SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การปองกันเอดส
การปองกัน โรคเอดส
เราสามารถปองกัน โรคเอดส ได โดย
           1. ใชถุงยางอนามัยทุกครั้ง ที่มีเพศสัมพันธ
           2. รักเดียว ใจเดียว
           3. กอนแตงงาน หรือมีบุตร ควรตรวจรางกาย ตรวจเลือด และขอรับคําปรึกษา
เรื่อง โรคเอดส จากแพทยกอน
           4. งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล และงดใชสารเสพติดทุกชนิด
ถุงยางอนามัย ปองกัน โรคเอดส ไดแคไหน
           ถุงยางอนามัย สามารถปองกัน โรคเอดส ไดแนนอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการใชวา
ถูกตองหรือไม เชน ถุงยางมีคุณภาพดีพอหรือไม หมดอายุการใชงานหรือยัง โดยปกติใหดู
จากวันผลิตไมเกิน 3 ป หรือดูวันหมดอายุที่ซอง ซองตองไมชํารุด หรือฉีกขาด นอกจากนี้
ตองเลือกขนาดใชใหเหมาะสม ถาขนาดไมพอดี ก็อาจฉีดขาด หรือหลุดออกงาย ซึ่งจะไม
สามารถปองกัน โรคเอดส อยางไดผล
เอดส
    เอดส หรือ AIDS (Acquired Immune
    Deficiency Syndrome) เปนกลุมอาการของ
    โรค ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส ซึ่งจะเขาไปทําลายเม็ด
    เลือกขาว ซึ่งเปนแหลงสรางภูมิคุมกันโรค ทําใหติดเชื้อโรค
    อื่นๆ ไดงายขึ้น เชน วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุมสมองอักเสบ
    หรือเปนมะเร็งบางชนิดไดงายกวาคนปกติ อาการจะรุนแรง
    และเปนสาเหตุสําคัญของการเสียชีวิต
อาการของเอดส
    1. ระยะไมมีอาการ ผูติดเชื้อจะมีสุขภาพแข็งแรง ไมมี
    อาการผิดปกติแตอยางใด ผูติดเชื้อสวนใหญจะอยูใน
    ระยะนี้ และบางคนไมทราบวา ตัวเองติดเชื้อ จึงอาจแพร
    เชื้อไปสูผูอื่นได
    2. ระยะมีอาการ ผูติดเชื้อสวนใหญจะเริ่มแสดงอาการ
    ภายหลังจากไดรับเชื้อประมาณ 7-8 ป แบงเปน 2
    ระยะ คือ
    - ระยะเริ่มปรากฎอาการ อาการที่พบคือ มีเชื้อราในปาก
    ตอมน้ําเหลืองโต งูสวัด มีไข ทองเสีย น้ําหนักลด มีตุม
    คันบริเวณผิวหนัง
    - ระยะโรคเอดส เปนระยะที่มีภูมิตานทานลดลงมาก ทํา
    ใหติดโรคติดเชื้อฉวยโอกาสไดงายขึ้น เชน วัณโรค
    ปอดบวม เยื่อหุมสมองอักเสบ เปนตน
เอดสติดตอกันไดอยางไร
  1. การรวมเพศ โดยไมใชถุงยางอนามัย ไมวาชายกับชาย ชายกับหญิง หรือ
 หญิงกับหญิง ทั้งชองทางธรรมชาติ หรือไมธรรมชาติ ก็ลวนมีโอกาสติดโรคนี้
 ไดทั้งสิ้น และปจจัยที่ทําใหมีโอกาสติดเชื้อมากขึ้น ไดแก การมีแผลเปด และ
 จากขอมูลของสํานักระบาดวิทยา ประมาณรอยละ 84 ของผูปวยเอดส ไดรับ
                             เชื้อจากการมีเพศสัมพันธ
                              2. การรับเชื้อทางเลือด
 - ใชเข็มหรือกระบอกฉีดยารวมกับผูติดเชื้อเอดส มักพบในกลุมผูฉีดยาเสพติด
และหากคนกลุมนี้ติดเชื้อ ก็สามารถถายทอดเชื้อเอดส ทางเพศสัมพันธไดอีกทาง
                                        หนึ่ง
  - รับเลือดในขณะผาตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด ในปจจุบันเลือดที่
  ไดรับบริจาคทุกขวด ตองผานการตรวจหาการติดเชื้อเอดส และจะปลอดภัย
                                   เกือบ 100%
 3. ทารก ติดเชื้อจากแมที่ติดเชื้อเอดส การแพรเชื้อจากแมสูลูก ผูหญิงที่ติดเชื้อ
เอดส หากตั้งครรภ และไมไดรับการดูแลอยางดี เชื้อเอช ไอ วี จะแพรไปยังลูก
 ได ในอัตรารอยละ 30 จากกรณีเกิดจากแมติดเชื้อ จึงมีโอกาสที่จะรับเชื้อเอช
                                   ไอ วี จากแมได
โรคเอดส
       โรคเอดส หรือ โรคภูมิคุมกันบกพรอง (Acquired Immune
 Deficiency Syndrome – AIDS) เปนกลุมอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้น
  เพราะรางกายไดรับเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) ซึ่งจะเขาไปทําลายเม็ดเลือดขาว ที่
เปนแหลงสรางภูมิคุมกันโรค ทําใหภูมิคุมกันโรคลดนอยลง จึงทําใหติดเชื้อโรคฉวย
โอกาสแทรกซอนเขาสูรางกายไดงายขึ้น เชน วัณโรคในปอด หรือตอมน้ําเหลือง เยื่อ
 หุมสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบางชนิด หรือเปนมะเร็งบางชนิดไดงายกวา
คนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสตางๆ เหลานี้
                  ทําใหอาการจะรุนแรง และเสียชีวิตอยางรวดเร็ว
ปจจุบันโรคเอดสมีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการวามีผูเสียชีวิตเนื่องจากโรค
 เอดส อยางนอย 25 ลานคน ตั้งแตถูกคนพบในป พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981)
นับเปนโรคที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งของประวัติศาสตรมนุษยชาติ ในป พ.ศ. 2548
    ประมาณการวามีผูติดโรคเอดสประมาณ 3.1 ลานคน(ระหวาง 2.8 – 3.6
 ลาน) ซึ่ง 570,000 คนของผูปวยโรคเอดสเปนเด็ก (UNAIDS, 2005)

More Related Content

What's hot

การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsNamchai Chewawiwat
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 

What's hot (17)

Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine programPediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
STD
STD STD
STD
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 

Viewers also liked (20)

Parte vii
Parte viiParte vii
Parte vii
 
Parte viii
Parte viiiParte viii
Parte viii
 
Parte vi
Parte viParte vi
Parte vi
 
Parte ii
Parte iiParte ii
Parte ii
 
Parte iii
Parte iiiParte iii
Parte iii
 
Developing the organziation
Developing the organziationDeveloping the organziation
Developing the organziation
 
Kindergarten registration key points 2012 v_jan20
Kindergarten registration key points 2012 v_jan20Kindergarten registration key points 2012 v_jan20
Kindergarten registration key points 2012 v_jan20
 
Parte iv
Parte ivParte iv
Parte iv
 
Parte ii
Parte iiParte ii
Parte ii
 
Phieu khaosat&phongvan
Phieu khaosat&phongvanPhieu khaosat&phongvan
Phieu khaosat&phongvan
 
Parte iii
Parte iiiParte iii
Parte iii
 
Bimat fatima
Bimat fatimaBimat fatima
Bimat fatima
 
Bimat_Fatima
Bimat_FatimaBimat_Fatima
Bimat_Fatima
 
Bimat_Fatima
Bimat_FatimaBimat_Fatima
Bimat_Fatima
 
Bimat fatima
Bimat fatimaBimat fatima
Bimat fatima
 
Appreciative Inquiry Presentation
Appreciative Inquiry PresentationAppreciative Inquiry Presentation
Appreciative Inquiry Presentation
 
Copa+do+mundo+1994
Copa+do+mundo+1994Copa+do+mundo+1994
Copa+do+mundo+1994
 
Parceria ofertarada
Parceria ofertaradaParceria ofertarada
Parceria ofertarada
 
Assembleia da Região Episcopal Belém - Um caminho a ser percorrido
Assembleia da Região Episcopal Belém - Um caminho a ser percorridoAssembleia da Região Episcopal Belém - Um caminho a ser percorrido
Assembleia da Região Episcopal Belém - Um caminho a ser percorrido
 
Circulodoodio
CirculodoodioCirculodoodio
Circulodoodio
 

Similar to 1129

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 

Similar to 1129 (20)

โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 

1129

  • 1.
  • 2. การปองกันเอดส การปองกัน โรคเอดส เราสามารถปองกัน โรคเอดส ได โดย 1. ใชถุงยางอนามัยทุกครั้ง ที่มีเพศสัมพันธ 2. รักเดียว ใจเดียว 3. กอนแตงงาน หรือมีบุตร ควรตรวจรางกาย ตรวจเลือด และขอรับคําปรึกษา เรื่อง โรคเอดส จากแพทยกอน 4. งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล และงดใชสารเสพติดทุกชนิด ถุงยางอนามัย ปองกัน โรคเอดส ไดแคไหน ถุงยางอนามัย สามารถปองกัน โรคเอดส ไดแนนอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการใชวา ถูกตองหรือไม เชน ถุงยางมีคุณภาพดีพอหรือไม หมดอายุการใชงานหรือยัง โดยปกติใหดู จากวันผลิตไมเกิน 3 ป หรือดูวันหมดอายุที่ซอง ซองตองไมชํารุด หรือฉีกขาด นอกจากนี้ ตองเลือกขนาดใชใหเหมาะสม ถาขนาดไมพอดี ก็อาจฉีดขาด หรือหลุดออกงาย ซึ่งจะไม สามารถปองกัน โรคเอดส อยางไดผล
  • 3. เอดส เอดส หรือ AIDS (Acquired Immune Deficiency Syndrome) เปนกลุมอาการของ โรค ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส ซึ่งจะเขาไปทําลายเม็ด เลือกขาว ซึ่งเปนแหลงสรางภูมิคุมกันโรค ทําใหติดเชื้อโรค อื่นๆ ไดงายขึ้น เชน วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุมสมองอักเสบ หรือเปนมะเร็งบางชนิดไดงายกวาคนปกติ อาการจะรุนแรง และเปนสาเหตุสําคัญของการเสียชีวิต
  • 4. อาการของเอดส 1. ระยะไมมีอาการ ผูติดเชื้อจะมีสุขภาพแข็งแรง ไมมี อาการผิดปกติแตอยางใด ผูติดเชื้อสวนใหญจะอยูใน ระยะนี้ และบางคนไมทราบวา ตัวเองติดเชื้อ จึงอาจแพร เชื้อไปสูผูอื่นได 2. ระยะมีอาการ ผูติดเชื้อสวนใหญจะเริ่มแสดงอาการ ภายหลังจากไดรับเชื้อประมาณ 7-8 ป แบงเปน 2 ระยะ คือ - ระยะเริ่มปรากฎอาการ อาการที่พบคือ มีเชื้อราในปาก ตอมน้ําเหลืองโต งูสวัด มีไข ทองเสีย น้ําหนักลด มีตุม คันบริเวณผิวหนัง - ระยะโรคเอดส เปนระยะที่มีภูมิตานทานลดลงมาก ทํา ใหติดโรคติดเชื้อฉวยโอกาสไดงายขึ้น เชน วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุมสมองอักเสบ เปนตน
  • 5. เอดสติดตอกันไดอยางไร 1. การรวมเพศ โดยไมใชถุงยางอนามัย ไมวาชายกับชาย ชายกับหญิง หรือ หญิงกับหญิง ทั้งชองทางธรรมชาติ หรือไมธรรมชาติ ก็ลวนมีโอกาสติดโรคนี้ ไดทั้งสิ้น และปจจัยที่ทําใหมีโอกาสติดเชื้อมากขึ้น ไดแก การมีแผลเปด และ จากขอมูลของสํานักระบาดวิทยา ประมาณรอยละ 84 ของผูปวยเอดส ไดรับ เชื้อจากการมีเพศสัมพันธ 2. การรับเชื้อทางเลือด - ใชเข็มหรือกระบอกฉีดยารวมกับผูติดเชื้อเอดส มักพบในกลุมผูฉีดยาเสพติด และหากคนกลุมนี้ติดเชื้อ ก็สามารถถายทอดเชื้อเอดส ทางเพศสัมพันธไดอีกทาง หนึ่ง - รับเลือดในขณะผาตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด ในปจจุบันเลือดที่ ไดรับบริจาคทุกขวด ตองผานการตรวจหาการติดเชื้อเอดส และจะปลอดภัย เกือบ 100% 3. ทารก ติดเชื้อจากแมที่ติดเชื้อเอดส การแพรเชื้อจากแมสูลูก ผูหญิงที่ติดเชื้อ เอดส หากตั้งครรภ และไมไดรับการดูแลอยางดี เชื้อเอช ไอ วี จะแพรไปยังลูก ได ในอัตรารอยละ 30 จากกรณีเกิดจากแมติดเชื้อ จึงมีโอกาสที่จะรับเชื้อเอช ไอ วี จากแมได
  • 6. โรคเอดส โรคเอดส หรือ โรคภูมิคุมกันบกพรอง (Acquired Immune Deficiency Syndrome – AIDS) เปนกลุมอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้น เพราะรางกายไดรับเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) ซึ่งจะเขาไปทําลายเม็ดเลือดขาว ที่ เปนแหลงสรางภูมิคุมกันโรค ทําใหภูมิคุมกันโรคลดนอยลง จึงทําใหติดเชื้อโรคฉวย โอกาสแทรกซอนเขาสูรางกายไดงายขึ้น เชน วัณโรคในปอด หรือตอมน้ําเหลือง เยื่อ หุมสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบางชนิด หรือเปนมะเร็งบางชนิดไดงายกวา คนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสตางๆ เหลานี้ ทําใหอาการจะรุนแรง และเสียชีวิตอยางรวดเร็ว ปจจุบันโรคเอดสมีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการวามีผูเสียชีวิตเนื่องจากโรค เอดส อยางนอย 25 ลานคน ตั้งแตถูกคนพบในป พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) นับเปนโรคที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งของประวัติศาสตรมนุษยชาติ ในป พ.ศ. 2548 ประมาณการวามีผูติดโรคเอดสประมาณ 3.1 ลานคน(ระหวาง 2.8 – 3.6 ลาน) ซึ่ง 570,000 คนของผูปวยโรคเอดสเปนเด็ก (UNAIDS, 2005)