
ScienceDirect...New
ScienceDirect...NewScienceDirect...New
ScienceDirect...Newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
ScienceDirect New
ScienceDirect NewScienceDirect New
ScienceDirect Newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 

Similar to ทรัพยากรสารสนเทศ (13)

เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
ScienceDirect...New
ScienceDirect...NewScienceDirect...New
ScienceDirect...New
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
ScienceDirect New
ScienceDirect NewScienceDirect New
ScienceDirect New
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 

ทรัพยากรสารสนเทศ