SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
สมบัติของของเหลว แรงตึงผิวและน้ํากลิ้งบนใบบัว เสื้อกันน้ําเกี่ยวของกันอยางไร

        ทําไมน้ําจึงกลิงบนใบบัวการที่จะเขาใจรากฎการณดังกลาวตองเขาใจสมบัติของน้ํา ตามทฤษฏีนั้น
                       ้
เราจะเปรียบเทียบพื้นผิวของสารเพื่อที่จะดูวาแรงอะไร ทําใหลักษณะของสารนั้นๆเปลี่ยนแปลงไปอยางไร
โดยทั่วไปเราจะพูดถึง แรงทีมีผลตอการยึดติดกันของสาร ซึ่งหากเปนสารชนิดเดียวกัน(ยึดเหนี่ยวโมเลกุล
                          ่
กัน) เราจะเรียกวาแรง Cohesion และถาเปนแรงยึดเหนี่ยวของสารตางชนิดกันจะเรียกวาแรง Adhesion โดย
การทดลองทั่วไปที่เห็นไดงายที่สุดก็คือการทดลองดูน้ําในหลอดแกว

        ซึ่งจะเห็นไดวา หากเทียบแรงของดานพื้นผิวแลวเราจะพบวามีแรง ทีผิวหนาของน้ําอยูสองแรง คือ
                                                                      ่
แรงที่โมเลกุลของน้ําที่เชื่อมกัน Cohesion และแรงของโมเลกุลของน้ําและอากาศ Adhesion โดยเมื่อนําแรง
ทั้งสองแรงนี้มาหักลางกันแลวจะพบวา แรงของน้ําที่ยึดเหนี่ยวกันเองหรือ Cohesion จะมีแรงมากกวาแรง
ของน้ําที่ยึดกับอากาศ โดยมีทิศทางแสดงดังนี้คือ

        แรงของน้ํากับอากาศคือดานบน และแรงยึดกันเองของน้าจะอยูดานลาง ดังนั้นเมื่อแรงดึงดูดของ
                                                        ํ     
โมเลกุลของน้ําดวยกันเองหรือ Cohesion มีมากกวา แสดงวาน้ําจะมีแนวโนมเวาลงตามแรงยึดกันเองของน้ํา
ที่โมเลกุลดานลาง ยึดโมเลกุลดานบนทําใหเกิดการดึงของน้ําโมเลกุลดานบนลงมาดานลาง (เทียบผิวหนาสุด
ของน้ําที่ถูกดึงลง) ซึ่งโมเลกุลของน้ํา จะมีการปรับตัวเนืองจากมีแรง Cohesion ที่มาก ดังนั้นโมเลกุลของน้ํา
                                                        ่
จะเกิดแรงตึงผิว Surface Tension ซึ่งทําใหน้ํามีสภาพคงตัว (โมเลกุลของเหลวของน้า อยูที่ผิวหนาของน้ําได)
                                                                              ํ

        จากสมบัติดังกลาวของของเหลว(ในที่น้คอน้ํา) จะอธิบายวาเหตุใดน้ําบนใบบัวจึงมีลักษณะคอนขาง
                                           ีื
กลมและกลิ้งไปกลิ้งมาบนใบบัวได

        จากโครงสรางของใบบัวซึ่งเมื่อดูผิวหนาใบจากกลองจุลทรรศนพบวามีลักษณะ คลายหนามเล็กๆ
จํานวนมาก ซึงแตละอันมีขนาดเล็กเปนนาโนเมตร ดังนันผิวใบบัวจึงขรุขระ ไมเรียบ เมื่อน้ําหยดลงใบบัว
            ่                                    ้
แลวไมมลักษณะเรียบแบนเนื่องมาจาก ผลของแรงระหวาง ผิวโมเลกุลของน้ํากับผิวของใบบัว แรงระหวาง
        ี
น้ํากับอากาศ Adhesion และแรงของโมเลกุลน้ําจับกันเอง Cohesion

        โดยเมื่อเทียบ แรงของน้ํากับอากาศ(ที่ผิวหนา) พบวาแรงCohesion ของน้ํามีมากกวา รวมไปถึงการที่
พื้นผิวของใบบัวนั้นขรุขระทําใหเกิดแรง Adhesion ระหวางโมเลกุลน้ํากับใบบัวนอย (สัมผัสกันนอยลง)
สงผลใหโมเลกุลของน้ําจับกันเองแลวมวนตัวกลายเปนกอนกลมเนื่องจากแรงตึงผิว (แรงของน้ํากระทํา
กันเอง) และทีน้ํากลิ้งบนใบบัวเนื่องมาจากใบบัวบัวมีสารเคลือบคลายแวกซ ซึ่งเปนผลทําใหน้ํากระจายไป
             ่
บนใบบัวไมได เพราะสารเคลือบบนใบบัวเปนสารจําพวก Hydrophobic ไมชอบน้ําดังนั้นน้ําจึงเกาะกันเปน
กอนกลม (เวลาน้ํากลิ้งไปทางไหน น้ําจะตองเกาะกลุมกันไป) เกิดเปนน้ํากลิ้งบนใบบัว

         ปรากฏการณดงกลาวยังสามารถนํามาพัฒนาเปนเสื้อกันน้ําได โดยการที่ทําใหเนื้อผามีลักษณะ
                    ั
เหมือนพืนผิวของใบบัว ซึ่งหากผาโดนน้า น้ําจะกลิ้งออกไป ไมซมเขาเนื้อผา ซึ่งคุณสมบัตินี้อาจปองกันการ
        ้                           ํ                      ึ
ซึมของเหงื่อเขาสูเนื้อผาได

         แนนอนวาการที่จะทําใหเนื้อผานั้นมีสมบัติเหมือนใบบัวตองผลิตวัตถุดิบที่ใชผลิตเนือผาในระดับ
                                                                                            ้
นาโนเมตร(ขนาดเทากับขนาดของหนามขรุขระของใบบัว)

         ทั้งหมดนี้คือ ปรากฏการณทางธรรมชาติ ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชใหเกิดประโยชนใน
ชีวิตประจําวันไดอีกดวย

                                          นาย คุณตะวัน ศิลปเสวีกุล        53010710061

                                          นางสาว ณัฐพร สิงหนาท             53010710072

                                          คณะเภสัชศาสตร สาขาบริบาลเภสัชกรรม ชั้นปที่ 2

More Related Content

What's hot

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนadriamycin
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 

What's hot (20)

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 

Similar to น้ำกลิ้งบนใบบัว

Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Icxise RevenClaw
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555adriamycin
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกadriamycin
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลChirawat Samrit
 
Slide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfSlide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfadriamycin
 

Similar to น้ำกลิ้งบนใบบัว (9)

Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
 
Fluids
FluidsFluids
Fluids
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตก
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
Slide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfSlide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdf
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 

More from adriamycin

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555adriamycin
 
Dissolution2555
Dissolution2555Dissolution2555
Dissolution2555adriamycin
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555adriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าadriamycin
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกadriamycin
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายadriamycin
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัวadriamycin
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นadriamycin
 

More from adriamycin (20)

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555
 
Dissolution2555
Dissolution2555Dissolution2555
Dissolution2555
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Stability
StabilityStability
Stability
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 

น้ำกลิ้งบนใบบัว

  • 1. สมบัติของของเหลว แรงตึงผิวและน้ํากลิ้งบนใบบัว เสื้อกันน้ําเกี่ยวของกันอยางไร ทําไมน้ําจึงกลิงบนใบบัวการที่จะเขาใจรากฎการณดังกลาวตองเขาใจสมบัติของน้ํา ตามทฤษฏีนั้น ้ เราจะเปรียบเทียบพื้นผิวของสารเพื่อที่จะดูวาแรงอะไร ทําใหลักษณะของสารนั้นๆเปลี่ยนแปลงไปอยางไร โดยทั่วไปเราจะพูดถึง แรงทีมีผลตอการยึดติดกันของสาร ซึ่งหากเปนสารชนิดเดียวกัน(ยึดเหนี่ยวโมเลกุล ่ กัน) เราจะเรียกวาแรง Cohesion และถาเปนแรงยึดเหนี่ยวของสารตางชนิดกันจะเรียกวาแรง Adhesion โดย การทดลองทั่วไปที่เห็นไดงายที่สุดก็คือการทดลองดูน้ําในหลอดแกว ซึ่งจะเห็นไดวา หากเทียบแรงของดานพื้นผิวแลวเราจะพบวามีแรง ทีผิวหนาของน้ําอยูสองแรง คือ  ่ แรงที่โมเลกุลของน้ําที่เชื่อมกัน Cohesion และแรงของโมเลกุลของน้ําและอากาศ Adhesion โดยเมื่อนําแรง ทั้งสองแรงนี้มาหักลางกันแลวจะพบวา แรงของน้ําที่ยึดเหนี่ยวกันเองหรือ Cohesion จะมีแรงมากกวาแรง ของน้ําที่ยึดกับอากาศ โดยมีทิศทางแสดงดังนี้คือ แรงของน้ํากับอากาศคือดานบน และแรงยึดกันเองของน้าจะอยูดานลาง ดังนั้นเมื่อแรงดึงดูดของ ํ  โมเลกุลของน้ําดวยกันเองหรือ Cohesion มีมากกวา แสดงวาน้ําจะมีแนวโนมเวาลงตามแรงยึดกันเองของน้ํา ที่โมเลกุลดานลาง ยึดโมเลกุลดานบนทําใหเกิดการดึงของน้ําโมเลกุลดานบนลงมาดานลาง (เทียบผิวหนาสุด ของน้ําที่ถูกดึงลง) ซึ่งโมเลกุลของน้ํา จะมีการปรับตัวเนืองจากมีแรง Cohesion ที่มาก ดังนั้นโมเลกุลของน้ํา ่ จะเกิดแรงตึงผิว Surface Tension ซึ่งทําใหน้ํามีสภาพคงตัว (โมเลกุลของเหลวของน้า อยูที่ผิวหนาของน้ําได) ํ จากสมบัติดังกลาวของของเหลว(ในที่น้คอน้ํา) จะอธิบายวาเหตุใดน้ําบนใบบัวจึงมีลักษณะคอนขาง ีื กลมและกลิ้งไปกลิ้งมาบนใบบัวได จากโครงสรางของใบบัวซึ่งเมื่อดูผิวหนาใบจากกลองจุลทรรศนพบวามีลักษณะ คลายหนามเล็กๆ จํานวนมาก ซึงแตละอันมีขนาดเล็กเปนนาโนเมตร ดังนันผิวใบบัวจึงขรุขระ ไมเรียบ เมื่อน้ําหยดลงใบบัว ่ ้ แลวไมมลักษณะเรียบแบนเนื่องมาจาก ผลของแรงระหวาง ผิวโมเลกุลของน้ํากับผิวของใบบัว แรงระหวาง ี น้ํากับอากาศ Adhesion และแรงของโมเลกุลน้ําจับกันเอง Cohesion โดยเมื่อเทียบ แรงของน้ํากับอากาศ(ที่ผิวหนา) พบวาแรงCohesion ของน้ํามีมากกวา รวมไปถึงการที่ พื้นผิวของใบบัวนั้นขรุขระทําใหเกิดแรง Adhesion ระหวางโมเลกุลน้ํากับใบบัวนอย (สัมผัสกันนอยลง) สงผลใหโมเลกุลของน้ําจับกันเองแลวมวนตัวกลายเปนกอนกลมเนื่องจากแรงตึงผิว (แรงของน้ํากระทํา กันเอง) และทีน้ํากลิ้งบนใบบัวเนื่องมาจากใบบัวบัวมีสารเคลือบคลายแวกซ ซึ่งเปนผลทําใหน้ํากระจายไป ่
  • 2. บนใบบัวไมได เพราะสารเคลือบบนใบบัวเปนสารจําพวก Hydrophobic ไมชอบน้ําดังนั้นน้ําจึงเกาะกันเปน กอนกลม (เวลาน้ํากลิ้งไปทางไหน น้ําจะตองเกาะกลุมกันไป) เกิดเปนน้ํากลิ้งบนใบบัว ปรากฏการณดงกลาวยังสามารถนํามาพัฒนาเปนเสื้อกันน้ําได โดยการที่ทําใหเนื้อผามีลักษณะ ั เหมือนพืนผิวของใบบัว ซึ่งหากผาโดนน้า น้ําจะกลิ้งออกไป ไมซมเขาเนื้อผา ซึ่งคุณสมบัตินี้อาจปองกันการ ้ ํ ึ ซึมของเหงื่อเขาสูเนื้อผาได แนนอนวาการที่จะทําใหเนื้อผานั้นมีสมบัติเหมือนใบบัวตองผลิตวัตถุดิบที่ใชผลิตเนือผาในระดับ ้ นาโนเมตร(ขนาดเทากับขนาดของหนามขรุขระของใบบัว) ทั้งหมดนี้คือ ปรากฏการณทางธรรมชาติ ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชใหเกิดประโยชนใน ชีวิตประจําวันไดอีกดวย นาย คุณตะวัน ศิลปเสวีกุล 53010710061 นางสาว ณัฐพร สิงหนาท 53010710072 คณะเภสัชศาสตร สาขาบริบาลเภสัชกรรม ชั้นปที่ 2