SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
Cell Respiration
          O2         CO2           BREATHING


                         Lungs


                              Muscle cells
    CO2    Bloodstream      O carrying out
                             2




                                  CELLULAR
                                 RESPIRATION

                     Sugar + O2  ATP + CO2 + H2O

                                                1
ความหมายของการหายใจระดับเซลล์                                              Time
( cellular respiration ) หมายถึง                                             r


การย่อยสลายสารอาหารโดยใช้กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนเพื่อสร้าง ATP


  การใช้ออกซิ เจนเป็ นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุ ดท้าย ( final electron acceptor )


          การใช้สารอื่นนอกจากออกซิ เจนมาเป็ นตัวรับอิเล็กตรอน


    การสลายอาหารโดยเริ่ มต้นจากกลูโคส จนได้สารที่มีโมเลกุลเล็กที่สุด
                                                                                2
การเปลี่ยนรูปพลังงานและการหมุนเวียนสารเคมีในระบบนิเวศ
                                 Chloroplast และ
                                 mitochondria เป็ น organelles
                                 ที่เปลี่ยนพลังงานรู ปหนึ่งไปอีกรู ปหนึ่ง

                     Anabolism   ในChloroplast เกิดกระบวนการ
                                 photosynthesis ซึ่งพลังงานแสงถูก
                                 เปลี่ยนเป็ นพลังงานสะสมใน
                                 คาร์โบไฮเดรต
                                  ที่ mitochondria เกิด
                                 กระบวนการ cellular respiration
                                 พลังงานที่เก็บไว้ในคาร์โบไฮเดรตจะถูก
   Catabolism                    เปลี่ยนเป็ นพลังงานในรู ป ATP ซึ่ง
                                 สิ่ งมีชีวตจะนาไปใช้ในเซลล์ต่อไป
                                           ิ
                                 มีพลังงานบางส่ วนสู ญเสี ยไปกับความ
                                 ร้อน                             3
กระบวนการเมทาบอลิซมหมายเลข 1,2 ตามลาดับ คือ
                  ึ                                     60




                   1
                                Anabolism, Catabolism




    2
                                Catabolism, Anabolism




                                                    4
Time
สารเคมีใดที่ให้พลังงานกับสิ่ งมีชีวตทุกชนิด
                                   ิ
                                                          r




             Phosphate                         ATP




               ADP                            Adenine


                                                         5
ATP (Adenosine triphosphate)
       เป็ นสารเคมีท่ มีพลังงานสูงพร้ อมที่จะแตกตัวปล่ อยให้
                      ี
พลังงานออกมาใช้ ท่ใดที่หนึ่งได้
                   ี




                                                               6
เมื่อ ~P สลายภายในเซลล์ พลังงานบางส่ วนจะสูญเสียไปใน
รูปของความร้ อน และบางส่ วนถูกนาไปใช้ ทางาน และเมื่อ ATP
ถ่ ายทอด ~P ให้ กับโมเลกุลของสารอื่น โมเลกุลของสารนันจะได้ ้
พลังงานเพิ่มขึนด้ วย ทาให้ เกิดปฏิกิริยากับโมเลกุลอื่นต่ อไป ดังนัน
              ้                                                   ้
พลังงานจาก ATP สามารถทาให้ เกิดปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ ได้




                                                                7
The energy in an ATP molecule
                • Lies in the bonds between its phosphate groups


   Adenosine          Triphosphate                Adenosine diphosphate


                      Phosphate
                       groups        H2O


                      P   P    P                                  P   P +   P +   Energy
                                     Hydrolysis
Adenine

   Ribose
                ATP                                     ADP




  Figure 5.4A
ATP เมื่อถูกใช้ แล้ วสามารถสร้ างกลับมาใหม่ ได้




                                                  9
ส่ วนประกอบของ ATP ประกอบไปด้ วย คือ                          60



Phosphate groups   1   Metyonine     3             Ribosome              5
  Phosphoenal      2    Ribose        4             Adenine              6




                                   <Keypad will appear here based on shape
                                       and location of this rectangle.>




                                                                  10
พลังงานที่สามารถนาไปใช้ ได้ อยู่ท่ โครงสร้ างใด
                                   ี                Time
                                                      r



         Adenine                  Phosphate groups




          Ribose                  Adenine, Ribose


                                                     11
สิ่ งมีชีวตเก็บพลังงานที่ได้จากการหายใจไว้ในรู ปอินทรี ย
          ิ                                                    Time
                                               ่ ั
สารที่มีพลังงานสู งชนิดหนึ่ง โดยพลังงานนั้นอยูที่พนธะ            r
เคมีระหว่าง


            หมู่ฟอตเฟตกับ                  หมู่เบสอะดีนีนกับ
           หมู่น้ าตาลไรโบส                  หมู่ฟอตเฟต


         หมู่น้ าตาลไรโบสกับ                หมู่ฟอสเฟตกับ
           หมู่เบสอะดีนีน                    หมู่ฟอตเฟต
                                                                12
พลังงานในรูป ATP ถูกนาไปใช้ ทางานต่ างๆภายในเซลล์




                                                    13
จากแผนภาพข้างล่างแสดงการใช้พลังงานในรู ปต่าง ๆ         Time
อยากทราบว่า A คืออะไร B คืออะไร                          r


                                       A คือ O2 B คือ CO2


                                        A คือ CO2 B คือ O2


                                       A คือ ATP B คือ ADP


                                       A คือ ADP B คือ ATP
                                                        14
ATP สร้ างขึนอย่ างไร
                    ้

  เรียกกระบวนการสร้ าง ATP ว่ า
  Phosphorylation มีวธีการสร้ างหลายแบบ
                         ิ
1. Oxidative phosphorylation
2. Substrate phosphorylation
3. Photophosphorylation


                                          15
Oxidative phosphorylation

   การสร้ าง ATP จาก
การถ่ ายทอด e- ผ่ านสาร
นา e- เช่ น NADH,
FADH2 ใน e-
transport chain ที่
mitochondria และ
มี O2 เป็ นตัวรับ e- ตัว
สุดท้ าย


                                   16
Substrate phosphorylation


                  ATP ถูกสร้ างโดยการ
                  ถ่ ายทอด ~P จากสารที่
                  มีพันธะเคมีพลังงานสูง
                  กว่ ามายัง ADP
                  โดยตรง โดยมี
                  enzyme กระตุ้น



                                   17
Photophosphorylation
แสงทำให้ e- จำกนำ้
ถูกถ่ ำยทอดไปตำม
e- transport chain

ใน chloroplast
ได้ พลังงำนในรูป
ATP




                                     18
กระบวนการใดในสิ่งมีชีวตไม่ สามารถสร้ าง ATPได้
                      ิ                              Time
                                                       r



           Oxidative                  Substrate
        phosphorylation            phosphorylation




     Photophosphorylation            Hydrolysis



                                                      19
การสร้ าง ATP จากการถ่ ายถอด e ผ่ านสารตัวนา คือ     Time
                                                       r



           Oxidative                  Substrate
        phosphorylation            phosphorylation




      Photophosphorylation          Photosynthesis



                                                      20
NAD+ = nicotinamide adenine dinucleotide




                                           21
NAD+
พบในเซลล์
ทางานร่ วมกับ enzyme โดยเป็ นตัวรับ e- ในปฏิกิริยา
oxidation-reduction
             Oxidation
    H
                 Dehydrogenase
R   C    R’ + NAD+            R   C   R’’ + NADH + H+
    OH                            O
                         Reduction
         NAD+ = oxidized coenzyme
         NADH = reduced coenzyme                   22
รู้หรือไม่
NAD (nicltinamide adenine dinucleotide) เป็ นตัวนา
อิเล็กตรอน พร้อมด้วยโปรตรอนและเนื่องจากอะตอมของไนโตรเจนที่เป็ นองค์ประกอบ
ของ NAD มีประจุบวกจึงเขียนว่า NAD+ มีวิตามิน B5
คือไนอะซี น (niacin) เป็ นองค์ประกอบ

FAD (flavin adenine dinucleotide) เป็ นตัวนาอิเล็กตรอน พร้อมด้วย
โปรตรอน FAD 1 โมเลกุลรับอิเล็กตรอนและโปรตรอนจะได้ FADH2
ดังสมกำร
          FAD + 2H+ + 2e- -----------> FADH2

FADH2 มีสมบัติเป็ นตัวให้อิเล็กตรอน เมื่อเข้าสู่ กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
                 ่
พลังงานที่สะสมอยูจะถูกนามาใช้ในการสร้าง ATP
FAD มีวิตามิน B2 (riblfavin) เป็ นองค์ประกอบ
ข้ อใดไม่ ใช่ สารตัวนาในการถ่ ายทอด e คือ         Time
                                                    r



         NADH                         FAD




         NAD+                       ข้อ B และ C



                                                   24
Cellular respiration
รวมหมายถึง 2 กระบวนการ คือ
     - Aerobic cellular respiration
       กระบวนกำรหำยใจแบบใช้ ออกซิเจน
     - Anerobic cellular respiration
       (Fermentation)
       กระบวนกำรหำยใจแบบไม่ ใช้ ออกซิเจน หรือ
        กระบวนกำรหมัก                           25
Aerobic cellular respiration
       เป็ นกระบวนการย่ อยสารอาหาร เพื่อให้ ได้ ATP และมี
O2 เป็ นตัวรับ e- ตัวสุดท้ าย



               Loss of hydrogen atoms
                     (oxidation)


   C6H12O6 +    6 O2                          6 CO2     +   6 H2O   + Energy

  Glucose                                                             (ATP)
                               Gain of hydrogen atoms
                                     (reduction)

                                                                               26
1   2     3   4    5    6   7    8   9
             ให้ นักเรียนเขียนปฏิกริยำกำรหำยใจระดับเซลล์
                                      ิ
                         เมื่อใช้ glucose 2 โมเลกุล?
C6H12O6      O2    H 2O         2    12       12       38   76       76

H 2O   CO2        CO2     ATP   2    12       12       38   76       76

ATP    O2     C6H12O6           2    12       12       38   76       76


              +                               +             +

              +                               +             +
ปฏิกิริยานีควรเกิดขึนที่ใด
             ้        ้                      Time
                                               r




mitochondria                   cholorplast



  nucleus                      cytoplasm
                                              28
Fermentation
เป็ นกระบวนการย่ อยสารอาหาร เพื่อให้ ได้ ATP
โดยมี organic compounds เป็ นตัวรับ e-
เป็ น anaerobic process
เป็ นการย่ อยสลาย glucose เพียงบางส่ วน ผลได้
lactate (animal cell) หรือ CO2 + alcohol
(yeast)
ได้ 2 ATP
                                                29
Aerobic cellular respiration ประกอบด้ วย
 Glycolysis
 Krebs cycle
 Electron transport chain (ETC) and
oxidative phosphorylation




                                           30
Glycolysis
Kreb’s Cycle (Citric acid cycle)
Electron transport chain(ETC)
1   2   3   4   5     6       7    8      9

 จับคู่ตาแหน่ งการเกิดปฏิกริยาการหายใจระดับเซลล์
                          ิ

 Glycolysis                                    Matrix

                                            Cytosol
Kreb’s Cycle

                                         Inner membrane
                                           mitochondria
   ETC
                                         Outer membrane
                                          mitochondria

                                                          34
จำกแผนภำพ A คือ                             Time
                                              r




     การสังเคราะห์ดวยแสง
                   ้       การสังเคราะห์ไขมัน

     การสังเคราะห์โปรตีน      ไกลโคลิซิส        35
จำกแผนภำพ B และ C คืออะไร                                 Time
                                                            r




  B คือกลูโคส C คือกรดไพรู วิก   B คือคาร์โบไฮเดรต C คือกรดไพรู วิก

  B คือกลูโคส C คือกรดแลกติก      B คือโปรตีน C คือกรดแลกติก
                                                        36
เมื่อร่ างกายของเราเกิดการเผาผลาญ glucose ในเซลล์ แล้ ว ได้ product
ร่ างกายทาอย่ างไร
คนเราหายใน O2 เข้ าไปในปอด และรั บประทานอาหาร glucose ซึ่ง O2
และ glucose เข้ าไปในกระแสเลือด แล้ วเข้ าไปในเซลล์
Glycolysis เกิดขึนที่ cytoplasm ได้ pyruvate
                  ้
Pyruvate เข้ าไปใน mitochondria และถูกเผาผลาญต่ อไป จนได้
CO2 + H2O + พลังงานในรู ป ATP
CO2 , H2O และ ATP แพร่ ออกจาก mitochondria ไปยัง
cytoplasm
 ATP ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ ภายในเซลล์ CO2 แพร่ ออกจากเซลล์ เข้ าไป
ในกระแสเลือด และหายใจออกไป ส่ วน H2O จะถูกนาไปใช้ ในเซลล์
                                                               37
6C             Glycolysis

                    6C


     6C



          3C             3C

     6C
3C



     3C




          3C




3C




          3C
สรุป Glycolysis




             40
โปรตีนที่อยู่ท่ ผิวของ mitochondria จะขนส่ ง pyruvate
                ี
เข้ าไปใน mitochondria

                                                2C




    3C



 Net: 2 Pyruvate          2 Acetyl CoA + 2NADH
             2C2O         ออกจากเซลล์                41
เมื่อสิ้ นสุ ดกระบวนการไกลโคลิซิสแล้ว จะได้กรด               Time
ไพรู วกซึ่ งเปลี่ยนแปลงต่อไป ในการหายใจและใช้
         ิ                                                     r
ออกซิเจน คือ


     ทาปฏิกิริยากับโคเอนไซม์ เอ       เปลี่ยนเป็ น CO2 หมด




        เปลี่ยนเป็ นกรดซิ ตริ ก      เปลี่ยนเป็ นกรดแลกติก


                                                              42
Time
ผลผลิตที่ได้เมื่อสิ้ นสุ ดกระบวนการไกลโคลิซิส 1 ครั้งคือ           r


                     2 กรดไพรู วิก + 2ATP + 4H


                      กรดไพรู วิก + 2ATP + 4H


      2 แอซิ ติลโคเอนไซม์ เอ + 2 คาร์ บอนไดออกไซด์ + 2ATP + 4H


       แอซิ ติลโคเอนไซม์ เอ + คาร์บอนไดออกไซด์ + 2ATP + 4H
                                                                  43
Krebs cycle                    2C
เกิดที่
mitochondria              4C
                                    6C
matrix
                                         6C

               4C
    6C



    5C
                    4C
                                         5C
    4C

                         4C
                               4C         44
1    2    3   4   5    6   7   8    9

ให้ นักเรียนจัดเรียงจำนวน C อะตอมที่เกินขึนใน Kreb’s Cycle?
                                          ้

        5C           4C            2C           6C
สรุป Kreb’s Cycle
ใน 2 Krebs cycle / 1 Glucose
2 Acetyl CoA     4CO2
+ 6NADH2
               e- transport chain
+2 FADH2
+ 2 ATP (substrate level
phosphorylation)




                                    46
Time
ในวัฏจักรเครบส์จะไม่เกิดอะไร
                                      r




             H2 O              O2




             ATP               H+


                                     47
ในวัฏจักรเครบส์มีการเปลี่ยนแปลงจานวนคาร์บอน        Time
อะตอมดังต่อไปนี้                                     r


               6C    5C            4C



    6C          5C            4C           2C



     4C         2C            6C           5C



    2C          4C            5C           6C
                                                    48
ในการหายใจระดับเซลล์ สารประกอบชนิดใดเป็ นสาร             Time
ตัวแรกที่เข้าสู่ ไมโทคอนเดรี ย                             r




    ไดไฮดรอกซี แอซิ โตน ฟอสเฟต        กรดไพรู วิก




       ฟอสโฟอีนอลไพรู เวต         แอซิ ติลโคเอนไซม์ เอ


                                                          49
The pathway of
electron transport
 ETC ประกอบด้ วย
 electron carrier
 molecules (ตัวรั บ e-)ที่ อยู่
 ใน inner mitochondrial
 membrane
 ตัวรั บ e- จะรับเฉพาะ e-
 H+ จะถูกปล่ อยออกมาและ
 ถูกส่ งออกไปที่
 intermembrane space
                                  50
O2 จะเป็ นตัวรั บ e- ตัวสุดท้ าย
แล้ วรวมกับ H+ กลายเป็ น H2O
½ O2 + 2e- + 2H+            H20

สรุ ปว่ า
ETC ไม่ ทาให้ สร้ าง ATP
โดยตรง แต่ ทาให้ เกิด H+
gradient ที่ผนังด้ านในของ
mitochondria ซึ่งทาให้ สะสม
พลังงานมากพอที่จะทาให้ เกิด
phosphorylation

                                    51
ATP synthase เป็ น
protein cmplex ทาหน้ าที่
สังเคราะห์ ATP ซึ่งจะทางานได้
โดยการไหลผ่ านของ H+
การสร้ าง ATP แบบนี ้
เรี ยกว่ า Chemiosmotic
ATP synthesis




                                52
Electron transport chain and oxidative phosphorylation




                                                  53
ตัวรับไฮโดรเจนในกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน คือ           Time
                                                           r



            NAD+                           O2




             FAD                   ทั้งข้อ ก , ข และ ค


                                                          55
ในกระบวนการหายใจระดับเซลล์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่           Time
ได้ส่วนใหญ่ได้มาจากแหล่งใด                                 r




          ไกลโคลิซิส           การสร้างแอซิ ติลโคเอนไซม์ เอ




      การถ่ายทอดอิเล็กตรอน           วัฏจักรเครบส์

                                                              56
Time
ในการหายใจระดับเซลล์ ออกซิเจนเข้าไปเกี่ยวข้องในช่วงใด                r




       การถ่ายทอดอิเล็กตรอน               วัฎจักรเครบส์



            ไกลโคลิซิส               การสร้างแอซิติลโคเอนไซม์ เอ


                                                                    57
Time
ในการหายใจแบบใช้ออกซิเจน แก๊สออกซิเจนทาหน้าที่ใด           r




         ตัวรับอิเล็กตรอน           เป็ นตัวรับโปรตอน



         ตัวให้อิเล็กตรอน        ตัวรับอิเล็กตรอนและโปรตอน


                                                             58
Review: how each molecules of glucose yields many
ATP molecules during cellular respiration




                                                    59
60
ในกระบวนการหายใจระดับเซลล์ ATP ซึ่งไม่ได้เกิดจาก   Time
กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้น มีกี่โมเลกุลหาก       r
เริ่ มต้นจากกลูโคส 1 โมเลกุล


               2                           6



               4                           8

                                                    61
การแยกสลายน้ าตาลกลูโคสในสิ่ งมีชีวตชั้นสูง
                                   ิ                           Time
กระบวนการที่ทาให้เกิดพลังงานมากที่สุด เกิดขึ้นที่บริ เวณ         r



           ไรโบโซม                      ผนังไมโทรคอนเดรี ยชั้นใน




   ผนังไมโทคอนเดรี ยชั้นนอก             ช่องว่างภายในไมโทรคอนเดรี ย


                                                                  62
เมื่อสิ้ นสุ ดกระบวนการหายใจแบบใช้ออกซิเจนในเซลล์   Time
ยูคาริ โอต จากกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้พลังงาน ATP       r
ทั้งหมดกี่โมเลกุล


               30                           34



               32                           38


                                                     63
เฉพาะในวัฏจักรเครบส์ 1 รอบ จะได้พลังงานเกิดขึ้นเท่าใด   Time
หลังจากผ่านการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแล้ว                       r




               2 ATP                        12 ATP




              13 ATP                        36 ATP


                                                         64
การคิดพลังงานที่ได้จากวัฏจักรเครบส์ ถ้าเริ่ มจากกลูโคส 1   Time
โมเลกุล จะได้พลังงานเท่าใด                                   r




              22 ATP                          32 ATP




               24 ATP                         36 ATP


                                                            65
Fermentation
     (Backup ATP production)

Glycolysis     Pyruvate        Lactate (animal)
                              CO2 + alcohol (yeast)

 หรือ อาจจะได้ product อื่นๆ ขึนอยู่กับ enzyme ใน
                               ้
 สิ่งมีชีวิตนัน
              ้


                                                    66
ผลของ fermentation จะได้ 2ATP
NADH ที่ได้ จาก fermantation จะถูก
เปลี่ยนเป็ น NAD+ เพื่อใช้ ใน glycolysis ได้




                                               67
Alcohol fermentation (yeast)




                               68
ในกระบวนการสลายกลูโคสของยีสต์ ถ้าขาดออกซิเจน              Time
มารับไฮโดรเจนสิ่ งที่จะเกิดขึ้นตามมา คือ                    r




     ปฏิกิริยาจะหยุดอยูแค่การ
                       ่         จะได้เอทิลแอลกอฮอล์และ
       ถ่ายทอดอิเล็กตรอน           คาร์บอนไดออกไซด์



                                   จะได้กรดแลกติกและ
   กระบวนการหยุดแค่กรดไพรู วิก
                                   คาร์บอนไดออกไซด์

                                                           69
การที่เราอาจหมักเหล้าไวน์ในขวดฝาปิ ดระบายแก๊สออก               Time
ได้ แต่แก๊สภายนอกเข้าไปไม่ได้ เพราะ                              r


          ยีสต์สามารถสลายอาหารได้โดยไม่ตองออกซิ เจน
                                        ้


                             ่
         ออกซิ เจนที่ละลายอยูมีพอแก่ความต้องการของยีสต์


      ยีสต์สามารถสลายโมเลกุลของน้ าแล้วนาเอาออกซิ เจนมาใช้


    ยีสต์สามารถสลายอาหารได้อย่างสมบูรณ์โดยไม่ตองใช้ออกซิ เจน
                                              ้
                                                                70
กระบวนการหายใจแบบใช้ออกซิเจนที่เกิดในแบคทีเรี ย   Time
บางชนิด จากกลูโคส 1 โมเลกุล ควรได้พลังงานจานวน      r
เท่าใด


               2                          36



               8                           38


                                                   71
Lactic acid fermentation (animal cell)




                                   72
เนื้อเยือสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสู งที่สามารถเกิดการ
        ่                                                    Time
หายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนได้เป็ นพิเศษ คือ                        r




           กล้ามเนื้อหัวใจ                   กล้ามเนื้อลาย




            กล้ามเนื้อเรี ยบ                     ม้าม


                                                              73
Pyruvate as a key junction in catabolism

                             ผลของ Glycolysis
                             คือ pyruvate ซึ่งจะ
                             ถูกเผาผลาญต่ อไปด้ วย
                             fermentation หรื อ
                             aerobic cellular
                             respiration แล้ วแต่
                             ว่ าจะอยู่ในภาวะที่มี O2
                             หรื อไม่ สาหรับเซลล์ ท่ ี
                             สามารถเกิด
                             กระบวนการหายใจได้
                             ทัง 2 แบบ
                                ้

                                                74
ถึงแม้ ว่า fermantation จะได้ พลังงานน้ อย แต่ กสาคัญเพราะว่ าทาให้
                                                    ็
ได้ ATP อย่ างรวดเร็ว ในร่ างกายของเรา muscle cell จะเกิด
fermentation มากในขณะที่ร่างกายทางานหนักในระยะเวลาสัน เช่ น วิ่ง้
fermentation เป็ นกระบวนการให้ เกิด ATP และ lactate ใน
muscle cell ในตอนแรก เมื่อมีจานวนมากขึนทาให้ เกิดอาการเมื่อยล้ า
                                               ้
เนื่องจากมีสภาพเป็ นกรดมาก เมื่อหยุดวิ่งร่ างกายหายใจแรงเป็ นการนาเอา
O2 มาใช้ เพิ่มมากขึน lactate จะถูกส่ งไปที่ตับ และถูกเปลี่ยนเป็ น
                   ้
pyruvate
ในเซลล์ ของยีส ถ้ ามี glucose จานวนมาก ยีสจะหายใจแบบ
anaerobic ได้ เป็ น alcohol เมื่อมี alcohol เพิ่มจานวนมากขึนจะทา
                                                           ้
ให้ ยีสตายได้
จากการที่ ค้นพบกระบวนการ fermentation จึงนามาใช้ ประโยชน์ ได้
มากมาย                                                      75
กระบวนการหายใจแบบใช้ออกซิเจน ให้พลังงานมากกว่า                                    Time
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน เพราะกระบวนการแบบหลัง                                     r


      เกิดขึ้นเฉพาะในสิ่ งมีชีวตชั้นต่า เช่น ยีสต์ และพืชซึ่งใช้พลังงานน้อยกว่า
                               ิ


               ต้องการออกซิ เจนเป็ นตัวรับไฮโดรเจนอะตอม


    ย่อยสลายโมเลกุลอินทรี ยสารได้พลังงานน้อยกว่ากระบวนการแรก


        เป็ นกระบวนการเคมีที่เกิดกับสารประกอบคาร์ โบไฮเดรต
                                                                                   76
แก๊สชีวภาพที่นามาใช้เป็ นเชื้อเพลิงแทนถ่านหรื อฟื นใน             Time
การหุงต้มอาหารตามชนบทนั้น เกิดจาก                                   r
ปฏิกิริยาของมูลสัตว์กบ ( 1 ) และแก๊สที่ได้คือ ( 2 )
                     ั

      ( 1 ) แบคทีเรี ยแอโรบิก         ( 1 ) แบคทีเรี ยแอนาโรบิก
      ( 2 ) แก๊สมีเทน ( CH4 )         ( 2 ) แก๊สมีเทน



      ( 1 ) แบคทีเรี ยแอโรบิก         ( 1 ) แบคทีเรี ยแอนาโรบิก
      ( 2 ) แก๊สออกซิ เจน             ( 2 ) แก๊สออกซิ เจน

                                                                   77
The catabolism of
various food molecules
ร่ างกายของเราได้ พลังงานส่ วน
ใหญ่ จาก fats, proteins,
disaccharides และ
polysaccharides ที่กน         ิ
เข้ าไป โมเลกุลเหล่ านีถกย่ อย
                        ู้
ให้ เป็ นโมเลกุลที่เล็กลงด้ วย
enzymes ซึ่งสามารถจะเข้ า
ไปในกระบวนการ
glycolysis หรื อ Krebs
cycle ได้

                          78
หากเริ่ มต้นจากกรดอะมิโนเข้าสู่กระบวนการหายใจระดับ               Time
เซลล์น้ น จะต้องผ่านกระบวนการใดมาก่อน
         ั                                                         r


        เปลี่ยนกรดอะมิโนให้เป็ นแอซิ ติลโคเอนไซม์ เอ เสี ยก่อน


                 เปลี่ยนกรดอะมิโนให้เป็ นกรดไพรู วิก


                  ขจัดหมู่คาร์ บอกซี ลออกไปเสี ยก่อน


               ขจัดหมู่อะมิโน ( - NH3 ) ออกไปเสี ยก่อน
                                                                  79
กำรสลำยไขมัน
กรดไขมันและกลีเซอรอลเมื่อลาเลียงเข้าสู่ เซลล์จะเป็ นสารตั้งต้น
ในกระบวนการสลายสารอาหาร โดยกลีเซอรอลเข้าสู่
กระบวนการในช่วงไกลโคไลซิ ส ส่ วนกรดไขมันจะมี
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยการตัดสายไฮโดรคาร์บอน
ออกทีละ 2 คาร์ บอนอะตอม สร้างเป็ น แอซีติลโคเอนไซม์ เอ เข้า
สู่วฏจักรเครปส์ต่อไป
    ั



                                                          80
ในการหายใจระดับเซลล์หากเริ่ มจากไขมัน จะต้องผ่าน        Time
กระบวนการใด                                               r


          แตกตัวออกเป็ นกรดไขมันกับกลีเซอรอลเสี ยก่อน


              ดึงคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากไขมัน


                      ดึงน้ าออกจากไขมัน


                  เข้าสู่ วฏจักเครบส์ได้โดยตรง
                           ั
                                                         81

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...Kruthai Kidsdee
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นbenjamars nutprasat
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 

Viewers also liked

Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
เลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟันเลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟันBallista Pg
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 

Viewers also liked (6)

Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
เลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟันเลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟัน
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 

Similar to Energy of cell mutipoint

การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์Issara Mo
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camappseper
 
Protein
Protein Protein
Protein 34361
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesIssara Mo
 

Similar to Energy of cell mutipoint (20)

การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
 

More from supreechafkk

วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการsupreechafkk
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioresupreechafkk
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

More from supreechafkk (13)

วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Light microscope
Light microscopeLight microscope
Light microscope
 

Energy of cell mutipoint