SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
ความหมายจริยศาสตร์

                                                      โดย อิจรลาลีย์

เชิงภาษา จริยะในภาษาอาหรับตรงกับคำาว่า อัล-อัคลาค ซึงในรูปศัพท์
                                                          ่
แล้ว คำาว่า “ อัคลาก” เป็น พหูพจน์ของ อัล-คุลุก หมายถึง สัญชาติ
ญาณ ความเคยชิน ธรรมชาติที่มีอยูในตัวมนุษย์ สิ่งที่ประพฤติปฏิบัติอยู่
                                   ่
เป็นประจำา คำาว่า “ คุลุก” มีปรากฏอยู่ในพระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน อยู่ 2
ที่ ดังในบท อัล-กอลัม ดำารัสที่วา
                                ่

     " และแท้จริงเจ้านั้น อยู่บนคุณธรรมอันยิ่งใหญ่่ " ( 68/4 )

และในบท อัชชุอะรออฺ ดำารัสทีว่า
                            ่

 " นี่ไม่ใช่อะไรอื่นนอกจากเป็นเรื่องโกหกในสมัยก่อนๆ" ( 19 / 137 )

พระดำารัสของอัลลอฮ ทีปรากฏคำาว่า “คุลุก” ในสองที่นี้ ให้ความหมาย
                         ่
ต่างกัน ดังปรากฏว่าในที่แรก เป็นการกล่าวในลักษณะสรรเสริญ ชมเชย
ฐานะเป็นบรรทัดฐานพฤติกรรม คุณธรรมหรือจริยธรรมในที่นี้มาจากพระ
ผู้เป็นเจ้า ซึ่งพระองค์ทรงประทานผ่านเทวทูตแห่งพระองค์ แก่หัวใจ
ของท่านศาสดามุฮัมหมัด เพื่อบัญชาให้ทานยึดถือเป็นคุณธรรมประจำา
                                         ่
ตัวท่านและเป็นแบบฉบับอันดีงามแก่ ผู้ติดตามท่านในภายหลัง หมาย
ถึงเมื่อพระองค์ทรงประทานอัลกุรอานเป็นบทบัญัติแห่งพระองค์แก่ท่าน
ศาสดา แล้ว ท่านศาสดามีน้าที่โดยสมบูรณ์ในการปฏิบัติตามสิ่งที่
พระองค์ทรงบอกกล่าวไว้ใน พระคัมภีร์ ซึงแน่นอนว่าพฤติกรรมทั้งหมด
                                      ่
ของท่านล้วนเป็นอรรถาธิบายที่ลึกซึ้ง ละเอียดลออแก่พระคัมภีร์ จึงสรุป
ได้ว่า คำาว่า “คุลุก” ในความหมายแรก หมายถึง ธรรมชาติประจำาตัว
มนุษย์ ความเคยชิน สัญชาติญาณ ทีอัลลอฮ ทรงกำาหนดไว้เป็น
                                   ่
ธรรมชาติของความเป็นมนุษย์

ขณะที่อีกพระดำารัสหนึ่งเป็นการกล่าวบรรยายถึงคุณลักษณะที่สืบต่อกัน
มาของชน รุ่นก่อน กล่าวคือเป็นธรรมเนียมประเพณี สืบต่อกันมาจากชน
ก่อนหน้าท่านศาสดาฮู๊ด อะลัยฮิสสลาม ( Hud ) ทีทำาหน้าที่เชิญชวน
                                                  ่
ตักเตือน แต่แล้วกลุ่มชนของท่านกลับตอบรับท่านด้วยการปฏิเสธและ
เย้ยหยัน โดยกล่าวอ้างว่าสิ่งทีท่านนำามานั้นเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของ
                              ่
ชนรุ่นก่อนๆ
จริยธรรมในเชิงภาษาแล้วจึงหมายความถึง ภาคแสดงภายในของมนุษย์
ซึ่งก็คืออุปนิสัย หรือ ธรรมชาติตัวตนที่แท้จริงของบุคคลนั้นๆ ส่วนภาค
แสดงภายนอกนั้น เรียกว่า พฤติกรรม หรือความประพฤติ ทีเปิดเผยและ
                                                          ่
แสดงออกมา หากเป็นพฤติกรรมที่ดี ก็ถือว่ามีจริยธรรม และหากเป็น
พฤติกรรมตรงกันข้าม ก็ถือว่าไร้จริยธรรม ดังนั้น ความประพฤติจึงถือ
เป็นเครื่องหมายบ่งชี้ถึงอุปนิสัยภายในและพฤติกรรมภาย นอก

ความหมายสากล

คือ ศาสตร์ทว่าด้วยเรื่องของชีวิตที่มีจริยธรรม สนับสนุนให้รู้จักจุดมุ่ง
            ี่
หมายของชีวิต ชี้แจงถึงกฏเกณฑ์การตัดสินและมาตรวัดระดับจริยธรรม
เป็นศาสตร์ที่อธิบายถึงความหมายของความดีและความชั่ว ดีคืออะไร
ไม่ดีคืออะไร แบบอย่างอันสูงส่งทีมนุษย์พึงยึดถือปฏิบัติตามคืออะไร
                                 ่
จริยศาสตร์ศึกษาว่า อะไรควรเว้น อะไรควรทำา อะไรผิด อะไรถูก อะไรดี
อะไรชั่ว โดยเปรียบเทียบความประพฤตินั้นกับความดีเลิศทั้งหลาย

กล่าวโดยสรุปคือ “เป็นศาสตร์ที่นำาพาสู่หนทางที่พึงกระทำา สู่สิ่งที่พึงจะ
เป็น” จริยศาสตร์จึงถือเป็นตัวแปรสำาคัญในการชี้นำาบุคคลให้อยูบน ่
รากฐานการตัดสินใจ ที่มั่นคง แน่วแน่ ไม่คล้อยตามอารมณ์และความ
ต้องการของตน เป็นศาสตร์ที่วาด้วยอุดมคติอันสูงสุดที่มีความสัมพันธ์
                              ่
อยู่กับชีวิตมนุษย์

จริยศาสตร์ (Ethics) หมายถึงสาขาหนี่งของปรัชญาทีว่าด้วยการ
                                                 ่
แสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ การแสวงหากฎเกณฑ์ในการ
ตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไรถูก ไม่ถูก ดี ไม่ดี ควร ไม่ควร
จะพิจารณาของคุณค่าทางศีลธรรม (ราชบัณฑิตยสถาน,2540:34)

สำาหรับคำานิยามเฉพาะของจริยศาสตร์ อิสลาม คือ ศาสตร์ที่ประมวลไว้
ด้วยเรื่องของคำาพูด การกระทำา ทีจำาเป็นต้องตั้งอยู่บนมูลฐาน กฎเกณฑ์
                                ่
กติกามารยาท ทีสอดคล้องและสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับคัมภีร์ขอ
                ่
งอัลลอฮ และแนวทางการปฏิบัติของท่านศาสดามุฮัมหมัด
จริยธรรมจึงไม่ได้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของศาสนาแต่เป็นแก่นแท้ เป็นจิต
วิญญาณของอิสลาม

พฤติกรรมตามธรรมชาติของมนุษย์
พฤติกรรม คือ การกระทำาตามเจตจำานงค์ เพื่อให้เกิดผลดังที่ตั้งเจตนา
ไว้ การกระทำาที่เป็นผลจากเจตจำานงค์ จากความคิด ความตั้งใจของผู้
กระทำาเท่านั้นที่เรียกว่าพฤติกรรม และเป็นการกระทำาที่แบ่งแยกระหว่าง
มนุษย์กับสัตว์ เพราะสัตว์มีเพียงการกระทำาที่มาจากสัญชาติญาณ
เท่านั้น และมนุษย์เป็นผลจากการผสมผสานระหว่างดินและวิญญาณ จึง
เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่พร้อมประพฤติในด้านดีและด้านไม่ดีอย่างเท่า
เทียม หากแต่มนุษย์ทุกคนถูกสร้างมาพร้อมกับการมีสิทธิ์เลือกอย่างเสรี
ระหว่างสิ่ง ดีและสิ่งไม่ดี ดังปรากฏในพระคัมภีร์ ว่า

"พระองค์ทรงดลใจชีวิตให้รู้ทางดีและทางชั่ว" ( อัชชัมซฺ 91/ 8 )

"และเรา( อัลลอฮ )ได้ชี้แนะทางแห่งความดีและความชั่วให้แก่เขา
แล้ว" (อัลบะลัด 90 /10 )

พลังธรรมชาติที่ฝังอยู่ในมนุษย์ทุกคน คือ พลังแห่งสติปัญญา พลังแห่ง
ความคิด ใครทีใช้สติปัญญาในการขัดเกลาตนเอง ทำาให้ตนบริสุทธิ์จาก
                ่
สิ่งไม่ดีทั้งหลาย นันย่อมแสดงถึงชัยชนะ ส่วนใครที่ดับพลังสติปัญญานี้
                    ่
ย่อมพบกับความผิดหวังและขาดทุน

แน่นอนผู้ที่ขัดเกลาชีวิต ย่อมได้รบความสำาเร็จ และแน่นอนผู้หมกมุ่นใน
                                 ั
การชั่ว ย่อมล้มเหลว(อัชชัมซฺ91/9-10)

จะเห็นได้ว่า พฤติกรรมมนุษย์เป็นเรื่องที่เปลียนแปลงได้เสมอ หากได้
                                            ่
รับการอบรม ขัดเกลา เมื่อมนุษย์เคยชินกับภาวะแวดล้อมใด พฤติกรรม
มนุษย์ก็สามารถคล้อยตามสภาวะแวดล้อมนั้นๆ อิสลามจึงได้ส่งเสริม
และกำาชับในเรื่องจริยธรรมอันดีงาม หากพฤติกรรมมนุษย์เป็นสิ่งคงที่
ไม่เปลี่ยนแปลงแล้ว ก็เท่ากับว่า อิสลามได้สั่งใช้ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
หรือ กลายเป็นว่าบัญญัติอิสลามเป็นสิ่งไม่มีความหมาย ซึ่งดังกล่าวเป็น
ไปไม่ได้ โดยเด็ดขาด

ท่านศาสดา มุฮัมมัด    กล่าวว่า

“ความสุขุมมีขึ้น ด้วยการหมั่นสุขุม ความอดทนมีขึ้น ด้วยการหมั่น
อดทน และะความรู้จะมีขึ้น ด้วยการหมั่นเรียนรู้”

พระคัมภีร์อัลกุรอานระบุวา
                        ่
"และจงตักเตือนเถิด แท้จริง การตักเตือนนั้นจะยังประโยชน์แก่บรรดาผู้
ศรัทธา " ( อัซซาริยาต 51 / 55 )
                   ๊

จึงเป็นที่เข้าใจชัดเจนแล้วว่า อุปนิสัย พฤติกรรมของมนุษย์ย่อมสามารถ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้เสมอ หากมนุษย์ถูกสร้างมาพร้อมกับอุปนิสัยที่
ตายตัวแล้ว การตักเตือนดังปรากฏในพระดำารัสข้างต้น จะมีประโยชน์ต่อ
มนุษย์ได้อย่างไร

ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมและพฤติกรรมมนุษย์

เมื่อทราบแล้วว่าอุปนิสัยคือภาคแสดงภายในตัวมนุษย์ และพฤติกรรม
คือภาคแสดงภายนอก ทังสองจึงมีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่น เปรียบ
                              ้
ดั่งลักษณะความสัมพันธ์ของ ผล และ เหตุ ของสิ่งที่เกิดและสิ่งที่ทำาให้
เกิด หากแต่ไม่สามารถกล่าวได้ว่า เฉพาะอุปนิสัยเท่านั้นที่ส่งผลต่อ
พฤติกรรมของมนุษย์ เพราะในความเป็นจริงแล้วยังคงมีภาวะแวดล้อ
มอื่นๆที่เกี่ยวข้องและอาจส่งผล โดยตรงต่อพฤติกรรมของมนุษย์ ซึงสิ่ง   ่
ดังกล่าวอาจสามารถระงับพฤติกรรมนั้นๆจากผู้กระทำาได้ ดังเราจะเห็น
ได้ว่า ไม่จำาเป็นที่ผู้ที่ได้ชื่อว่ากล้าหาญ จะต้องเป็นคนกล้าหาญอยู่
ตลอดเวลา เพราะในบางสถานการณ์ความเจ็บป่วยอาจทำาให้เขาไม่
สามารถแสดงถึงความกล้าหาญของ ตนในสถานการณ์ใด สถานการณ์
หนึ่งได้ เป็นต้น

                         จริยศาสตร์อิสลาม

                                                     โดย อิจรลาลีย์

กล่าวได้ว่า จริยศาสตร์อิสลามนั้น คืออุดมการณ์ คือรากฐาน คือ
แนวทางการประพฤติปฏิบัติตน ตามแนวทางที่ถูกต้องเที่ยงตรงที่ถูก
บัญชาใช้ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเป็นมุสลิมผู้นอบน้อมยอมจำานนโดยสิ้น
เชิง


จริยศาสตร์อิสลามได้มอบความเอ็นดูเมตตาให้หยั่งรากลึกในจิต
วิญญาณของมนุษย์ ให้มนุษย์มีความเมตตา ต่อเพื่อนมนุษย์ ต่อสรรพ
สัตว์ และต่อทรัพยากรธรรมชาติทั้งมวล และความเอ็นดูเมตตานี่เองที่
นำาไปสู่คุณธรรมอันประเสริฐซึ่งยังความผาสุกแก่สังคมทั้งหมดอย่างทั่ว
ถึง
อิสลามได้วางระบบจริยธรรมที่สมบูรณ์แบบ ไม่มีการเพิ่มเติม ตัดทอน
เปลียนแปลง ปรับปรุงใดๆได้อีก และทุกการเสริมเติมแต่งบทบัญญัติ
    ่
ศาสนานั้น อิสลามถือว่าเป็นโมฆะ ดังทีท่านศาสดา มุฮัมหมัด กล่าวว่า
                                    ่

“ ใครที่ประดิษฐ์สิ่งใดขึ้นใหม่ นอกเหนือจากคำาสั่งของเรา นั้น ถือเป็น
โมฆะ” (ไม่ถูกตอบรับ )

พระผู้เป็นเจ้าไม่ได้กำาหนดคำาสั่งใช้และคำาสั่งห้ามใดๆ โดยไม่มีเหตุผล
ทุกคำาสั่งของพระองค์นั้น เป็นการแสดงถึงความยุติธรรมของพระองค์
อย่างแท้จริง ดังจะเห็นได้จากการตอบแทนผู้กระทำาดีและการลงโทษผู้
กระทำาผิด ในดำารัสของพระองค์ทว่า  ี่

"และสิ่งที่อยู่ในชั้นฟ้าทั้งหลาย และสิ่งที่อยู่ในแผ่นดินนั้นเป็นกรรมสิทธิ์
ของอัลลอฮ พระองค์จะทรงตอบแทนบรรดาผู้กระทำาความชั่วตามที่พวก
เขาได้กระทำาไว้ และจะทรงตอบแทนบรรดาผู้กระทำาความดีด้วยความดี
" (อันนัจมฺ / 31 )

พระองค์จะทรงนำาการงานทั้งหมดของมนุษย์ทั้งดีและชั่ว มาชั่งในตาชั่ง
ความดีความชัวของพระองค์ ซึงไม่มีผู้ใดล่วงรูถึงสภาพและวิธีการชั่ง
             ่               ่               ้
ของพระองค์ แต่แน่นอนที่สุดว่า การชั่งความดีความชั่วของพระองค์ใน
วันแห่งการตัดสินนั้น ละเอียดถี่ถวน และเที่ยงธรรมอย่างที่สุด พระองค์
                                ้
ได้แจ้งถึงการตัดสินของพระองค์ในดำารัสที่วา ่

"และ เราจะตั้งตราชูที่เที่ยงธรรม สำาหรับวันกิยามะฮฺ ( วันปรโลก ) ดัง
นั้นจะไม่มีชีวิตใดถูกอธรรมแต่อย่างใด และแม้ว่ามันจะมีนำ้าหนักเพียง
เท่าเมล็ดพืชเล็กๆ เราก็จะนำามาแสดงให้เห็น และเป็นการพอเพียงแล้ว
สำาหรับเรา ที่เป็นผู้ชำาระสอบสวน " ( อัลอัมบิยาอฺ 21 / 47 )

"และ การชั่งในวันนั้นเป็นความจริง ดังนั้น ผู้ใดที่ตราชูของเขาหนัก ชน
เหล่านีแหละคือผู้ที่ได้รับความสำาเร็จ และผู้ใดที่ตราชูของเขาเบา ขน
       ้
เหล่านีแหละคือผู้ที่ก่อความขาดทุนให้แก่ตัวของพวกเขาเอง เนื่องจาก
         ้
การที่พวกเขามิได้ให้ความเป็นธรรม แก่บรรดาโองการของเรา" (
อัลอะอฺร็อฟ 7/ 8-9)

และภายหลังจากการตัดสินอันเที่ยงธรรมของพระองค์แล้ว จะมีกลุ่ม
หนึ่งได้เข้าพำานักในสรวงสวรรค์ และ อีกกลุ่มหนึ่งเข้าสู่ขุมนรก ดังดำารัส
ทีว่า
  ่
"ส่วนบรรดาผู้ศรัทธา และประกอบสิ่งที่ดีงามทั้งหลายนั้น พระองค์จะ
ทรงตอบแทนพวกเขาโดยครบถ้วย ซึ่งรางวัลของพวกเขา และจะทรง
เพิ่มให้แก่พวกเขาด้วย จากความกรุณาของพระองค์ และส่วนบรรดาผู้ที่
หยิ่งและยโสนั้น พระองค์จะทรงลงโทษพวกเขา ด้วยการลงโทษอันเจ็บ
แสบ และพวกเขาจะไม่พบผู้คุ้มครอง และผู้ช่วยเหลือใดๆ สำาหรับพวก
เขาอื่นจากอัลลอฮเลย " ( อันนิซาอฺ4 / 173 )

นี่คือสิ่งที่อิสลามมอบแด่มนุษยชาติ เพื่อให้ผู้ศรัทธาเป็นผู้นอบน้อม
จำานนต่อพระองค์ เป็นผู้รำาลึกนึกถึงพระองค์เป็นอาจิณ เป็นผู้คิดบัญชีตัว
เองอยู่เสมอ ไม่อธรรมผู้ใด ไม่บิดพลิ้วคดโกง ไม่เย่อหยิ่งจองหอง และ
มีความละอายต่อพระองค์ไม่ว่าอยู่ในที่ลบหรือที่เปิดเผยก็ตาม
                                        ั

" การตอบแทนของพวกเขา ณ ที่พระเจ้าของพวกเขา คือสวนสวรรค์
หลากหลายอันสถาพร ณ เบื้องล่างของสรวงสวรรค์นั้นมีลำานำ้าหลายสาย
ไหลผ่าน พวกเขาเป็นผู้พำานักอยู่ในนั้นตลอดกาล อัลลอฮทรงปิติต่อ
พวกเขา และพวกเขาก็ยินดีในพระองค์ นั่นคือ สำาหรับผู้ที่กลัวเกรง
พระเจ้าของพวกเขา" ( อัลบัยยินะฮฺ 98 /8 )

ความสำาคัญของจริยศาสตร์อิสลามต่อชีวิตมนุษย์

ไม่วาสังคมชนชั้นใด หากสมาชิกในสังคมไม่มีความสัมพันธ์อย่าง
    ่
แน่นแฟ้นในด้านคุณธรรมจริยธรรม ความสงบสุข ความเห็นอกเห็นใจ
ความเข้าใจซึ่งกันในสังคมย่อมไม่อาจมีได้ และหากสังคมกำาหนด
ให้การมีอยู่ของสังคมตั้งอยู่บนผลประโยชน์ทางด้านวัตถุ เพียงอย่าง
เดียว โดยไม่คำานึงถึงเป้าหมายที่สูงส่งและมั่นคงยิ่งกว่า วิถีชีวิตของ
สังคมนั้นๆย่อมไม่จรังยังยืน ความอยู่รอดของสังคมจึงไม่ได้ อยูที่เงิน
                     ี  ่                                        ่
ตรา ชื่อเสียง ความสะดวกสบาย แต่จำาเป็นที่จะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐาน
จริยธรรมอย่างน้อย 2 ประการ นั่นคือ ความแน่วแน่มั่นคง และ การเป็น
ทียอมรับไว้วางใจ จริยธรรมที่สูงส่งจึงถือเป็นสิ่งจำาเป็นทีทุกสังคมจะ
  ่                                                      ่
ขาดเสียไม่ได้ จริยธรรมเป็นเสมือนแกนกลางที่ประสานหรือสร้างความ
สัมพันธ์อันดีแก่เพื่อน มนุษย์ด้วยกัน เมื่อใดที่จริยธรรมดับสูญ เมื่อนั้น
สมาชิกในสังคม จะแตกแยก ขาดความรัก สมัครสมานสามัคคีและขาด
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

เมื่อตามหลักเกณฑ์สากลจริยศาสตร์มีความสำาคัญถึงเพียงนี้ สำาหรับ
ทัศนะอิสลามแล้ว จริยศาสตร์มีความสำาคัญและเป็นสิ่งจำาเป็นยิ่งกว่า ดัง
จะเห็นได้จากการที่อิสลามกำาหนดการตอบแทนและการลงโทษสำาหรับ
มนุษย์ทั้งใน โลกนี้และโลกหน้า ดังตัวอย่างที่อัลกุรอานได้บอกเราไว้ถง
                                                                  ึ
การลงโทษแก่กลุ่มชนที่ปราศจาก จริยธรรม ดังในดำารัสที่วา  ่

"และแท้จริง เราได้ทำาลายประชาชาติจากศตวรรษก่อนจากพวกท่านไป
แล้ว เมื่อพวกเขาเป็นผู้อธรรม" ( ยูนุส 10 / 13 )

"และพระเจ้าของเจ้าไม่ทรงทำาลายหมูบ้านใดโดยอยุติธรรม โดยที่
                                     ่
ประชากรของหมู่บ้านนันเป็นผู้ฟื้นฟู ทำาความดี" ( ฮู๊ด 11 / 117)
                    ้

อิสลามให้ความสำาคัญกับจริยธรรมอย่างมาก เพราะอิสลามถือว่า
จริยธรรม เป็นเรื่องที่จำาเป็นและสำาคัญยิ่งต่อความสงบยั่งยืนของสังคม
พฤติกรรมของมนุษย์เชื่อมโยงผูกติดกับอุปนิสัยภายในเสมอ เสมือนดั่ง
ความสำาพันธ์ของ กิ่งก้านสาขาของต้นไม้ที่มีต่อรากไม้ซึ่งซ่อนตัวอยูใต้
                                                                  ่
ผืนดิน พฤติกรรมอันดีงามก็เป็นผลจากการมีจริยธรรมงดงาม กิ่งก้านจะ
งดงามแข็งแรง รากแก้วก็ต้องงดงามและแข็งแกร่งด้วยเช่นเดียวกัน


" และ เมืองที่ดีนั้น ( มีดินดี ) ผลิตผลของมันจะงอกออกมาด้วยอนุมัติ
แห่งพระเจ้าของมัน และเมืองทีไม่ดีนั้น ผลิตผลของมันจะไม่ออก
                                  ่
นอกจากในสภาพแกร็น" ( อัลอะรอฟ 7 / 58 )

ดังนั้น แผนการปฏิรูปบุคคลและ สังคม จึงต้องปลูกฝัง บ่มเพาะที่จิตใจ
เป็นอันดับแรก อิสลามจึงมุ่งเน้นที่การขัดเกลาจิตใจเพื่อขจัดความ
สกปรกขุ่นมัว อันเป็นจุดกำาเนิดของพฤติกรรมที่ไม่ดีงามทังหลาย
                                                       ้

" แท้จริง อัลลอฮ จะมิทรงเปลี่ยนแปลงสภาพของชนกลุ่มใด เว้นแต่
พวกเขาจะเปลี่ยนแปลงสภาพ ของพวกเขาเอง" ( อัรเราะดฺ 13 / 11 )

อิสลามตระหนักดีว่า หาก กฏเกณฑ์จริยธรรมทางสังคมถูกละเลยเพิก
เฉยไปแล้ว แน่นอนที่สุดว่า การหลอกลวงหักหลัง การคดโกงบิดพลิ้ว
การโกหก การหลั่งเลือด การละเมิดในสิ่งต้องห้ามและในสิทธิต่างๆย่อม
เกิดขึ้น มนุษยธรรมจะมีเพียงแต่ชื่อ ไม่มีความรัก ไม่มีการช่วยเหลือ
เกื้อกูล ไม่มีความเอ็นดูเมตตา และไม่มีความความบริสทธิ์ใจ เมื่อนั้น
                                                      ุ
สังคมจะกลายเป็นขุมเพลิงที่มนุษย์ไม่อาจต้านทานความร้อนระอุ และ
ทนรักษาชีวิตในขุมเพลิงนั้นได้ เพราะโดยธรรมชาติความเป็นมนุษย์แล้ว
มนุษย์ย่อมต้องอาศัยพึ่งพาเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน และโดยธรรมชาติความ
เป็นมนุษย์อีกเช่นกันที่มนุษย์มักต้องการอำานาจ ปรารถนาที่จะครอบ
ครอง เห็นแก่ตัวและต้องการแก้แค้น

"และ เมื่อเขาให้หลังไปแล้ว เขาก็เพียรพยายาม เพื่อก่อความเสียหาย
ในแผ่นดินนั้น และทำาลายพืชผล และเผ่าพันธุ์ และอัลลอฮนั้น ไม่ทรง
ชอบการก่อความเสียหาย" ( อัลบะเกาะเราะฮ 2 / 205 )

และนี่เองคือเหตุผลที่อิสลามต้องให้ความสำาคัญต่อจริยธรรมด้วยการ
วางรากฐาน ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งกลายเป็นสิ่งจำาเป็นต่อผู้เป็น
มุสลิมทุกคนที่จะต้องยึดถือและดำาเนินตาม จริยศาสตร์อิสลามจึงหาใช่
เป็นเพียงกฎเกณฑ์ที่ถูกวางไว้เท่านั้น แต่ถือเป็นบัญชาจากพระเจ้าที่
ประมวลไว้ด้วยคำาสั่งใช้ คำาสั่งห้าม สิ่งที่อนุมัติ และสิ่งที่พึงระวัง จาก
พระองค์ ดังนั้น ใครที่เชื่อฟังพระองค์ก็จะได้รับการตอบแทน และใครที่
ฝ่าฝืนพระองค์ก็จะได้รับการลงโทษ

จริยธรรมกับการศรัทธา

หากมองในด้านหลักศรัทธาแล้ว จริยธรรมนับว่ามีความสำาคัญอย่างมาก
เพราะอิสลามได้โยงความสำาคัญระหว่างการศรัทธาและการมีจริยธรรม
ไว้อย่างแน่น แฟ้น ดังปรากฏในวจนะศาสดา เมื่อท่านถูกถามว่า ผู้
ศรัทธาใดที่ถือว่าเป็นผู้มีศรัทธาสูงสุด ? ท่านตอบว่า “ คือผู้มี
จริยธรรมดีงามที่สุด ”

อิสลามจึงไม่แยกจริยธรรมออกจากการศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า การยก
ระดับจริยธรรมให้เกี่ยวพันกับการรู้จักพระองค์นั้น นับเป็นหนทางในการ
สร้างฐานะอันสูงส่งแก่มนุษย์ และในขณะเดียวกันก็เป็นการประกันสังคม
ให้ได้รับความปลอดภัย ร่มเย็นสงบสุข

อิสลามถือว่าการศรัทธานั้นเป็นความดี เพราะการศรัทธานั้นครอบคลุม
ในกิจการศาสนาเอาไว้ทั้งหมด ศรัทธาในอิสลามแทรกซึมอยู่ที่หวใจ ั
ลิ้น และอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย กล่าวคือ การศรัทธาในศาสนา
อิสลาม หมายถึง การเชื่อมั่นด้วยหัวใจ เอ่ยด้วยคำาพูด และ ประจักษ์จริง
บนการกระทำา ทังสามต่างยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน และอยู่ควบคู่กันเสมอ
                  ้
พระคัมภีร์ระบุว่า

"หาใช่คุณธรรมไม่ การที่พวกเจ้าผินหน้าของพวกเจ้าไปทางทิศตะวัน
ออกและทิศตะวันตก แต่ทว่าคุณธรรมนั้น คือผู้ที่ศรัทธาต่ออัลลอฮ และ
วันปรโลก และศรัทธาต่อมลาอิกะฮฺ่ ( เทวทูต ) ต่อบรรดาคัมภีร์ และ
ต่อนบีทั้งหลาย" ( อัลบะเกาะเราะฮ 2 / 177 )

ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวว่า “ คุณธรรม คือ การมีจริยธรรมอันดีงาม
” (บันทึกโดยอิมามบุคอรีย์ อิมามมุสลิมและอิมามติรมีซีย์ )

ความดีเป็นคุณลักษณะของการกระทำาที่ดำารงไว้ซึ่งคุณธรรม จริยธรรม
ซึ่งครอบคลุมทุกสิ่งอย่างที่เป็นความดีงาม

จริยธรรมกับการประกอบศาสนกิจ

ในด้านการอิบาดะฮฺ ( การแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อพระเจ้า )
อิสลามถือว่า การแสดงออกถึงการจงรักภักดี เป็นจิตวิญญาณของ
จริยธรรม เพราะการประกอบศาสนกิจนี้ถือเป็นการกระทำาตามบัญชาของ
พระเจ้า จริยธรรมจึงเป็นอีกครึ่งหนึ่งของศาสนาบัญญัติ จึงเห็นได้ว่า
อิสลามได้เชื่อมสัมพันธ์ระหว่าง การศรัทธา การจงรักภักดีด้วยสาย
สัมพันธ์ของจริยธรรม เพื่อให้จุดมุ่งหมายของจริยธรรมเด่นชัดและ
ประจักษ์จริง

ณ ทีนี้จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า หลักการปฏิบัติในศาสนาอิสลาม ล้วนมี
      ่
จุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมจริยธรรมเป็นที่ตั้ง เสมือนดั่งสนามฝึกฝนให้คุ้น
เคย และเคยชิน เพื่อการดำารงชีวิตอย่างสันติบนพื้นฐานคุณธรรม
จริยธรรม พระคัมภีร์อัลกุรอานได้ระบุไว้อย่างชัดเจนถึงเหตุผลอัน
แยบยลที่พระผู้เป็น เจ้าทรงกำาหนดศาสนกิจต่างๆเพื่อเป็นข้อบังคับใช้
แก่ผู้ศรัทธาในพระองค์ ตัวอย่างเช่น

เรื่อง การละหมาด

อัลลอฮ ตรัสว่า "และจงดำารงการละหมาด (เพราะ) แท้จริงการละหมาด
นั้นจะยับยั้งการทำาลามกและความชั่ว" ( อัลอังกะบูต / 45 )

การออกห่างจากสิ่งชั่วช้า ละเว้นจากคำาพูดและการกระทำาที่ไม่ดีไม่งาม
ทั้งหลาย ถือเป็น แก่นแท้ของการละหมาดทีแท้จริง หาใช่สักแต่ว่า
                                           ่
ละหมาดให้ผ่านเลย จะได้ชื่อว่า ละหมาด หากยังคงไม่ละทิงจากสิ่งไม่
                                                     ้
ดีทั้งหลาย ก็ถือว่าถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริงของการละหมาดไม่ ท่าน
ศาสดามุฮัมหมัด กล่าวไว้ในฮะดีส กุ๊ดซีย์ มีความว่า
“ แท้จริงข้า ( อัลลอฮ ) จะรับละหมาดของผู้ที่ถ่อมตนในความยิ่งใหญ่
ของข้าฯ ไม่แสดงอาการโอหัง ด้วยการละหมาด เพื่อโอ้อวดมนุษย์ทั้ง
หลาย ไม่นอนในสภาพทียังคงฝ่าฝืนข้า ใช้กลางวันในการรำาลึกถึงข้า
                        ่
เขาเอ็นดูเมตตาคนยากจน คนเดินทาง หญิงหม้าย และผู้ประสบเคราะห์
กรรม บุคคลประเภทดังกล่าวมานี้ รัศมีของเขาเช่นเดียวกับแสงสว่าง
ของดวงอาทิตย์ “

เรื่อง การชำาระซะกาต ( บริจาคทานบังคับ )

จุดมุ่งหมายของการบริจาคหาใช่เพียงการหยิบยื่นแก่คนที่มีฐานะด้อย
กว่า แต่จุดมุ่งหมายประการแรกนั้น คือ การบ่มเพาะความรู้สึกรักใคร่
สงสาร เอ็นดูเมตตา และเชื่อมสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างชนชั้นทีแตก   ่
ต่าง เพื่อสร้างความใกล้ชิด ปิดความอิจฉาริษยา และลดช่องว่างใน
สังคม พระคัมภีร์ได้ระบุเป้าหมายข้อนี้ไว้อย่างชัดเจน ดังดำารัสที่วา
                                                                 ่


"(มุฮัมหมัด)จงเอาจากทรัพย์ของพวกเขาเป็นทาน เพื่อการขัดเกลาและ
ซักฟอกเขาให้สะอาดบริสุทธิ" ( อัตเตาบะฮฺ / 103 )
                          ์

การบริจาคทาน ถือเป็นการพัฒนาจิตใจ ให้รู้จักเสียสละ ไม่ตระหนีถี่   ่
เหนียว เอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ อีกทั้งยังนำามาซึ่งความปลาบปลื้มใจของผู้รบั
เป็นการรักษาเกียรติของเพื่อนมนุษย์ ขจัดความเป็นศัตรู และความ
เกลียดชัง สร้างความมั่นคงในสังคม ทำาให้ระบบสังคมมีความสูงส่งและ
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

เรื่อง การถือศีลอด

อิสลามไม่ได้พิจารณาการถือศีลอดว่าเป็นเพียงแค่ การอดอาหารและ
เครื่องดื่มในช่วงเวลากลางวันเท่านั้น แต่ยังคำานึงถึงการหักห้ามจิตใจไม่
ให้ประกอบความชั่วต่างๆอีกด้วย ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวเน้นใน
เรื่องนี้วา
          ่

“ ใครที่ไม่ละทิงคำาพูดเท็จและ การกระทำาที่เป็นเท็จ อัลลอฮก็ไม่ทรง
               ้
ประสงค์สิ่งใดจากการที่เขาละทิ้งอาหารและเครื่องดื่ม ” ( บันทึกโดย อิ
มาม บุคอรีย์ )

เรื่อง การประกอบพิธีฮัจญ์ ( พิธแสวงบุญ ที่นครมักกะฮฺ )
                               ี
อัลลอฮ ตรัสว่า

"(เวลา) การทำาฮัจญ์นั้นมีหลายเดือนอัน เป็นทีทราบกันอยู่แล้ว ดังนั้นผู้
                                                ่
ใดที่ได้ให้การทำา ฮัจญ์จำาเป็นแก่เขาในเดือนเหล่านั้น แล้ว ก็ต้อง ไม่มี
การสมสู่ และไม่มีการละเมิด และไม่มีการวิวาท ใดๆ ใน (เวลา) การ
ทำาฮัจญ์ และความดีใดๆ ที่ พวกเจ้ากระทำานัน อัลลอฮทรงรู้ดี และพวก
                                             ้
เจ้า จงเตรียมเสบียงเถิด แท้จริงเสบียงที่ดีที่สุดนั้น คือความยำาเกรง
และพวกเจ้าจงยำาเกรงข้าเถิด โอ้ ผู้มปัญญาทั้งหลาย! "( อัลบะเกาะ
                                    ี
เราะฮ 2 / 197 )

จากดำารัสนี้ชี้ให้เห็นว่า เมื่อประกอบพิธีฮัจญ์ มุสลิมต้องอยู่ในสภาพที่
สงบเสงี่ยม อดทน อดกลั้น ควบคุมอารมณ์และความโกรธ ไม่กระทำา
การใดที่ส่อไปในทางเกี้ยวพาราสี การละเมิดขอบเขตของศาสนาหรือ
การทะเลาะวิวาทใดๆ

ดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ศาสนบัญญัติอันเป็นเสาหลักของศาสนานั้น แม้
ภายนอกจะแสดงออกถึงการปฏิบัติของร่างกาย แต่เหตุผลทีแฝงอยู่ใน
                                                          ่
ข้อบังคับใช้เหล่านั้นล้วนนำาพาสู่จุดมุ่งหมายที่ทาน ศาสดา มุฮัมหมัด
                                                ่
ได้วาดไว้ ดังที่ทานกล่าวว่า
                 ่

   “ แท้จริง ฉันถูกส่งมาเพื่อทำาให้จริยธรรมอันประเสริฐสมบูรณ่์ ”

ดังนั้น ศาสนกิจทั้งหลายทั้งมวล ล้วนแต่เป็นขั้นตอนสู่จริยธรรมอัน
สมบูรณ์ เพื่อธำารงรักษา และปกป้องชีวิตมนุษย์ มุสลิมทียึดมั่นกับคุณค่า
                                                      ่
จริยธรรมเหล่านี้ เขาก็จะได้รับฐานะอันมีเกียรติของศาสนา และหากเขา
ไม่ได้รับคุณค่าใดๆจากจริยธรรมทีอิสลามมอบให้ หัวใจของเขาก็จะไม่
ได้รับการขัดเกลาเพราะตกเป็นทาสของกิเลสนั่นเอง อัลลอฮ ตรัสว่า

"แท้จริง เราได้ศรัทธาต่อพระเจ้าของเราเพื่อพระองค์จะทรงอภัยความ
ผิดต่าง ๆ ของเราให้แก่เราและทรงอภัยสิ่งทีท่านได้บังคับให้เรากระทำา
                                          ่
เกี่ยวกับเรื่องมายากลและอัลลอฮนั้นทรงเป็นผู้ดีเลิศยิ่งและทรงยั่งยืน
ตลอดไป *ความจริงนั้น ผู้ใดมาหาพระเจ้าของเขาในสภาพของผู้กระทำา
ความผิด แน่นอน เขาจะได้รับนรกเป็นการตอบแทน โดยที่เขาจะไม่ตาย
และไม่เป็นในนั้น*และผู้ใดมาหาพระองค์โดยเป็นผู้ศรัทธาเขาได้กระทำา
ความดีต่าง ๆ ไว้ ชนเหล่านีแหละสำาหรับพวกเขานั้นจะมีสถานะอันสูงส่ง
                          ้
*สวนสวรรค์หลากหลายอันสถาพร ณ เบื้องล่างของมันมีลำานำ้าหลาย
สายไหลผ่าน พวกเขาเป็นผู้พำานักอยูในนั้นตลอดกาล และนั่นคือการ
                                  ่
ตอบแทนสำาหรับผู้ขัดเกลาตนเอง (ให้พ้นจากความชัว)" ( ฏอฮา /
                                             ่
73-76 )

                             สำานึกจริยธรรม

                                                           โดย อิจรลาลีย์

การสำานึกถึงความจำาเป็นของจริยธรรมถือเป็นรากฐานที่สำาคัญที่สุดของ
ระบอบ จริยธรรมอิสลาม ความจำาเป็นของจริยธรรมในที่นี้ หมายถึง การ
ที่บุคคลสำานึกถึงหน้าที่ที่ตนพึงปฏิบัติต่อผู้อื่น โดยถือเป็นสิ่งจำาเป็นที่
ละทิ้งไม่ได้ การสำานึกว่าตนต้องรับผิดชอบต่อการกระทำาของตน สำานึก
ว่าตนมีหน้าที่ มีหลักการ และมีอิสระในการเลือกปฏิบัติ สิ่งต่างๆเหล่านี้
จะเป็นสิ่งที่ตัดสินและตอบ แทนในทุกการกระทำา ความรู้สึกถึงความ
จำาเป็นดังกล่าวจึงเป็นความรับผิดชอบสูงสุด และเป็นเสาหลักของ
จริยธรรมอิสลาม ดังกล่าวเป็น เพราะ

1. หากขาดจิตสำานึกว่าจริยธรรมเป็นสิ่งจำาเป็นแล้ว แน่นอนว่า ความรับ
ผิดชอบย่อมหายไป เมื่อความรับผิดชอบหายไปจากสังคม ความหวังที่
จะกำาหนดให้ทุกอย่างตั้งอยู่บนความเที่ยงธรรมก็ย่อมสูญสิ้นไปด้วย เช่น
กัน

2. ความ โดดเด่นของจริยธรรมที่ดีงาม ขึ้นอยู่กับการมีสำานึกของบุคคล
ในสังคม หากทุกคนขาดจิตสำานึกดังกล่าวแล้ว ก็เป็นไปไม่ได้เลยที่
บุคคลจะมองว่าสิ่งที่เป็นการฝ่าฝืนหรือชั่วช้าต่างๆ นั้นเป็นเรื่องที่น่า
รังเกียจอย่างแท้จริง

อิสลามจึงถือหลัก “ เอียะฮ์ซาน” หรือ การทำาดี เป็นสิ่งที่สำาคัญที่สุด
ในการประพฤติตน ซึ่งความดีที่อิสลามหมายถึง ก็คือการเคารพ ภักดี
ต่ออัลลอฮ เสมือน กับว่า เราเห็นพระองค์ แม้นว่าความเป็นจริงเราไม่
อาจเห็นพระองค์ในโลกนี้ได้ แต่เราต้องสำานึกอยู่เสมอว่า พระองค์ทรง
เห็น ทรงได้ยินเราอยู่ตลอดเวลา

ท่านศาสดา มุฮัมหมัด      ถูกถามว่า ความดีคืออะไร? ท่านตอบว่า

“ คือการที่ท่านเคารพภักดีต่ออัลลอฮ ประหนึ่งว่าท่านเห็นพระองค์ แม้น
ว่าท่านจะไม่เห็นพระองค์ แต่แท้จริงแล้วพระองค์ทรงเห็นท่าน
” (บันทึกโดย อิหม่ามมุสลิม)
พระคัมภีร์ได้ระบุยืนยันถึงการตรวจสอบ สอดส่องดูแลของพระองค์ ว่า

"และ พระองค์ทรงอยูร่วมกับพวกท่านทั้งหลาย ไม่ว่าท่านทั้งหลายจะ
                    ่
อยู่ ณ ทีใด และอัลลอฮทรงเห็นสิ่งที่พวกเจ้ากระทำา" ( อัลฮะดี๊ด 57 / 4
         ่
)

"แท้จริง อัลลอฮนั้น ไม่สิ่งใดในพื้นดินและฟากฟ้าที่จะปิดบังพระองค์ได้
" ( อาละอิมรอน 3 / 5 )

มูลฐานของ สำานึกจริยธรรม

พระมหาคัมภีร์อัลกุรอานได้ประมวลไว้ด้วยเรื่องของ แนวทางการปลูก
ฝังจิตใต้สำานึกด้านจริยธรรม และ คุณธรรม อย่างมากมายหลายที่ด้วย
กัน ซึ่งครอบคลุมทุกเรื่องไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ เพื่อมุ่งให้ปัจเจกบุคคล
พิจารณาตนเอง เอาใจใส่ต่อสังคม และมุงให้สังคม เอาใจใส่ต่อ
                                        ่
ปัจเจกบุคคลเฉกเช่นเดียว กัน

การสำานึกถึงความจำาเป็นของการมีจริยธรรมมาจากพื้นฐานต่างๆดังต่อ
ไปนี้

1. บทบัญญัติของศาสนา เพราะศาสนาเป็นแนวทางที่นำามนุษย์สู่ความ
ดี และจริยธรรมที่ประเสริฐ

" พระองค์ทรงเป็นผู้แต่งตั้งร่อซูลขึ้นคนหนึ่ง ในหมู่ผไม่รู้หนังสือจาก
                                                    ู้
พวกเขาเอง เพื่อสาธยายโองการต่างๆของพระองค์ แก่พวกเขา และ
ทรงทำาให้พวกเขาบริสุทธิ์ผุดผ่อง และทรงสอนคัมภีร์และความสุขุม
คัมภีร์ภาพแก่พวกเขา และแม้วาแต่ก่อนนี้ พวกเขาอยูในการหลงผิด
                               ่                       ่
อย่างชัดแจ้งก็ตาม " ( อัลญุมุอะฮฺ 62 / 2 )

บัญญัติต่างๆที่มในพระคัมภีร์ที่ผู้เป็นร่อซูล ( ศาสนทูต ) แห่งพระองค์
                 ี
นำามานั้นได้ ถือเป็นสิ่งซักฟอกขัดเกลาจิตใจผู้ศรัทธา จากการปฏิเสธ
ศรัทธาและความผิดต่างๆ โดยที่สภาพของพวกเขาก่อนที่ร่อซูลจะถูกส่ง
มานั้น อยู่ในการหลงผิดอย่างชัดแจ้ง

2. สติปัญญา เพราะเป็นสิ่งชี้แนะมนุษย์สู่ความประพฤติที่ดีงาม และ
ออกห่างจากสิ่งไม่ดีทั้งหลาย สิ่งที่อิสลามนำามาเสนอนั้นล้วนแต่มี
เหตุผล มีคุณ และรักษาคุ้มครองความเป็นมนุษย์เอาไว้ หากมนุษย์ใช้
สติปัญญาพิจารณา ดังตัวอย่างจากดำารัสของพระองค์ที่วา   ่
"ผู้ศรัทธาทั้งหลาย แท้จริง สุรา และการพนัน และแท่นหินสำาหรับเชือด
บูชายัญ และการเสี่ยงติ้วนั้น เป็นสิ่งโสมม อันเกิดจาการกระทำาของชัย
ฏอน ดังนั้นพวกเจ้าจงห่างไกลจากมันเสีย เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้รบความั
สำาเร็จ ทีจริงชัยฏอนนั้น เพียงต้องการที่จะให้เกิดการเป็นศัตรูกัน และ
          ่
การเกลียดชังกันระหว่างพวกเจ้าในสุราและการพนัน เท่านั้น และมันจะ
หันเหพวกเจ้าออกจากการรำาลึกถึงอัลลอฮและการละหมาด แล้วพวก
เจ้าจะยังไม่ยุติอีกละหรือ ?"( อัลมาอิดะฮฺ 5 / 91 )

3. สำานึกจริยธรรม อันได้จาก การส่งเสริมและการขู่สัมทับ กล่าวคือ
แนวทางการอบรมของอิสลามในด้านการยับยั้งสิ่งไม่ดีนั้นมีอยู่หลายทาง
ด้วยกัน อาทิ

- การขู่สัมทับให้ทราบถึงการลงโทษของอัลลอฮในโลกนี้ ทีมีต่อผู้
                                                    ่
ฝ่าฝืนและผู้อธรรม ดังดำารัสของพระองค์ทว่า
                                      ี่

"หากพวกเจ้ากตัญญู ข้าก็จะเพิ่มพูนให้แก่พวกเจ้า และหากพวกเจ้า
เนรคุณ แท้จริงการลงโทษของข้านั้นสาหัสยิ่งนัก" ( อิบรอฮีม 14 / 7 )

- การแจ้งถึงผลตอบแทน ณ ที่พระองค์ ดังที่พระองค์ตรัสว่า

"ดังนั้น จึงไม่มีชีวิตใดรู้ถงสิ่งที่ถูกซ่อนไว้สำาหรับพวกเขา ให้เป็นที่
                            ึ
รื่นรมย์แก่สายตา เป็นการตอบแทนในสิ่งที่พวกเขาได้กระทำาไว้" (
อัซซัจญฺดะฮฺ 32 / 17 )

หมายถึงไม่มีใครจะสามารถล่วงรู้ถงปริมาณความโปรดปรานที่พระองค์
                               ึ
ทรงตระ เตรียมไว้แก่บาวของพระองค์ อันเป็นสิ่งที่ ตาไม่เคยเห็น หูไม่
                    ่
เคยได้ยิน และหัวใจไม่เคยนึกฝันมาก่อน

4. สำานึกจริยธรรม อันได้จากการปรามของผู้มีอำานาจ กล่าวคือ การ
ปรามจากสติปัญญาก็ดีหรือจากวิธีการเชิญชวนสู่ความดี หรือบอกกล่าว
ถึงบทลงโทษก็ดี อาจไม่สามารถยับยั้งความชั่วจากบางกลุ่มบางพวกได้
ด้วยเหตุนี้อิสลามจึงได้มอบอำานาจให้กับผู้ปกครอง หรือ ผู้พิพากษา
เพื่อดำาเนินการตัดสินตามเกณฑ์ตัดสินของพระองค์

" และขโมยชายและขโมยหญิงนัน จงตัดมือของเขาทั้งสองคน ทังนี้
                               ้                             ้
เพื่อเป็นการตอบแทนในสิ่งทีทั้งสองนั้นได้แสวงหาไว้ (และ) เพื่อเป็น
                          ่
เยี่ยงอย่างการลงโทษ จากอัลลอฮ และอัลลอฮนั้น ทรงเดชานุภาพ
ทรงปรีชาญาณ " ( อัลมาอิดะฮฺ 5 / 38 )
"หญิงมีชู้และชายมีชู้ พวกเจ้าจงโบยแต่ละคนในสองคนนั้น คนละหนึ่ง
ร้อยที และอย่าให้ความสงสารยับยังการกระทำาของพวกเจ้าต่อคนทั้ง
                                 ้
สองนั้น ในบัญญัติของอัลลอฮเป็นอันขาด หากพวกเจ้าศรัทธาต่อ
อัลลอฮ และวันปรโลก" ( อันนู๊ร 24 / 2 )

ทั้งหมดนี้คือกฎเกณฑ์การยับยั้งความชั่วที่อิสลามได้กำาหนดและวาง
ระบบ จริยธรรมไว้มาช้านานแล้ว ทังนี้เพื่อไม่ให้ความชั่วช้าแพร่สะพัด
                                   ้
บนหน้าแผ่นดิน และการฝังจิตใต้สำานึกให้มีความเกรงกลัวต่อความผิด
เกรงกลัวต่อพระผู้เป็นเจ้า ถือเป็นจิตใต้สำานึกสูงสุดที่จะบังคับให้บุคคล
หันหลังจากความผิด ความชั่วช้าทั้งมวล


ตัวอย่างสำานึกจริยธรรม

1. ท่านอบูบักร ( ขออัลลอฮทรงพอพระทัยในตัวท่าน ) ไม่เคยดื่มสุรา
เลยสักครั้งเดียว ครั้งหนึ่งมีผู้ถามท่านว่า ในสมัยญาฮิลยะฮฺ ( ยุคก่อน
                                                      ี
อิสลาม ) ท่านหลีกเลี่ยงจากการดื่มสุราได้อย่างไร? ท่านอบูบักร ตอบ
ว่า

“ ฉันปรารถนาที่จะรักษาเกีรยติและความเป็นสุภาพบุรุษของฉันไว้
เพราะแท้ที่จริงแล้ว ผูที่ดื่มสุรา แน่นอนว่าเขาได้สูญเสียทั้งสติปัญญา
                      ้
และความเป็นสุภาพบุรุษ ”

2. ครั้งแรกที่ทานศาสดา มุฮัมหมัด ได้รบการแต่งตั้งให้เป็นศาสดา
               ่                     ั
ท่านได้มาหา ท่านหญิง คอดิญะฮฺ ( ขออัลลอฮทรงพอพระทัยในตัวนาง
) ในสภาพที่ตื่นกลัว และตกใจ

ท่านบอกกับนางว่า

“ นำาผ้ามาห่มฉันที นำามามาห่มฉันที ”

นางได้ปลอบโยนท่านศาสดา         ว่า

“ ขอสาบานต่ออัลลอฮ อัลลอฮจะไม่ทรงทำาให้ท่านได้รับความอัปยศ
อย่างแน่นอน เพราะแท้จริงแล้ว ท่านเป็นผู้มีสัมพันธ์ต่อเครือญาติ ช่วย
เหลือคนอ่อนแออนาถา เลียงดูคนยากจนขัดสน ท่านเป็นผูที่ต้อนรับ
                         ้                               ้
แขก และช่วยเหลือผู้อื่นให้รอดพ้นจากเคราะห์กรรม”(บันทึกโดย
อิหม่ามบุคอรี )
จากสองตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นว่า แม้ก่อนที่อิสลามจะถูกเผยแพร่
อย่างกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ แต่ในพื้นฐานจิตใต้สำานึกแล้ว
จริยธรรม คุณธรรม ยังคงมีอยู่ในชาวอาหรับแต่เดิม และหลังจากมีศาสน
บัญญัติ จริยธรรมเหล่านั้นก็ได้รับการส่งเสริมมากยิงขึ้น อาทิ ความ
                                                 ่
ใจบุญ ความโอบอ้อมอารี การให้เกียรติแขกผู้มาเยือน และอื่นๆอีก
มากมายอันเป็นสิ่งที่เป็นธรรมชาติติดตัวของชาวอาหรับ ก่อนที่จะมีการ
แต่งตั้ง ศาสดา

ท่านศาสดา      กล่าวว่า

“ มนุษย์นั้นเหมือนกับแร่ธาตุ ผู้ที่ดีที่สุดในสมัยญาฮิลียะฮ ก็จะเป็นผูที่ดี
                                                                     ้
ที่สุดในสมัยอิสลาม หากพวกเขาเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ”( บันทึกโดยอิมาม
บุคอรีย์และอิมามมุสลิม )

เอกลักษณ์เฉพาะของจริยศาสตร์อิสลาม

1. เป็นกฏเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรมไม่ใช่นามธรรม ซึ่งเน้นยำ้าในเรื่องของ
การมีสทธิเสรีภาพของมนุษย์ และการรับผิดชอบต่อผลการกระทำาของ
       ิ
ตนเอง

2. เป็นกฏเกณฑ์ที่จำาเป็นและครอบคลุมโดยทั่วกัน ไม่มีการ
เปลียนแปลง หรือปรับปรุงใดๆ เพราะล้วนครอบคลุมทั้งด้านสังคม ด้าน
     ่
เศรษฐกิจ ด้านการปกครอง ยิ่งไปกว่านั้น จริยศาสตร์อิสลามยังเป็น
ประหนึ่งประการสำาคัญที่ป้องกันความอธรรมและความชั่ว ช้าต่างๆ
ความครอบคลุมนียังรวมถึงเรื่องส่วนตัวของปัจเจกบุคคลและเรื่องที่
                 ้
เกี่ยวพัน กับบุคคลอื่น กลุ่มคนหรือแม้แต่รัฐ ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายใต้
ขอบเขตของจริยธรรมอย่างเคร่งครัด

"เหล่านั้นแหละ คือ ขอบเขตของอัลลอฮ พวกเจ้าจงอย่าได้ละเมิด" (
อัลบะก่อรอฮ 2/ 229 )

3. เป็น กฏเกณฑ์ที่กำาหนดหลักการและรายละเอียดแก่รางกายและจิต
                                                  ่
วิญญาณพร้อมๆกัน มนุษย์ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ อารมณ์
ใคร่ฝ่ายตำ่าของตน ตามแต่ที่ตนปรารถนา หากแต่ต้องดำาเนินอยู่ภายใต้
กรอบแห่ง ศาสนบัญญัติ พระคัมภีร์ระบุว่า
"และ พระองค์ทรงห้ามการลามก ความชัวช้าและการก่ออธรรม
                                    ่
พระองค์ทรงตักเตือนพวกเจ้า เพื่อพวกเจ้าจักได้รำาลึก " ( อันนะฮลฺ
16 / 90 )

ดังกล่าวเป็นกฏเกณฑ์จริยธรรมอันแผ่กว้างและครอบคลุมของพระผู้เป็น
เจ้า เผื่อให้มนุษย์ออกห่างจากความไม่ดีไม่งามทั้งมวล เช่นเดียวกับที่
ท่านศาสดาได้เชิญชวนสู่จริยธรรมอันสูงส่งว่า

“ ท่านทั้งหลายจงยำาเกรงต่ออัลลอฮเถิด ไม่วาท่านจะอยู่ ณ ทีใดก็ตาม
                                           ่              ่
จงติดตามความชั่วด้วยความดี ซึงความดีนั้นจะลบล้างความชั่ว และ
                                ่
ท่านจงปฏิบัติต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยจริยธรรมอันดีงาม”( บันทึกโดย อิมาม
มาลิกและอิมาม อบูดาวู๊ด )

4. จริยศาสตร์อิสลาม ครอบคลุม และเหมาะสมกับทุกคน ทุกเวลา ทุก
สถานที่ มีความง่ายดาย ไม่ยากลำาบาก อีกทั้งยังไม่จำากัดขอบข่ายที่
บุคคลจะก้าวสู่ความเจริญแห่งชีวิต ดังดำารัสของพระองค์ที่วา
                                                        ่


"อัลลอฮ จะไม่ทรงบังคับชีวิตหนึ่งชีวิตใด นอกจากตามความสามารถ
ของชีวิตนั้นเท่านั้น " (อัลบะเกาะเราะฮ 2/286 )

"และพระองค์มิได้ทรงทำาให้เป็นการยากลำาบากแก่พวกเจ้าในเรื่องของ
ศาสนา" ( อัลฮัจญ์ 22 / 78 )

5. จริยศาสตร์อิสลามไม่ตัดสินแต่เพียงการกระทำาภายนอกเท่านัน แต่
                                                             ้
ถือการพิจรณาที่เจตจำานงค์ และภาวะที่ผลักดันสู่การกระทำานั้นๆเป็น
หลัก ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวว่า

“ แท้จริง การงานนั้น ขึ้นอยู่กับเจตนา และสำาหรับทุกคนจะได้รับตามสิ่ง
ที่เขาตั้งเจตนาไว้ ” ( บันทึกโดยอิหม่ามบุคอรีย์และอิหม่ามมุสลิม )

6. จริยศาสตร์อิสลามเป็นกฏเกณฑ์ที่สติปัญญาให้การยอมรับ และเป็น
ที่พึงใจของจิตวิญญาณ ทุกสิ่งที่อิสลามสั่งห้ามล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งทีมี
                                                                  ่
เหตุผลทั้งสิ้น

"ผู้ศรัทธาทั้งหลาย แท้จริงสุรา และการพนัน และแท่นหินสำาหรับเชือด
บูชายัญ และการเสี่ยงติ้วนั้น เป็นสิ่งโสมม อันเกิดจาการกระทำาของชัย
ฏอน ดังนั้นพวกเจ้าจงห่างไกลจากมันเสีย เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้รบความั
สำาเร็จ ทีจริงชัยฏอนนั้น เพียงต้องการที่จะให้เกิดการเป็นศัตรูกัน และ
           ่
การเกลียดชังกันระหว่างพวกเจ้าในสุราและการพนัน เท่านั้น และมันจะ
หันเหพวกเจ้าออกจากการรำาลึกถึงอัลลอฮและการละหมาด แล้วพวก
เจ้าจะยังไม่ยุติอีกล่ะหรือ" ( อัลมาอิดะฮฺ 5 / 91 )
7. จริยศาสตร์อิสลาม จำาเป็นต้องยึดมั่นในวิธีการและเป้าหมาย การ
กล่าวว่า “ เป้าหมายจะกำาหนดวิธีการ” ถือเป็นคำากล่าวที่ค้านกับระบบ
จริยธรรมอิสลามโดยสิ้นเชิง จริยธรรมอิสลามต้องมีพื้นฐานจากวิธีการ
อันชอบธรรมและคำานึงถึงคุณค่าทาง จริยธรรมเสมอ ดังตัวอย่างจากพระ
คัมภีร์ที่วา ่

"และ หากพวกเขาขอให้พวกเจ้าช่วยเหลือในเรื่องศาสนา ก็จำาเป็นที่
พวกเจ้าต้องช่วยเหลือ เว้นแต่ในการสู้รบกับพวกซึ่งระหว่างพวกเจ้ากับ
พวกเขามีสนธิสัญญาต่อกัน และอัลลอฮนั้นเป็นผู้ทรงเห็นในสิ่งที่พวก
เจ้ากระทำา" ( อัลอัมฟาล 8 / 72)

ดำารัสนี้เป็นการบัญญัติใช้ให้มุสลิมต้องช่วยเหลือพี่น้องของพวกเขาที่ถูก
กด ขี่ ซึ่งถือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ทางด้านศาสนาของมุสลิม แต่หาก
การช่วยเหลือดังกล่าวทำาให้ต้องละเมิดสนธิสัญญาที่มีอยู่กับคนต่าง
ศาสนา ก็ไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้ เพราะเป็นวิธีการที่นำาไปสู่การ
บิดพลิ้วและละเมิดข้อตกลง ศาสนาอิสลามเกลียดการบิดพลิวและ    ้
เกลียดชังผู้บิดพลิ้วทังหลาย
                      ้

8. จริยศาสตร์อิสลามเกี่ยวข้องโดยตรงกับการศรัทธาและการยำาเกรง
ต่อพระเจ้า จริยธรรมหาใช่เป็นเพียงนามธรรมที่ประเสริฐเท่านัน หากแต่
                                                             ้
จริยธรรมจำาเป็นต้องเชื่อมสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับการ ดำาเนิน
ชีวิตทั้งหมด ดังนั้น สำาหรับอิสลามแล้ว หลักการเชื่อมั่นก็คือจริยธรรม
หลักการปฏิบัติก็คือจริยธรรม เมื่อส่วนหนึ่งส่วนใดบกพร่อง อีกส่วนหนึ่ง
ย่อมจะได้รบผลกระทบด้วยเช่นเดียวกัน
           ั

ท่านศาสดามุฮัมหมัด      กล่าวว่า

“ไม มีผู้ผิดประเวณีคนใด ในขณะที่เขากำาลังผิดประเวณีอยู่นั้น เป็นผู้มี
ศรัทธา และไม่มีผู้ดื่มสุราในขณะที่เขากำาลังดื่มอยู่นั้น เป็นผู้มีศรัทธา
และไม่มีผลักขโมยคนใด ขณะที่เขากำาลังขโมยอยูนั้น เป็นผู้มีศรัทธา”
            ู้                                     ่

ท่านศาสดามุฮัมหมัด      กล่าวว่า
“ เมื่อผู้เป็นบ่าวทำาซินา ( ผิดประเวณี ) เมื่อนั้นการศรัทธาได้ออกไป
จากตัวเขาแล้ว” (บันทึกโดย อิมาม อบูดาวู๊ด )

ท่านศาสดามุฮัมหมัด     กล่าวว่า

“ ไม่มีความศรัทธาสำาหรับผูที่ไม่มีความซื่อสัตย์ และไม่มีศาสนาสำาหรับ
                           ้
ผู้ที่ไม่รักษาสนธิสัญญา” ( บันทึกโดยอิมาม อะฮฺหมัด )

เพราะการศรัทธาที่แท้จริงนั้นย่อมนำาไปสู่จริยธรรมอันดีงาม ความ
ประพฤติที่ชั่วช้าจึงขัดแย้งกับการศรัทธาโดยสิ้นเชิง การศรัทธาและ
ความประพฤตชั่วนั้นย่อมไม่อาจอยู่รวมกันได้โดยเด็ดขาด
                                   ่

จริยศาสตร์อิสลามล้วนแล้วแต่เป็นกฎเกณฑ์ที่ธรรมชาติความเป็นมนุษย์
อัน บริสุทธิ์ให้การยอมรับ และสติปัญญาที่ถูกต้องไม่อาจปฏิเสธความ
สมบูรณ์นี้ได้ จริยธรรมจึงเป็นหลักฐานบ่งชี้ถึงการมีอิสลามที่สมบูรณ์ทั้ง
ในด้านการศรัทธา และการปฏิบัติ เมื่อใดก็ตามที่ศรัทธาเข้มแข็ง
จริยธรรมที่เข้มแข็งก็จะเป็นผลสืบเนื่องติดตามมาอยู่เสมอ

9. จริยศาสตร์ อิสลามระบุถึงการตอบแทนอย่างชัดเจน บัญญัติอิสลาม
จึงเป็นในลักษณะคำาสั่งใช้ให้กระทำา และคำาสั่งห้ามไม่ให้กระทำา ดังนั้น
ผู้ทละเมิดคำาสั่งย่อมได้รับผลกรรมตามที่ตนกระทำาไว้ การลงโทษผู้
    ี่
ฝ่าฝืน สำาหรับบางกรณีก็มีผลทันทีในโลกนี้ ตัวอย่างเช่น การเป็นพยาน
เท็จ การใช้วาจาหยาบคายและการทรยศ ผู้พิพากษาสามารถลงโทษได้
ตามความเหมาะสม

ตัวอย่างการลงโทษของพระองค์ในโลกนี้ ดังจะเห็นได้จาก ความพินาศ
ของประชาชาติที่มีการประพฤติชั่วอย่างแพร่หลาย ท่านศาสดามุฮัม
หมัด กล่าวถึงการลงโทษในลักษณะนี้ ว่า

“ แท้จริง สิ่งทีทำาให้ผู้คนก่อนพวกท่านได้รบความหายนะ คือ เมื่อผู้มี
                ่                         ั
เกียรติในหมู่พวกเขาลักขโมย พวกเขาก็จะปล่อยไปไม่เอาเรื่อง และเมื่อ
ผู้อ่อนแอในหมู่พวกเขาลักขโมย พวกเขาก็จะจัดการลงโทษผู้นั้นเสีย
ขอสาบานด้วยพระนามของอัลลอฮว่า หากว่าฟาฏิมะฮฺ บุตรีของมุฮัม
หมัด ขโมย แน่นอน ฉันจะต้องตัดมือของนาง” ( บันทึกโดยอิมามบุคอ
รียและอิมามมุสลิม )
    ์

ที่มา : http://www.islammore.com
จริยศาสตร์อิสลามกับจริยศาสตร์แขนงอื่น

                                                      โดย อิจรลาลีย์

ความแตกต่างระหว่างจริยศาสตร์อิสลามกับจริยศาสตร์แขนงอื่น

จริยศาสตร์อิสลามมีความแตกต่างที่ชัดเจนจากจริยศาสตร์แขนงอื่นๆ
ดังนี้

1. จริยศาสตร์อิสลามมีเป้าหมายเพื่อนำาไปสู่การปฏิบัติ และชี้แนะสู่
หนทางที่พึงยึดถือและดำาเนินตาม เพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม
ทีแท้จริง แต่จริยศาสตร์ทางปรัชญามุ่งเน้นแต่กฎเกณฑ์ภาคทฤษฎี
  ่
เท่านั้น

2. ที่มาของจริยศาสตร์อิสลามมาจาก พระบัญชาแห่งพระเจ้า จึงเป็น
บัญญัติที่มั่นคงถาวร เป็นแบบอย่างที่สูงส่ง สอดคล้องกับมนุษย์ทั้งหมด
โดยไม่จำากัดว่าเพศใด วัยใด เวลา หรือ สถานที่ใด แต่จริยศาสตร์แขนง
อื่นนั้น มีแหล่งที่มาจากสติปัญญามนุษย์ หรือเป็นการเห็นพ้องของชนก
ลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จึงย่อมที่จะเปลียนแปลง และไม่มั่นคงได้เสมอ กฎ
                                 ่
เกณฑ์จริยธรรมของสังคมหนึ่ง อาจไม่ใช่สำาหรับอีกสังคมหนึ่ง ความ
เห็นพ้องของสังคมหนึ่งก็อาจไม่ตรงกับความเห็นพ้องของอีกสังคมหนึ่ง
เป็นต้น

3. การสร้างจิตสำานึกว่าจริยธรรมเป็นเรื่องสำาคัญ จำาเป็นของมนุษย์
สำาหรับทัศนะอิสลามแล้ว คือ การรำาลึกอยู่เสมอว่ามนุษย์เราทุกคนมีผู้
คอยติดตาม สอดส่อง ดูแลอยู่เสมอ มนุษย์ไม่อาจรอดพ้น การเห็น การ
ได้ยินของพระเจ้า เพราะพระองค์ ทรงรู้ ทรงได้ยิน และทรงมองเห็น ทุก
การกระทำาของเขาอยู่ตลอดเวลา แต่เกณฑ์ดังกล่าวสำาหรับจริยศาตร์อื่น
แล้ว อาศัยจิตใต้สำานึก หรือความรู้สึกกว่าเป็นหน้าที่ เป็นกฎเกณฑ์ที่พึง
ธำารงรักษา

4. จริยศาตร์อิสลามไม่แยกระหว่างศาสนากับการดำาเนินชีวิต ไม่แยก
ระหว่างผู้สร้างกับผู้ถูกสร้าง กฎเกณฑ์จริยธรรมจึงกำาหนดผลตอบแทน
ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ตามแต่การกระทำาของบุคคลนั้นَๆ ทุกสิ่งอย่าง
ไม่วาเล็กหรือใหญ่ ไม่ว่าในที่ลบหรือที่แจ้งล้วนได้รับการตอบแทนอย่าง
     ่                          ั
เที่ยงธรรม พระคัมภีร์ระบุวา ่
" ดังนั้น ผู้ใดกระทำาความดี มีนำ้าหนักเท่าละอองธุลี เขาก็จะได้เห็นมัน
ส่วนผู้ใดกระทำาความชั่ว หนักเท่าละอองธุลี เขาก็จะได้เห็นมัน " (
อัซซัลซะละฮฺ 99 /7-8 )

กล่าวคือ ทุกความดีความชั่วที่มนุษย์ประกอบไว้ เขาจะพบมันถูกบ
บันทึกอย่างละเอียดในบันทึกของเขา เพื่อได้รับการตอบแทนอย่าง ครบ
ถ้วน ทั้งนี้เป็นการสอดคล้องกับข้อเท็จจริงทีว่า อัลลอฮจะไม่ทรง
                                           ่
หลงลืมการงานใดของมนุษย์ ไม่วาจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม ดังที่พระองค์
                                 ่
ตรัสว่า

"แท้จริง อัลลอฮ จะไม่ทรงอยุติธรรม แม้มีนำ้าหนักเท่าละอองธุลี " ( อัน
                        นิซาอฺ 4 / 40 )

5. จริยศาตร์อิสลามไม่เป็นสมบัตที่บุคคลใดจะอ้างเป็นเจ้าของผูกขาด
                              ิ
ได้

จุดมุ่งหมายของจริยศาสตร์อิสลาม

เราทุกคนล้วนมีเป้าหมายในการดำาเนินชีวิต หากแต่เป้าหมายชีวิตของผู้
ศรัทธาไม่ได้จำากัดแต่เพียงโลกนี้เท่านั้น ผู้ศรัทธาปรารถนาการมีชีวิตที่
ผาสุกทั้งในโลกนีและโลกหน้า ความสุขในโลกนี้ไม่ได้อยู่ที่การมี
                 ้
ทรัพย์สินเงินทองมากมาย ไม่ได้อยู่ที่การมีอำานาจ มีเกียติยศชื่อเสียง
มีหน้ามีตาในสังคม มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ แต่ความสุขทีแท้จริง คือ
                                                         ่
การได้รบความพอพระทัยจากพระเจ้า การได้เป็นทีรักที่โปรดปรานของ
        ั
พระองค์

สำาหรับโลกหน้าอันเป็นโลกที่จีรงถาวรนั้น ความสุขที่แท้จริงคือการได้
                              ั
พำานักในสรวงสวรรค์ของพระองค์ เป็นความสุขอันสถาพรและนิรนดร์   ั
กาล

พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสว่า " สำาหรับบรรดาผูทำาดีในโลกนี้ คือความดี ( ได้
                                         ้
รับการตอบแทนที่ดี ) และแน่นอนในปรโลกนั้น ย่อมดีกว่า และที่พำานัก
ของบรรดาผู้ยำาเกรงนัน ช่างดีเลิศ " ( อันนะฮลฺ 16 / 30 )
                       ้

"แล้วผูใดที่ถูกให้ห่างไกลจากไฟนรก และถูกให้เข้าสวรรค์แล้วไซร้
       ้
แน่นอน เขาได้ชนะแล้ว" ( อาละอิมรอน 3 / 185 )
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์
ความหมายจริยศาสตร์

More Related Content

What's hot

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiNantawat Wangsan
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕Namon Bob
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 

What's hot (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacraments
ศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacramentsศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacraments
ศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacraments
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 

Similar to ความหมายจริยศาสตร์

คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Wataustin Austin
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80Rose Banioki
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 

Similar to ความหมายจริยศาสตร์ (12)

05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 
Mazhab
MazhabMazhab
Mazhab
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80
 
6.3
6.36.3
6.3
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 

ความหมายจริยศาสตร์

  • 1. ความหมายจริยศาสตร์ โดย อิจรลาลีย์ เชิงภาษา จริยะในภาษาอาหรับตรงกับคำาว่า อัล-อัคลาค ซึงในรูปศัพท์ ่ แล้ว คำาว่า “ อัคลาก” เป็น พหูพจน์ของ อัล-คุลุก หมายถึง สัญชาติ ญาณ ความเคยชิน ธรรมชาติที่มีอยูในตัวมนุษย์ สิ่งที่ประพฤติปฏิบัติอยู่ ่ เป็นประจำา คำาว่า “ คุลุก” มีปรากฏอยู่ในพระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน อยู่ 2 ที่ ดังในบท อัล-กอลัม ดำารัสที่วา ่ " และแท้จริงเจ้านั้น อยู่บนคุณธรรมอันยิ่งใหญ่่ " ( 68/4 ) และในบท อัชชุอะรออฺ ดำารัสทีว่า ่ " นี่ไม่ใช่อะไรอื่นนอกจากเป็นเรื่องโกหกในสมัยก่อนๆ" ( 19 / 137 ) พระดำารัสของอัลลอฮ ทีปรากฏคำาว่า “คุลุก” ในสองที่นี้ ให้ความหมาย ่ ต่างกัน ดังปรากฏว่าในที่แรก เป็นการกล่าวในลักษณะสรรเสริญ ชมเชย ฐานะเป็นบรรทัดฐานพฤติกรรม คุณธรรมหรือจริยธรรมในที่นี้มาจากพระ ผู้เป็นเจ้า ซึ่งพระองค์ทรงประทานผ่านเทวทูตแห่งพระองค์ แก่หัวใจ ของท่านศาสดามุฮัมหมัด เพื่อบัญชาให้ทานยึดถือเป็นคุณธรรมประจำา ่ ตัวท่านและเป็นแบบฉบับอันดีงามแก่ ผู้ติดตามท่านในภายหลัง หมาย ถึงเมื่อพระองค์ทรงประทานอัลกุรอานเป็นบทบัญัติแห่งพระองค์แก่ท่าน ศาสดา แล้ว ท่านศาสดามีน้าที่โดยสมบูรณ์ในการปฏิบัติตามสิ่งที่ พระองค์ทรงบอกกล่าวไว้ใน พระคัมภีร์ ซึงแน่นอนว่าพฤติกรรมทั้งหมด ่ ของท่านล้วนเป็นอรรถาธิบายที่ลึกซึ้ง ละเอียดลออแก่พระคัมภีร์ จึงสรุป ได้ว่า คำาว่า “คุลุก” ในความหมายแรก หมายถึง ธรรมชาติประจำาตัว มนุษย์ ความเคยชิน สัญชาติญาณ ทีอัลลอฮ ทรงกำาหนดไว้เป็น ่ ธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ ขณะที่อีกพระดำารัสหนึ่งเป็นการกล่าวบรรยายถึงคุณลักษณะที่สืบต่อกัน มาของชน รุ่นก่อน กล่าวคือเป็นธรรมเนียมประเพณี สืบต่อกันมาจากชน ก่อนหน้าท่านศาสดาฮู๊ด อะลัยฮิสสลาม ( Hud ) ทีทำาหน้าที่เชิญชวน ่ ตักเตือน แต่แล้วกลุ่มชนของท่านกลับตอบรับท่านด้วยการปฏิเสธและ เย้ยหยัน โดยกล่าวอ้างว่าสิ่งทีท่านนำามานั้นเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของ ่ ชนรุ่นก่อนๆ
  • 2. จริยธรรมในเชิงภาษาแล้วจึงหมายความถึง ภาคแสดงภายในของมนุษย์ ซึ่งก็คืออุปนิสัย หรือ ธรรมชาติตัวตนที่แท้จริงของบุคคลนั้นๆ ส่วนภาค แสดงภายนอกนั้น เรียกว่า พฤติกรรม หรือความประพฤติ ทีเปิดเผยและ ่ แสดงออกมา หากเป็นพฤติกรรมที่ดี ก็ถือว่ามีจริยธรรม และหากเป็น พฤติกรรมตรงกันข้าม ก็ถือว่าไร้จริยธรรม ดังนั้น ความประพฤติจึงถือ เป็นเครื่องหมายบ่งชี้ถึงอุปนิสัยภายในและพฤติกรรมภาย นอก ความหมายสากล คือ ศาสตร์ทว่าด้วยเรื่องของชีวิตที่มีจริยธรรม สนับสนุนให้รู้จักจุดมุ่ง ี่ หมายของชีวิต ชี้แจงถึงกฏเกณฑ์การตัดสินและมาตรวัดระดับจริยธรรม เป็นศาสตร์ที่อธิบายถึงความหมายของความดีและความชั่ว ดีคืออะไร ไม่ดีคืออะไร แบบอย่างอันสูงส่งทีมนุษย์พึงยึดถือปฏิบัติตามคืออะไร ่ จริยศาสตร์ศึกษาว่า อะไรควรเว้น อะไรควรทำา อะไรผิด อะไรถูก อะไรดี อะไรชั่ว โดยเปรียบเทียบความประพฤตินั้นกับความดีเลิศทั้งหลาย กล่าวโดยสรุปคือ “เป็นศาสตร์ที่นำาพาสู่หนทางที่พึงกระทำา สู่สิ่งที่พึงจะ เป็น” จริยศาสตร์จึงถือเป็นตัวแปรสำาคัญในการชี้นำาบุคคลให้อยูบน ่ รากฐานการตัดสินใจ ที่มั่นคง แน่วแน่ ไม่คล้อยตามอารมณ์และความ ต้องการของตน เป็นศาสตร์ที่วาด้วยอุดมคติอันสูงสุดที่มีความสัมพันธ์ ่ อยู่กับชีวิตมนุษย์ จริยศาสตร์ (Ethics) หมายถึงสาขาหนี่งของปรัชญาทีว่าด้วยการ ่ แสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ การแสวงหากฎเกณฑ์ในการ ตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไรถูก ไม่ถูก ดี ไม่ดี ควร ไม่ควร จะพิจารณาของคุณค่าทางศีลธรรม (ราชบัณฑิตยสถาน,2540:34) สำาหรับคำานิยามเฉพาะของจริยศาสตร์ อิสลาม คือ ศาสตร์ที่ประมวลไว้ ด้วยเรื่องของคำาพูด การกระทำา ทีจำาเป็นต้องตั้งอยู่บนมูลฐาน กฎเกณฑ์ ่ กติกามารยาท ทีสอดคล้องและสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับคัมภีร์ขอ ่ งอัลลอฮ และแนวทางการปฏิบัติของท่านศาสดามุฮัมหมัด จริยธรรมจึงไม่ได้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของศาสนาแต่เป็นแก่นแท้ เป็นจิต วิญญาณของอิสลาม พฤติกรรมตามธรรมชาติของมนุษย์
  • 3. พฤติกรรม คือ การกระทำาตามเจตจำานงค์ เพื่อให้เกิดผลดังที่ตั้งเจตนา ไว้ การกระทำาที่เป็นผลจากเจตจำานงค์ จากความคิด ความตั้งใจของผู้ กระทำาเท่านั้นที่เรียกว่าพฤติกรรม และเป็นการกระทำาที่แบ่งแยกระหว่าง มนุษย์กับสัตว์ เพราะสัตว์มีเพียงการกระทำาที่มาจากสัญชาติญาณ เท่านั้น และมนุษย์เป็นผลจากการผสมผสานระหว่างดินและวิญญาณ จึง เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่พร้อมประพฤติในด้านดีและด้านไม่ดีอย่างเท่า เทียม หากแต่มนุษย์ทุกคนถูกสร้างมาพร้อมกับการมีสิทธิ์เลือกอย่างเสรี ระหว่างสิ่ง ดีและสิ่งไม่ดี ดังปรากฏในพระคัมภีร์ ว่า "พระองค์ทรงดลใจชีวิตให้รู้ทางดีและทางชั่ว" ( อัชชัมซฺ 91/ 8 ) "และเรา( อัลลอฮ )ได้ชี้แนะทางแห่งความดีและความชั่วให้แก่เขา แล้ว" (อัลบะลัด 90 /10 ) พลังธรรมชาติที่ฝังอยู่ในมนุษย์ทุกคน คือ พลังแห่งสติปัญญา พลังแห่ง ความคิด ใครทีใช้สติปัญญาในการขัดเกลาตนเอง ทำาให้ตนบริสุทธิ์จาก ่ สิ่งไม่ดีทั้งหลาย นันย่อมแสดงถึงชัยชนะ ส่วนใครที่ดับพลังสติปัญญานี้ ่ ย่อมพบกับความผิดหวังและขาดทุน แน่นอนผู้ที่ขัดเกลาชีวิต ย่อมได้รบความสำาเร็จ และแน่นอนผู้หมกมุ่นใน ั การชั่ว ย่อมล้มเหลว(อัชชัมซฺ91/9-10) จะเห็นได้ว่า พฤติกรรมมนุษย์เป็นเรื่องที่เปลียนแปลงได้เสมอ หากได้ ่ รับการอบรม ขัดเกลา เมื่อมนุษย์เคยชินกับภาวะแวดล้อมใด พฤติกรรม มนุษย์ก็สามารถคล้อยตามสภาวะแวดล้อมนั้นๆ อิสลามจึงได้ส่งเสริม และกำาชับในเรื่องจริยธรรมอันดีงาม หากพฤติกรรมมนุษย์เป็นสิ่งคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงแล้ว ก็เท่ากับว่า อิสลามได้สั่งใช้ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ หรือ กลายเป็นว่าบัญญัติอิสลามเป็นสิ่งไม่มีความหมาย ซึ่งดังกล่าวเป็น ไปไม่ได้ โดยเด็ดขาด ท่านศาสดา มุฮัมมัด กล่าวว่า “ความสุขุมมีขึ้น ด้วยการหมั่นสุขุม ความอดทนมีขึ้น ด้วยการหมั่น อดทน และะความรู้จะมีขึ้น ด้วยการหมั่นเรียนรู้” พระคัมภีร์อัลกุรอานระบุวา ่
  • 4. "และจงตักเตือนเถิด แท้จริง การตักเตือนนั้นจะยังประโยชน์แก่บรรดาผู้ ศรัทธา " ( อัซซาริยาต 51 / 55 ) ๊ จึงเป็นที่เข้าใจชัดเจนแล้วว่า อุปนิสัย พฤติกรรมของมนุษย์ย่อมสามารถ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้เสมอ หากมนุษย์ถูกสร้างมาพร้อมกับอุปนิสัยที่ ตายตัวแล้ว การตักเตือนดังปรากฏในพระดำารัสข้างต้น จะมีประโยชน์ต่อ มนุษย์ได้อย่างไร ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมและพฤติกรรมมนุษย์ เมื่อทราบแล้วว่าอุปนิสัยคือภาคแสดงภายในตัวมนุษย์ และพฤติกรรม คือภาคแสดงภายนอก ทังสองจึงมีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่น เปรียบ ้ ดั่งลักษณะความสัมพันธ์ของ ผล และ เหตุ ของสิ่งที่เกิดและสิ่งที่ทำาให้ เกิด หากแต่ไม่สามารถกล่าวได้ว่า เฉพาะอุปนิสัยเท่านั้นที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมของมนุษย์ เพราะในความเป็นจริงแล้วยังคงมีภาวะแวดล้อ มอื่นๆที่เกี่ยวข้องและอาจส่งผล โดยตรงต่อพฤติกรรมของมนุษย์ ซึงสิ่ง ่ ดังกล่าวอาจสามารถระงับพฤติกรรมนั้นๆจากผู้กระทำาได้ ดังเราจะเห็น ได้ว่า ไม่จำาเป็นที่ผู้ที่ได้ชื่อว่ากล้าหาญ จะต้องเป็นคนกล้าหาญอยู่ ตลอดเวลา เพราะในบางสถานการณ์ความเจ็บป่วยอาจทำาให้เขาไม่ สามารถแสดงถึงความกล้าหาญของ ตนในสถานการณ์ใด สถานการณ์ หนึ่งได้ เป็นต้น จริยศาสตร์อิสลาม โดย อิจรลาลีย์ กล่าวได้ว่า จริยศาสตร์อิสลามนั้น คืออุดมการณ์ คือรากฐาน คือ แนวทางการประพฤติปฏิบัติตน ตามแนวทางที่ถูกต้องเที่ยงตรงที่ถูก บัญชาใช้ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเป็นมุสลิมผู้นอบน้อมยอมจำานนโดยสิ้น เชิง จริยศาสตร์อิสลามได้มอบความเอ็นดูเมตตาให้หยั่งรากลึกในจิต วิญญาณของมนุษย์ ให้มนุษย์มีความเมตตา ต่อเพื่อนมนุษย์ ต่อสรรพ สัตว์ และต่อทรัพยากรธรรมชาติทั้งมวล และความเอ็นดูเมตตานี่เองที่ นำาไปสู่คุณธรรมอันประเสริฐซึ่งยังความผาสุกแก่สังคมทั้งหมดอย่างทั่ว ถึง
  • 5. อิสลามได้วางระบบจริยธรรมที่สมบูรณ์แบบ ไม่มีการเพิ่มเติม ตัดทอน เปลียนแปลง ปรับปรุงใดๆได้อีก และทุกการเสริมเติมแต่งบทบัญญัติ ่ ศาสนานั้น อิสลามถือว่าเป็นโมฆะ ดังทีท่านศาสดา มุฮัมหมัด กล่าวว่า ่ “ ใครที่ประดิษฐ์สิ่งใดขึ้นใหม่ นอกเหนือจากคำาสั่งของเรา นั้น ถือเป็น โมฆะ” (ไม่ถูกตอบรับ ) พระผู้เป็นเจ้าไม่ได้กำาหนดคำาสั่งใช้และคำาสั่งห้ามใดๆ โดยไม่มีเหตุผล ทุกคำาสั่งของพระองค์นั้น เป็นการแสดงถึงความยุติธรรมของพระองค์ อย่างแท้จริง ดังจะเห็นได้จากการตอบแทนผู้กระทำาดีและการลงโทษผู้ กระทำาผิด ในดำารัสของพระองค์ทว่า ี่ "และสิ่งที่อยู่ในชั้นฟ้าทั้งหลาย และสิ่งที่อยู่ในแผ่นดินนั้นเป็นกรรมสิทธิ์ ของอัลลอฮ พระองค์จะทรงตอบแทนบรรดาผู้กระทำาความชั่วตามที่พวก เขาได้กระทำาไว้ และจะทรงตอบแทนบรรดาผู้กระทำาความดีด้วยความดี " (อันนัจมฺ / 31 ) พระองค์จะทรงนำาการงานทั้งหมดของมนุษย์ทั้งดีและชั่ว มาชั่งในตาชั่ง ความดีความชัวของพระองค์ ซึงไม่มีผู้ใดล่วงรูถึงสภาพและวิธีการชั่ง ่ ่ ้ ของพระองค์ แต่แน่นอนที่สุดว่า การชั่งความดีความชั่วของพระองค์ใน วันแห่งการตัดสินนั้น ละเอียดถี่ถวน และเที่ยงธรรมอย่างที่สุด พระองค์ ้ ได้แจ้งถึงการตัดสินของพระองค์ในดำารัสที่วา ่ "และ เราจะตั้งตราชูที่เที่ยงธรรม สำาหรับวันกิยามะฮฺ ( วันปรโลก ) ดัง นั้นจะไม่มีชีวิตใดถูกอธรรมแต่อย่างใด และแม้ว่ามันจะมีนำ้าหนักเพียง เท่าเมล็ดพืชเล็กๆ เราก็จะนำามาแสดงให้เห็น และเป็นการพอเพียงแล้ว สำาหรับเรา ที่เป็นผู้ชำาระสอบสวน " ( อัลอัมบิยาอฺ 21 / 47 ) "และ การชั่งในวันนั้นเป็นความจริง ดังนั้น ผู้ใดที่ตราชูของเขาหนัก ชน เหล่านีแหละคือผู้ที่ได้รับความสำาเร็จ และผู้ใดที่ตราชูของเขาเบา ขน ้ เหล่านีแหละคือผู้ที่ก่อความขาดทุนให้แก่ตัวของพวกเขาเอง เนื่องจาก ้ การที่พวกเขามิได้ให้ความเป็นธรรม แก่บรรดาโองการของเรา" ( อัลอะอฺร็อฟ 7/ 8-9) และภายหลังจากการตัดสินอันเที่ยงธรรมของพระองค์แล้ว จะมีกลุ่ม หนึ่งได้เข้าพำานักในสรวงสวรรค์ และ อีกกลุ่มหนึ่งเข้าสู่ขุมนรก ดังดำารัส ทีว่า ่
  • 6. "ส่วนบรรดาผู้ศรัทธา และประกอบสิ่งที่ดีงามทั้งหลายนั้น พระองค์จะ ทรงตอบแทนพวกเขาโดยครบถ้วย ซึ่งรางวัลของพวกเขา และจะทรง เพิ่มให้แก่พวกเขาด้วย จากความกรุณาของพระองค์ และส่วนบรรดาผู้ที่ หยิ่งและยโสนั้น พระองค์จะทรงลงโทษพวกเขา ด้วยการลงโทษอันเจ็บ แสบ และพวกเขาจะไม่พบผู้คุ้มครอง และผู้ช่วยเหลือใดๆ สำาหรับพวก เขาอื่นจากอัลลอฮเลย " ( อันนิซาอฺ4 / 173 ) นี่คือสิ่งที่อิสลามมอบแด่มนุษยชาติ เพื่อให้ผู้ศรัทธาเป็นผู้นอบน้อม จำานนต่อพระองค์ เป็นผู้รำาลึกนึกถึงพระองค์เป็นอาจิณ เป็นผู้คิดบัญชีตัว เองอยู่เสมอ ไม่อธรรมผู้ใด ไม่บิดพลิ้วคดโกง ไม่เย่อหยิ่งจองหอง และ มีความละอายต่อพระองค์ไม่ว่าอยู่ในที่ลบหรือที่เปิดเผยก็ตาม ั " การตอบแทนของพวกเขา ณ ที่พระเจ้าของพวกเขา คือสวนสวรรค์ หลากหลายอันสถาพร ณ เบื้องล่างของสรวงสวรรค์นั้นมีลำานำ้าหลายสาย ไหลผ่าน พวกเขาเป็นผู้พำานักอยู่ในนั้นตลอดกาล อัลลอฮทรงปิติต่อ พวกเขา และพวกเขาก็ยินดีในพระองค์ นั่นคือ สำาหรับผู้ที่กลัวเกรง พระเจ้าของพวกเขา" ( อัลบัยยินะฮฺ 98 /8 ) ความสำาคัญของจริยศาสตร์อิสลามต่อชีวิตมนุษย์ ไม่วาสังคมชนชั้นใด หากสมาชิกในสังคมไม่มีความสัมพันธ์อย่าง ่ แน่นแฟ้นในด้านคุณธรรมจริยธรรม ความสงบสุข ความเห็นอกเห็นใจ ความเข้าใจซึ่งกันในสังคมย่อมไม่อาจมีได้ และหากสังคมกำาหนด ให้การมีอยู่ของสังคมตั้งอยู่บนผลประโยชน์ทางด้านวัตถุ เพียงอย่าง เดียว โดยไม่คำานึงถึงเป้าหมายที่สูงส่งและมั่นคงยิ่งกว่า วิถีชีวิตของ สังคมนั้นๆย่อมไม่จรังยังยืน ความอยู่รอดของสังคมจึงไม่ได้ อยูที่เงิน ี ่ ่ ตรา ชื่อเสียง ความสะดวกสบาย แต่จำาเป็นที่จะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐาน จริยธรรมอย่างน้อย 2 ประการ นั่นคือ ความแน่วแน่มั่นคง และ การเป็น ทียอมรับไว้วางใจ จริยธรรมที่สูงส่งจึงถือเป็นสิ่งจำาเป็นทีทุกสังคมจะ ่ ่ ขาดเสียไม่ได้ จริยธรรมเป็นเสมือนแกนกลางที่ประสานหรือสร้างความ สัมพันธ์อันดีแก่เพื่อน มนุษย์ด้วยกัน เมื่อใดที่จริยธรรมดับสูญ เมื่อนั้น สมาชิกในสังคม จะแตกแยก ขาดความรัก สมัครสมานสามัคคีและขาด ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เมื่อตามหลักเกณฑ์สากลจริยศาสตร์มีความสำาคัญถึงเพียงนี้ สำาหรับ ทัศนะอิสลามแล้ว จริยศาสตร์มีความสำาคัญและเป็นสิ่งจำาเป็นยิ่งกว่า ดัง จะเห็นได้จากการที่อิสลามกำาหนดการตอบแทนและการลงโทษสำาหรับ
  • 7. มนุษย์ทั้งใน โลกนี้และโลกหน้า ดังตัวอย่างที่อัลกุรอานได้บอกเราไว้ถง ึ การลงโทษแก่กลุ่มชนที่ปราศจาก จริยธรรม ดังในดำารัสที่วา ่ "และแท้จริง เราได้ทำาลายประชาชาติจากศตวรรษก่อนจากพวกท่านไป แล้ว เมื่อพวกเขาเป็นผู้อธรรม" ( ยูนุส 10 / 13 ) "และพระเจ้าของเจ้าไม่ทรงทำาลายหมูบ้านใดโดยอยุติธรรม โดยที่ ่ ประชากรของหมู่บ้านนันเป็นผู้ฟื้นฟู ทำาความดี" ( ฮู๊ด 11 / 117) ้ อิสลามให้ความสำาคัญกับจริยธรรมอย่างมาก เพราะอิสลามถือว่า จริยธรรม เป็นเรื่องที่จำาเป็นและสำาคัญยิ่งต่อความสงบยั่งยืนของสังคม พฤติกรรมของมนุษย์เชื่อมโยงผูกติดกับอุปนิสัยภายในเสมอ เสมือนดั่ง ความสำาพันธ์ของ กิ่งก้านสาขาของต้นไม้ที่มีต่อรากไม้ซึ่งซ่อนตัวอยูใต้ ่ ผืนดิน พฤติกรรมอันดีงามก็เป็นผลจากการมีจริยธรรมงดงาม กิ่งก้านจะ งดงามแข็งแรง รากแก้วก็ต้องงดงามและแข็งแกร่งด้วยเช่นเดียวกัน " และ เมืองที่ดีนั้น ( มีดินดี ) ผลิตผลของมันจะงอกออกมาด้วยอนุมัติ แห่งพระเจ้าของมัน และเมืองทีไม่ดีนั้น ผลิตผลของมันจะไม่ออก ่ นอกจากในสภาพแกร็น" ( อัลอะรอฟ 7 / 58 ) ดังนั้น แผนการปฏิรูปบุคคลและ สังคม จึงต้องปลูกฝัง บ่มเพาะที่จิตใจ เป็นอันดับแรก อิสลามจึงมุ่งเน้นที่การขัดเกลาจิตใจเพื่อขจัดความ สกปรกขุ่นมัว อันเป็นจุดกำาเนิดของพฤติกรรมที่ไม่ดีงามทังหลาย ้ " แท้จริง อัลลอฮ จะมิทรงเปลี่ยนแปลงสภาพของชนกลุ่มใด เว้นแต่ พวกเขาจะเปลี่ยนแปลงสภาพ ของพวกเขาเอง" ( อัรเราะดฺ 13 / 11 ) อิสลามตระหนักดีว่า หาก กฏเกณฑ์จริยธรรมทางสังคมถูกละเลยเพิก เฉยไปแล้ว แน่นอนที่สุดว่า การหลอกลวงหักหลัง การคดโกงบิดพลิ้ว การโกหก การหลั่งเลือด การละเมิดในสิ่งต้องห้ามและในสิทธิต่างๆย่อม เกิดขึ้น มนุษยธรรมจะมีเพียงแต่ชื่อ ไม่มีความรัก ไม่มีการช่วยเหลือ เกื้อกูล ไม่มีความเอ็นดูเมตตา และไม่มีความความบริสทธิ์ใจ เมื่อนั้น ุ สังคมจะกลายเป็นขุมเพลิงที่มนุษย์ไม่อาจต้านทานความร้อนระอุ และ ทนรักษาชีวิตในขุมเพลิงนั้นได้ เพราะโดยธรรมชาติความเป็นมนุษย์แล้ว มนุษย์ย่อมต้องอาศัยพึ่งพาเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน และโดยธรรมชาติความ
  • 8. เป็นมนุษย์อีกเช่นกันที่มนุษย์มักต้องการอำานาจ ปรารถนาที่จะครอบ ครอง เห็นแก่ตัวและต้องการแก้แค้น "และ เมื่อเขาให้หลังไปแล้ว เขาก็เพียรพยายาม เพื่อก่อความเสียหาย ในแผ่นดินนั้น และทำาลายพืชผล และเผ่าพันธุ์ และอัลลอฮนั้น ไม่ทรง ชอบการก่อความเสียหาย" ( อัลบะเกาะเราะฮ 2 / 205 ) และนี่เองคือเหตุผลที่อิสลามต้องให้ความสำาคัญต่อจริยธรรมด้วยการ วางรากฐาน ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งกลายเป็นสิ่งจำาเป็นต่อผู้เป็น มุสลิมทุกคนที่จะต้องยึดถือและดำาเนินตาม จริยศาสตร์อิสลามจึงหาใช่ เป็นเพียงกฎเกณฑ์ที่ถูกวางไว้เท่านั้น แต่ถือเป็นบัญชาจากพระเจ้าที่ ประมวลไว้ด้วยคำาสั่งใช้ คำาสั่งห้าม สิ่งที่อนุมัติ และสิ่งที่พึงระวัง จาก พระองค์ ดังนั้น ใครที่เชื่อฟังพระองค์ก็จะได้รับการตอบแทน และใครที่ ฝ่าฝืนพระองค์ก็จะได้รับการลงโทษ จริยธรรมกับการศรัทธา หากมองในด้านหลักศรัทธาแล้ว จริยธรรมนับว่ามีความสำาคัญอย่างมาก เพราะอิสลามได้โยงความสำาคัญระหว่างการศรัทธาและการมีจริยธรรม ไว้อย่างแน่น แฟ้น ดังปรากฏในวจนะศาสดา เมื่อท่านถูกถามว่า ผู้ ศรัทธาใดที่ถือว่าเป็นผู้มีศรัทธาสูงสุด ? ท่านตอบว่า “ คือผู้มี จริยธรรมดีงามที่สุด ” อิสลามจึงไม่แยกจริยธรรมออกจากการศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า การยก ระดับจริยธรรมให้เกี่ยวพันกับการรู้จักพระองค์นั้น นับเป็นหนทางในการ สร้างฐานะอันสูงส่งแก่มนุษย์ และในขณะเดียวกันก็เป็นการประกันสังคม ให้ได้รับความปลอดภัย ร่มเย็นสงบสุข อิสลามถือว่าการศรัทธานั้นเป็นความดี เพราะการศรัทธานั้นครอบคลุม ในกิจการศาสนาเอาไว้ทั้งหมด ศรัทธาในอิสลามแทรกซึมอยู่ที่หวใจ ั ลิ้น และอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย กล่าวคือ การศรัทธาในศาสนา อิสลาม หมายถึง การเชื่อมั่นด้วยหัวใจ เอ่ยด้วยคำาพูด และ ประจักษ์จริง บนการกระทำา ทังสามต่างยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน และอยู่ควบคู่กันเสมอ ้ พระคัมภีร์ระบุว่า "หาใช่คุณธรรมไม่ การที่พวกเจ้าผินหน้าของพวกเจ้าไปทางทิศตะวัน ออกและทิศตะวันตก แต่ทว่าคุณธรรมนั้น คือผู้ที่ศรัทธาต่ออัลลอฮ และ
  • 9. วันปรโลก และศรัทธาต่อมลาอิกะฮฺ่ ( เทวทูต ) ต่อบรรดาคัมภีร์ และ ต่อนบีทั้งหลาย" ( อัลบะเกาะเราะฮ 2 / 177 ) ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวว่า “ คุณธรรม คือ การมีจริยธรรมอันดีงาม ” (บันทึกโดยอิมามบุคอรีย์ อิมามมุสลิมและอิมามติรมีซีย์ ) ความดีเป็นคุณลักษณะของการกระทำาที่ดำารงไว้ซึ่งคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งครอบคลุมทุกสิ่งอย่างที่เป็นความดีงาม จริยธรรมกับการประกอบศาสนกิจ ในด้านการอิบาดะฮฺ ( การแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อพระเจ้า ) อิสลามถือว่า การแสดงออกถึงการจงรักภักดี เป็นจิตวิญญาณของ จริยธรรม เพราะการประกอบศาสนกิจนี้ถือเป็นการกระทำาตามบัญชาของ พระเจ้า จริยธรรมจึงเป็นอีกครึ่งหนึ่งของศาสนาบัญญัติ จึงเห็นได้ว่า อิสลามได้เชื่อมสัมพันธ์ระหว่าง การศรัทธา การจงรักภักดีด้วยสาย สัมพันธ์ของจริยธรรม เพื่อให้จุดมุ่งหมายของจริยธรรมเด่นชัดและ ประจักษ์จริง ณ ทีนี้จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า หลักการปฏิบัติในศาสนาอิสลาม ล้วนมี ่ จุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมจริยธรรมเป็นที่ตั้ง เสมือนดั่งสนามฝึกฝนให้คุ้น เคย และเคยชิน เพื่อการดำารงชีวิตอย่างสันติบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรม พระคัมภีร์อัลกุรอานได้ระบุไว้อย่างชัดเจนถึงเหตุผลอัน แยบยลที่พระผู้เป็น เจ้าทรงกำาหนดศาสนกิจต่างๆเพื่อเป็นข้อบังคับใช้ แก่ผู้ศรัทธาในพระองค์ ตัวอย่างเช่น เรื่อง การละหมาด อัลลอฮ ตรัสว่า "และจงดำารงการละหมาด (เพราะ) แท้จริงการละหมาด นั้นจะยับยั้งการทำาลามกและความชั่ว" ( อัลอังกะบูต / 45 ) การออกห่างจากสิ่งชั่วช้า ละเว้นจากคำาพูดและการกระทำาที่ไม่ดีไม่งาม ทั้งหลาย ถือเป็น แก่นแท้ของการละหมาดทีแท้จริง หาใช่สักแต่ว่า ่ ละหมาดให้ผ่านเลย จะได้ชื่อว่า ละหมาด หากยังคงไม่ละทิงจากสิ่งไม่ ้ ดีทั้งหลาย ก็ถือว่าถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริงของการละหมาดไม่ ท่าน ศาสดามุฮัมหมัด กล่าวไว้ในฮะดีส กุ๊ดซีย์ มีความว่า
  • 10. “ แท้จริงข้า ( อัลลอฮ ) จะรับละหมาดของผู้ที่ถ่อมตนในความยิ่งใหญ่ ของข้าฯ ไม่แสดงอาการโอหัง ด้วยการละหมาด เพื่อโอ้อวดมนุษย์ทั้ง หลาย ไม่นอนในสภาพทียังคงฝ่าฝืนข้า ใช้กลางวันในการรำาลึกถึงข้า ่ เขาเอ็นดูเมตตาคนยากจน คนเดินทาง หญิงหม้าย และผู้ประสบเคราะห์ กรรม บุคคลประเภทดังกล่าวมานี้ รัศมีของเขาเช่นเดียวกับแสงสว่าง ของดวงอาทิตย์ “ เรื่อง การชำาระซะกาต ( บริจาคทานบังคับ ) จุดมุ่งหมายของการบริจาคหาใช่เพียงการหยิบยื่นแก่คนที่มีฐานะด้อย กว่า แต่จุดมุ่งหมายประการแรกนั้น คือ การบ่มเพาะความรู้สึกรักใคร่ สงสาร เอ็นดูเมตตา และเชื่อมสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างชนชั้นทีแตก ่ ต่าง เพื่อสร้างความใกล้ชิด ปิดความอิจฉาริษยา และลดช่องว่างใน สังคม พระคัมภีร์ได้ระบุเป้าหมายข้อนี้ไว้อย่างชัดเจน ดังดำารัสที่วา ่ "(มุฮัมหมัด)จงเอาจากทรัพย์ของพวกเขาเป็นทาน เพื่อการขัดเกลาและ ซักฟอกเขาให้สะอาดบริสุทธิ" ( อัตเตาบะฮฺ / 103 ) ์ การบริจาคทาน ถือเป็นการพัฒนาจิตใจ ให้รู้จักเสียสละ ไม่ตระหนีถี่ ่ เหนียว เอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ อีกทั้งยังนำามาซึ่งความปลาบปลื้มใจของผู้รบั เป็นการรักษาเกียรติของเพื่อนมนุษย์ ขจัดความเป็นศัตรู และความ เกลียดชัง สร้างความมั่นคงในสังคม ทำาให้ระบบสังคมมีความสูงส่งและ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เรื่อง การถือศีลอด อิสลามไม่ได้พิจารณาการถือศีลอดว่าเป็นเพียงแค่ การอดอาหารและ เครื่องดื่มในช่วงเวลากลางวันเท่านั้น แต่ยังคำานึงถึงการหักห้ามจิตใจไม่ ให้ประกอบความชั่วต่างๆอีกด้วย ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวเน้นใน เรื่องนี้วา ่ “ ใครที่ไม่ละทิงคำาพูดเท็จและ การกระทำาที่เป็นเท็จ อัลลอฮก็ไม่ทรง ้ ประสงค์สิ่งใดจากการที่เขาละทิ้งอาหารและเครื่องดื่ม ” ( บันทึกโดย อิ มาม บุคอรีย์ ) เรื่อง การประกอบพิธีฮัจญ์ ( พิธแสวงบุญ ที่นครมักกะฮฺ ) ี
  • 11. อัลลอฮ ตรัสว่า "(เวลา) การทำาฮัจญ์นั้นมีหลายเดือนอัน เป็นทีทราบกันอยู่แล้ว ดังนั้นผู้ ่ ใดที่ได้ให้การทำา ฮัจญ์จำาเป็นแก่เขาในเดือนเหล่านั้น แล้ว ก็ต้อง ไม่มี การสมสู่ และไม่มีการละเมิด และไม่มีการวิวาท ใดๆ ใน (เวลา) การ ทำาฮัจญ์ และความดีใดๆ ที่ พวกเจ้ากระทำานัน อัลลอฮทรงรู้ดี และพวก ้ เจ้า จงเตรียมเสบียงเถิด แท้จริงเสบียงที่ดีที่สุดนั้น คือความยำาเกรง และพวกเจ้าจงยำาเกรงข้าเถิด โอ้ ผู้มปัญญาทั้งหลาย! "( อัลบะเกาะ ี เราะฮ 2 / 197 ) จากดำารัสนี้ชี้ให้เห็นว่า เมื่อประกอบพิธีฮัจญ์ มุสลิมต้องอยู่ในสภาพที่ สงบเสงี่ยม อดทน อดกลั้น ควบคุมอารมณ์และความโกรธ ไม่กระทำา การใดที่ส่อไปในทางเกี้ยวพาราสี การละเมิดขอบเขตของศาสนาหรือ การทะเลาะวิวาทใดๆ ดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ศาสนบัญญัติอันเป็นเสาหลักของศาสนานั้น แม้ ภายนอกจะแสดงออกถึงการปฏิบัติของร่างกาย แต่เหตุผลทีแฝงอยู่ใน ่ ข้อบังคับใช้เหล่านั้นล้วนนำาพาสู่จุดมุ่งหมายที่ทาน ศาสดา มุฮัมหมัด ่ ได้วาดไว้ ดังที่ทานกล่าวว่า ่ “ แท้จริง ฉันถูกส่งมาเพื่อทำาให้จริยธรรมอันประเสริฐสมบูรณ่์ ” ดังนั้น ศาสนกิจทั้งหลายทั้งมวล ล้วนแต่เป็นขั้นตอนสู่จริยธรรมอัน สมบูรณ์ เพื่อธำารงรักษา และปกป้องชีวิตมนุษย์ มุสลิมทียึดมั่นกับคุณค่า ่ จริยธรรมเหล่านี้ เขาก็จะได้รับฐานะอันมีเกียรติของศาสนา และหากเขา ไม่ได้รับคุณค่าใดๆจากจริยธรรมทีอิสลามมอบให้ หัวใจของเขาก็จะไม่ ได้รับการขัดเกลาเพราะตกเป็นทาสของกิเลสนั่นเอง อัลลอฮ ตรัสว่า "แท้จริง เราได้ศรัทธาต่อพระเจ้าของเราเพื่อพระองค์จะทรงอภัยความ ผิดต่าง ๆ ของเราให้แก่เราและทรงอภัยสิ่งทีท่านได้บังคับให้เรากระทำา ่ เกี่ยวกับเรื่องมายากลและอัลลอฮนั้นทรงเป็นผู้ดีเลิศยิ่งและทรงยั่งยืน ตลอดไป *ความจริงนั้น ผู้ใดมาหาพระเจ้าของเขาในสภาพของผู้กระทำา ความผิด แน่นอน เขาจะได้รับนรกเป็นการตอบแทน โดยที่เขาจะไม่ตาย และไม่เป็นในนั้น*และผู้ใดมาหาพระองค์โดยเป็นผู้ศรัทธาเขาได้กระทำา ความดีต่าง ๆ ไว้ ชนเหล่านีแหละสำาหรับพวกเขานั้นจะมีสถานะอันสูงส่ง ้ *สวนสวรรค์หลากหลายอันสถาพร ณ เบื้องล่างของมันมีลำานำ้าหลาย สายไหลผ่าน พวกเขาเป็นผู้พำานักอยูในนั้นตลอดกาล และนั่นคือการ ่
  • 12. ตอบแทนสำาหรับผู้ขัดเกลาตนเอง (ให้พ้นจากความชัว)" ( ฏอฮา / ่ 73-76 ) สำานึกจริยธรรม โดย อิจรลาลีย์ การสำานึกถึงความจำาเป็นของจริยธรรมถือเป็นรากฐานที่สำาคัญที่สุดของ ระบอบ จริยธรรมอิสลาม ความจำาเป็นของจริยธรรมในที่นี้ หมายถึง การ ที่บุคคลสำานึกถึงหน้าที่ที่ตนพึงปฏิบัติต่อผู้อื่น โดยถือเป็นสิ่งจำาเป็นที่ ละทิ้งไม่ได้ การสำานึกว่าตนต้องรับผิดชอบต่อการกระทำาของตน สำานึก ว่าตนมีหน้าที่ มีหลักการ และมีอิสระในการเลือกปฏิบัติ สิ่งต่างๆเหล่านี้ จะเป็นสิ่งที่ตัดสินและตอบ แทนในทุกการกระทำา ความรู้สึกถึงความ จำาเป็นดังกล่าวจึงเป็นความรับผิดชอบสูงสุด และเป็นเสาหลักของ จริยธรรมอิสลาม ดังกล่าวเป็น เพราะ 1. หากขาดจิตสำานึกว่าจริยธรรมเป็นสิ่งจำาเป็นแล้ว แน่นอนว่า ความรับ ผิดชอบย่อมหายไป เมื่อความรับผิดชอบหายไปจากสังคม ความหวังที่ จะกำาหนดให้ทุกอย่างตั้งอยู่บนความเที่ยงธรรมก็ย่อมสูญสิ้นไปด้วย เช่น กัน 2. ความ โดดเด่นของจริยธรรมที่ดีงาม ขึ้นอยู่กับการมีสำานึกของบุคคล ในสังคม หากทุกคนขาดจิตสำานึกดังกล่าวแล้ว ก็เป็นไปไม่ได้เลยที่ บุคคลจะมองว่าสิ่งที่เป็นการฝ่าฝืนหรือชั่วช้าต่างๆ นั้นเป็นเรื่องที่น่า รังเกียจอย่างแท้จริง อิสลามจึงถือหลัก “ เอียะฮ์ซาน” หรือ การทำาดี เป็นสิ่งที่สำาคัญที่สุด ในการประพฤติตน ซึ่งความดีที่อิสลามหมายถึง ก็คือการเคารพ ภักดี ต่ออัลลอฮ เสมือน กับว่า เราเห็นพระองค์ แม้นว่าความเป็นจริงเราไม่ อาจเห็นพระองค์ในโลกนี้ได้ แต่เราต้องสำานึกอยู่เสมอว่า พระองค์ทรง เห็น ทรงได้ยินเราอยู่ตลอดเวลา ท่านศาสดา มุฮัมหมัด ถูกถามว่า ความดีคืออะไร? ท่านตอบว่า “ คือการที่ท่านเคารพภักดีต่ออัลลอฮ ประหนึ่งว่าท่านเห็นพระองค์ แม้น ว่าท่านจะไม่เห็นพระองค์ แต่แท้จริงแล้วพระองค์ทรงเห็นท่าน ” (บันทึกโดย อิหม่ามมุสลิม)
  • 13. พระคัมภีร์ได้ระบุยืนยันถึงการตรวจสอบ สอดส่องดูแลของพระองค์ ว่า "และ พระองค์ทรงอยูร่วมกับพวกท่านทั้งหลาย ไม่ว่าท่านทั้งหลายจะ ่ อยู่ ณ ทีใด และอัลลอฮทรงเห็นสิ่งที่พวกเจ้ากระทำา" ( อัลฮะดี๊ด 57 / 4 ่ ) "แท้จริง อัลลอฮนั้น ไม่สิ่งใดในพื้นดินและฟากฟ้าที่จะปิดบังพระองค์ได้ " ( อาละอิมรอน 3 / 5 ) มูลฐานของ สำานึกจริยธรรม พระมหาคัมภีร์อัลกุรอานได้ประมวลไว้ด้วยเรื่องของ แนวทางการปลูก ฝังจิตใต้สำานึกด้านจริยธรรม และ คุณธรรม อย่างมากมายหลายที่ด้วย กัน ซึ่งครอบคลุมทุกเรื่องไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ เพื่อมุ่งให้ปัจเจกบุคคล พิจารณาตนเอง เอาใจใส่ต่อสังคม และมุงให้สังคม เอาใจใส่ต่อ ่ ปัจเจกบุคคลเฉกเช่นเดียว กัน การสำานึกถึงความจำาเป็นของการมีจริยธรรมมาจากพื้นฐานต่างๆดังต่อ ไปนี้ 1. บทบัญญัติของศาสนา เพราะศาสนาเป็นแนวทางที่นำามนุษย์สู่ความ ดี และจริยธรรมที่ประเสริฐ " พระองค์ทรงเป็นผู้แต่งตั้งร่อซูลขึ้นคนหนึ่ง ในหมู่ผไม่รู้หนังสือจาก ู้ พวกเขาเอง เพื่อสาธยายโองการต่างๆของพระองค์ แก่พวกเขา และ ทรงทำาให้พวกเขาบริสุทธิ์ผุดผ่อง และทรงสอนคัมภีร์และความสุขุม คัมภีร์ภาพแก่พวกเขา และแม้วาแต่ก่อนนี้ พวกเขาอยูในการหลงผิด ่ ่ อย่างชัดแจ้งก็ตาม " ( อัลญุมุอะฮฺ 62 / 2 ) บัญญัติต่างๆที่มในพระคัมภีร์ที่ผู้เป็นร่อซูล ( ศาสนทูต ) แห่งพระองค์ ี นำามานั้นได้ ถือเป็นสิ่งซักฟอกขัดเกลาจิตใจผู้ศรัทธา จากการปฏิเสธ ศรัทธาและความผิดต่างๆ โดยที่สภาพของพวกเขาก่อนที่ร่อซูลจะถูกส่ง มานั้น อยู่ในการหลงผิดอย่างชัดแจ้ง 2. สติปัญญา เพราะเป็นสิ่งชี้แนะมนุษย์สู่ความประพฤติที่ดีงาม และ ออกห่างจากสิ่งไม่ดีทั้งหลาย สิ่งที่อิสลามนำามาเสนอนั้นล้วนแต่มี เหตุผล มีคุณ และรักษาคุ้มครองความเป็นมนุษย์เอาไว้ หากมนุษย์ใช้ สติปัญญาพิจารณา ดังตัวอย่างจากดำารัสของพระองค์ที่วา ่
  • 14. "ผู้ศรัทธาทั้งหลาย แท้จริง สุรา และการพนัน และแท่นหินสำาหรับเชือด บูชายัญ และการเสี่ยงติ้วนั้น เป็นสิ่งโสมม อันเกิดจาการกระทำาของชัย ฏอน ดังนั้นพวกเจ้าจงห่างไกลจากมันเสีย เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้รบความั สำาเร็จ ทีจริงชัยฏอนนั้น เพียงต้องการที่จะให้เกิดการเป็นศัตรูกัน และ ่ การเกลียดชังกันระหว่างพวกเจ้าในสุราและการพนัน เท่านั้น และมันจะ หันเหพวกเจ้าออกจากการรำาลึกถึงอัลลอฮและการละหมาด แล้วพวก เจ้าจะยังไม่ยุติอีกละหรือ ?"( อัลมาอิดะฮฺ 5 / 91 ) 3. สำานึกจริยธรรม อันได้จาก การส่งเสริมและการขู่สัมทับ กล่าวคือ แนวทางการอบรมของอิสลามในด้านการยับยั้งสิ่งไม่ดีนั้นมีอยู่หลายทาง ด้วยกัน อาทิ - การขู่สัมทับให้ทราบถึงการลงโทษของอัลลอฮในโลกนี้ ทีมีต่อผู้ ่ ฝ่าฝืนและผู้อธรรม ดังดำารัสของพระองค์ทว่า ี่ "หากพวกเจ้ากตัญญู ข้าก็จะเพิ่มพูนให้แก่พวกเจ้า และหากพวกเจ้า เนรคุณ แท้จริงการลงโทษของข้านั้นสาหัสยิ่งนัก" ( อิบรอฮีม 14 / 7 ) - การแจ้งถึงผลตอบแทน ณ ที่พระองค์ ดังที่พระองค์ตรัสว่า "ดังนั้น จึงไม่มีชีวิตใดรู้ถงสิ่งที่ถูกซ่อนไว้สำาหรับพวกเขา ให้เป็นที่ ึ รื่นรมย์แก่สายตา เป็นการตอบแทนในสิ่งที่พวกเขาได้กระทำาไว้" ( อัซซัจญฺดะฮฺ 32 / 17 ) หมายถึงไม่มีใครจะสามารถล่วงรู้ถงปริมาณความโปรดปรานที่พระองค์ ึ ทรงตระ เตรียมไว้แก่บาวของพระองค์ อันเป็นสิ่งที่ ตาไม่เคยเห็น หูไม่ ่ เคยได้ยิน และหัวใจไม่เคยนึกฝันมาก่อน 4. สำานึกจริยธรรม อันได้จากการปรามของผู้มีอำานาจ กล่าวคือ การ ปรามจากสติปัญญาก็ดีหรือจากวิธีการเชิญชวนสู่ความดี หรือบอกกล่าว ถึงบทลงโทษก็ดี อาจไม่สามารถยับยั้งความชั่วจากบางกลุ่มบางพวกได้ ด้วยเหตุนี้อิสลามจึงได้มอบอำานาจให้กับผู้ปกครอง หรือ ผู้พิพากษา เพื่อดำาเนินการตัดสินตามเกณฑ์ตัดสินของพระองค์ " และขโมยชายและขโมยหญิงนัน จงตัดมือของเขาทั้งสองคน ทังนี้ ้ ้ เพื่อเป็นการตอบแทนในสิ่งทีทั้งสองนั้นได้แสวงหาไว้ (และ) เพื่อเป็น ่ เยี่ยงอย่างการลงโทษ จากอัลลอฮ และอัลลอฮนั้น ทรงเดชานุภาพ ทรงปรีชาญาณ " ( อัลมาอิดะฮฺ 5 / 38 )
  • 15. "หญิงมีชู้และชายมีชู้ พวกเจ้าจงโบยแต่ละคนในสองคนนั้น คนละหนึ่ง ร้อยที และอย่าให้ความสงสารยับยังการกระทำาของพวกเจ้าต่อคนทั้ง ้ สองนั้น ในบัญญัติของอัลลอฮเป็นอันขาด หากพวกเจ้าศรัทธาต่อ อัลลอฮ และวันปรโลก" ( อันนู๊ร 24 / 2 ) ทั้งหมดนี้คือกฎเกณฑ์การยับยั้งความชั่วที่อิสลามได้กำาหนดและวาง ระบบ จริยธรรมไว้มาช้านานแล้ว ทังนี้เพื่อไม่ให้ความชั่วช้าแพร่สะพัด ้ บนหน้าแผ่นดิน และการฝังจิตใต้สำานึกให้มีความเกรงกลัวต่อความผิด เกรงกลัวต่อพระผู้เป็นเจ้า ถือเป็นจิตใต้สำานึกสูงสุดที่จะบังคับให้บุคคล หันหลังจากความผิด ความชั่วช้าทั้งมวล ตัวอย่างสำานึกจริยธรรม 1. ท่านอบูบักร ( ขออัลลอฮทรงพอพระทัยในตัวท่าน ) ไม่เคยดื่มสุรา เลยสักครั้งเดียว ครั้งหนึ่งมีผู้ถามท่านว่า ในสมัยญาฮิลยะฮฺ ( ยุคก่อน ี อิสลาม ) ท่านหลีกเลี่ยงจากการดื่มสุราได้อย่างไร? ท่านอบูบักร ตอบ ว่า “ ฉันปรารถนาที่จะรักษาเกีรยติและความเป็นสุภาพบุรุษของฉันไว้ เพราะแท้ที่จริงแล้ว ผูที่ดื่มสุรา แน่นอนว่าเขาได้สูญเสียทั้งสติปัญญา ้ และความเป็นสุภาพบุรุษ ” 2. ครั้งแรกที่ทานศาสดา มุฮัมหมัด ได้รบการแต่งตั้งให้เป็นศาสดา ่ ั ท่านได้มาหา ท่านหญิง คอดิญะฮฺ ( ขออัลลอฮทรงพอพระทัยในตัวนาง ) ในสภาพที่ตื่นกลัว และตกใจ ท่านบอกกับนางว่า “ นำาผ้ามาห่มฉันที นำามามาห่มฉันที ” นางได้ปลอบโยนท่านศาสดา ว่า “ ขอสาบานต่ออัลลอฮ อัลลอฮจะไม่ทรงทำาให้ท่านได้รับความอัปยศ อย่างแน่นอน เพราะแท้จริงแล้ว ท่านเป็นผู้มีสัมพันธ์ต่อเครือญาติ ช่วย เหลือคนอ่อนแออนาถา เลียงดูคนยากจนขัดสน ท่านเป็นผูที่ต้อนรับ ้ ้ แขก และช่วยเหลือผู้อื่นให้รอดพ้นจากเคราะห์กรรม”(บันทึกโดย อิหม่ามบุคอรี )
  • 16. จากสองตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นว่า แม้ก่อนที่อิสลามจะถูกเผยแพร่ อย่างกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ แต่ในพื้นฐานจิตใต้สำานึกแล้ว จริยธรรม คุณธรรม ยังคงมีอยู่ในชาวอาหรับแต่เดิม และหลังจากมีศาสน บัญญัติ จริยธรรมเหล่านั้นก็ได้รับการส่งเสริมมากยิงขึ้น อาทิ ความ ่ ใจบุญ ความโอบอ้อมอารี การให้เกียรติแขกผู้มาเยือน และอื่นๆอีก มากมายอันเป็นสิ่งที่เป็นธรรมชาติติดตัวของชาวอาหรับ ก่อนที่จะมีการ แต่งตั้ง ศาสดา ท่านศาสดา กล่าวว่า “ มนุษย์นั้นเหมือนกับแร่ธาตุ ผู้ที่ดีที่สุดในสมัยญาฮิลียะฮ ก็จะเป็นผูที่ดี ้ ที่สุดในสมัยอิสลาม หากพวกเขาเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ”( บันทึกโดยอิมาม บุคอรีย์และอิมามมุสลิม ) เอกลักษณ์เฉพาะของจริยศาสตร์อิสลาม 1. เป็นกฏเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรมไม่ใช่นามธรรม ซึ่งเน้นยำ้าในเรื่องของ การมีสทธิเสรีภาพของมนุษย์ และการรับผิดชอบต่อผลการกระทำาของ ิ ตนเอง 2. เป็นกฏเกณฑ์ที่จำาเป็นและครอบคลุมโดยทั่วกัน ไม่มีการ เปลียนแปลง หรือปรับปรุงใดๆ เพราะล้วนครอบคลุมทั้งด้านสังคม ด้าน ่ เศรษฐกิจ ด้านการปกครอง ยิ่งไปกว่านั้น จริยศาสตร์อิสลามยังเป็น ประหนึ่งประการสำาคัญที่ป้องกันความอธรรมและความชั่ว ช้าต่างๆ ความครอบคลุมนียังรวมถึงเรื่องส่วนตัวของปัจเจกบุคคลและเรื่องที่ ้ เกี่ยวพัน กับบุคคลอื่น กลุ่มคนหรือแม้แต่รัฐ ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายใต้ ขอบเขตของจริยธรรมอย่างเคร่งครัด "เหล่านั้นแหละ คือ ขอบเขตของอัลลอฮ พวกเจ้าจงอย่าได้ละเมิด" ( อัลบะก่อรอฮ 2/ 229 ) 3. เป็น กฏเกณฑ์ที่กำาหนดหลักการและรายละเอียดแก่รางกายและจิต ่ วิญญาณพร้อมๆกัน มนุษย์ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ อารมณ์ ใคร่ฝ่ายตำ่าของตน ตามแต่ที่ตนปรารถนา หากแต่ต้องดำาเนินอยู่ภายใต้ กรอบแห่ง ศาสนบัญญัติ พระคัมภีร์ระบุว่า
  • 17. "และ พระองค์ทรงห้ามการลามก ความชัวช้าและการก่ออธรรม ่ พระองค์ทรงตักเตือนพวกเจ้า เพื่อพวกเจ้าจักได้รำาลึก " ( อันนะฮลฺ 16 / 90 ) ดังกล่าวเป็นกฏเกณฑ์จริยธรรมอันแผ่กว้างและครอบคลุมของพระผู้เป็น เจ้า เผื่อให้มนุษย์ออกห่างจากความไม่ดีไม่งามทั้งมวล เช่นเดียวกับที่ ท่านศาสดาได้เชิญชวนสู่จริยธรรมอันสูงส่งว่า “ ท่านทั้งหลายจงยำาเกรงต่ออัลลอฮเถิด ไม่วาท่านจะอยู่ ณ ทีใดก็ตาม ่ ่ จงติดตามความชั่วด้วยความดี ซึงความดีนั้นจะลบล้างความชั่ว และ ่ ท่านจงปฏิบัติต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยจริยธรรมอันดีงาม”( บันทึกโดย อิมาม มาลิกและอิมาม อบูดาวู๊ด ) 4. จริยศาสตร์อิสลาม ครอบคลุม และเหมาะสมกับทุกคน ทุกเวลา ทุก สถานที่ มีความง่ายดาย ไม่ยากลำาบาก อีกทั้งยังไม่จำากัดขอบข่ายที่ บุคคลจะก้าวสู่ความเจริญแห่งชีวิต ดังดำารัสของพระองค์ที่วา ่ "อัลลอฮ จะไม่ทรงบังคับชีวิตหนึ่งชีวิตใด นอกจากตามความสามารถ ของชีวิตนั้นเท่านั้น " (อัลบะเกาะเราะฮ 2/286 ) "และพระองค์มิได้ทรงทำาให้เป็นการยากลำาบากแก่พวกเจ้าในเรื่องของ ศาสนา" ( อัลฮัจญ์ 22 / 78 ) 5. จริยศาสตร์อิสลามไม่ตัดสินแต่เพียงการกระทำาภายนอกเท่านัน แต่ ้ ถือการพิจรณาที่เจตจำานงค์ และภาวะที่ผลักดันสู่การกระทำานั้นๆเป็น หลัก ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวว่า “ แท้จริง การงานนั้น ขึ้นอยู่กับเจตนา และสำาหรับทุกคนจะได้รับตามสิ่ง ที่เขาตั้งเจตนาไว้ ” ( บันทึกโดยอิหม่ามบุคอรีย์และอิหม่ามมุสลิม ) 6. จริยศาสตร์อิสลามเป็นกฏเกณฑ์ที่สติปัญญาให้การยอมรับ และเป็น ที่พึงใจของจิตวิญญาณ ทุกสิ่งที่อิสลามสั่งห้ามล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งทีมี ่ เหตุผลทั้งสิ้น "ผู้ศรัทธาทั้งหลาย แท้จริงสุรา และการพนัน และแท่นหินสำาหรับเชือด บูชายัญ และการเสี่ยงติ้วนั้น เป็นสิ่งโสมม อันเกิดจาการกระทำาของชัย
  • 18. ฏอน ดังนั้นพวกเจ้าจงห่างไกลจากมันเสีย เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้รบความั สำาเร็จ ทีจริงชัยฏอนนั้น เพียงต้องการที่จะให้เกิดการเป็นศัตรูกัน และ ่ การเกลียดชังกันระหว่างพวกเจ้าในสุราและการพนัน เท่านั้น และมันจะ หันเหพวกเจ้าออกจากการรำาลึกถึงอัลลอฮและการละหมาด แล้วพวก เจ้าจะยังไม่ยุติอีกล่ะหรือ" ( อัลมาอิดะฮฺ 5 / 91 ) 7. จริยศาสตร์อิสลาม จำาเป็นต้องยึดมั่นในวิธีการและเป้าหมาย การ กล่าวว่า “ เป้าหมายจะกำาหนดวิธีการ” ถือเป็นคำากล่าวที่ค้านกับระบบ จริยธรรมอิสลามโดยสิ้นเชิง จริยธรรมอิสลามต้องมีพื้นฐานจากวิธีการ อันชอบธรรมและคำานึงถึงคุณค่าทาง จริยธรรมเสมอ ดังตัวอย่างจากพระ คัมภีร์ที่วา ่ "และ หากพวกเขาขอให้พวกเจ้าช่วยเหลือในเรื่องศาสนา ก็จำาเป็นที่ พวกเจ้าต้องช่วยเหลือ เว้นแต่ในการสู้รบกับพวกซึ่งระหว่างพวกเจ้ากับ พวกเขามีสนธิสัญญาต่อกัน และอัลลอฮนั้นเป็นผู้ทรงเห็นในสิ่งที่พวก เจ้ากระทำา" ( อัลอัมฟาล 8 / 72) ดำารัสนี้เป็นการบัญญัติใช้ให้มุสลิมต้องช่วยเหลือพี่น้องของพวกเขาที่ถูก กด ขี่ ซึ่งถือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ทางด้านศาสนาของมุสลิม แต่หาก การช่วยเหลือดังกล่าวทำาให้ต้องละเมิดสนธิสัญญาที่มีอยู่กับคนต่าง ศาสนา ก็ไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้ เพราะเป็นวิธีการที่นำาไปสู่การ บิดพลิ้วและละเมิดข้อตกลง ศาสนาอิสลามเกลียดการบิดพลิวและ ้ เกลียดชังผู้บิดพลิ้วทังหลาย ้ 8. จริยศาสตร์อิสลามเกี่ยวข้องโดยตรงกับการศรัทธาและการยำาเกรง ต่อพระเจ้า จริยธรรมหาใช่เป็นเพียงนามธรรมที่ประเสริฐเท่านัน หากแต่ ้ จริยธรรมจำาเป็นต้องเชื่อมสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับการ ดำาเนิน ชีวิตทั้งหมด ดังนั้น สำาหรับอิสลามแล้ว หลักการเชื่อมั่นก็คือจริยธรรม หลักการปฏิบัติก็คือจริยธรรม เมื่อส่วนหนึ่งส่วนใดบกพร่อง อีกส่วนหนึ่ง ย่อมจะได้รบผลกระทบด้วยเช่นเดียวกัน ั ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวว่า “ไม มีผู้ผิดประเวณีคนใด ในขณะที่เขากำาลังผิดประเวณีอยู่นั้น เป็นผู้มี ศรัทธา และไม่มีผู้ดื่มสุราในขณะที่เขากำาลังดื่มอยู่นั้น เป็นผู้มีศรัทธา และไม่มีผลักขโมยคนใด ขณะที่เขากำาลังขโมยอยูนั้น เป็นผู้มีศรัทธา” ู้ ่ ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวว่า
  • 19. “ เมื่อผู้เป็นบ่าวทำาซินา ( ผิดประเวณี ) เมื่อนั้นการศรัทธาได้ออกไป จากตัวเขาแล้ว” (บันทึกโดย อิมาม อบูดาวู๊ด ) ท่านศาสดามุฮัมหมัด กล่าวว่า “ ไม่มีความศรัทธาสำาหรับผูที่ไม่มีความซื่อสัตย์ และไม่มีศาสนาสำาหรับ ้ ผู้ที่ไม่รักษาสนธิสัญญา” ( บันทึกโดยอิมาม อะฮฺหมัด ) เพราะการศรัทธาที่แท้จริงนั้นย่อมนำาไปสู่จริยธรรมอันดีงาม ความ ประพฤติที่ชั่วช้าจึงขัดแย้งกับการศรัทธาโดยสิ้นเชิง การศรัทธาและ ความประพฤตชั่วนั้นย่อมไม่อาจอยู่รวมกันได้โดยเด็ดขาด ่ จริยศาสตร์อิสลามล้วนแล้วแต่เป็นกฎเกณฑ์ที่ธรรมชาติความเป็นมนุษย์ อัน บริสุทธิ์ให้การยอมรับ และสติปัญญาที่ถูกต้องไม่อาจปฏิเสธความ สมบูรณ์นี้ได้ จริยธรรมจึงเป็นหลักฐานบ่งชี้ถึงการมีอิสลามที่สมบูรณ์ทั้ง ในด้านการศรัทธา และการปฏิบัติ เมื่อใดก็ตามที่ศรัทธาเข้มแข็ง จริยธรรมที่เข้มแข็งก็จะเป็นผลสืบเนื่องติดตามมาอยู่เสมอ 9. จริยศาสตร์ อิสลามระบุถึงการตอบแทนอย่างชัดเจน บัญญัติอิสลาม จึงเป็นในลักษณะคำาสั่งใช้ให้กระทำา และคำาสั่งห้ามไม่ให้กระทำา ดังนั้น ผู้ทละเมิดคำาสั่งย่อมได้รับผลกรรมตามที่ตนกระทำาไว้ การลงโทษผู้ ี่ ฝ่าฝืน สำาหรับบางกรณีก็มีผลทันทีในโลกนี้ ตัวอย่างเช่น การเป็นพยาน เท็จ การใช้วาจาหยาบคายและการทรยศ ผู้พิพากษาสามารถลงโทษได้ ตามความเหมาะสม ตัวอย่างการลงโทษของพระองค์ในโลกนี้ ดังจะเห็นได้จาก ความพินาศ ของประชาชาติที่มีการประพฤติชั่วอย่างแพร่หลาย ท่านศาสดามุฮัม หมัด กล่าวถึงการลงโทษในลักษณะนี้ ว่า “ แท้จริง สิ่งทีทำาให้ผู้คนก่อนพวกท่านได้รบความหายนะ คือ เมื่อผู้มี ่ ั เกียรติในหมู่พวกเขาลักขโมย พวกเขาก็จะปล่อยไปไม่เอาเรื่อง และเมื่อ ผู้อ่อนแอในหมู่พวกเขาลักขโมย พวกเขาก็จะจัดการลงโทษผู้นั้นเสีย ขอสาบานด้วยพระนามของอัลลอฮว่า หากว่าฟาฏิมะฮฺ บุตรีของมุฮัม หมัด ขโมย แน่นอน ฉันจะต้องตัดมือของนาง” ( บันทึกโดยอิมามบุคอ รียและอิมามมุสลิม ) ์ ที่มา : http://www.islammore.com
  • 20. จริยศาสตร์อิสลามกับจริยศาสตร์แขนงอื่น โดย อิจรลาลีย์ ความแตกต่างระหว่างจริยศาสตร์อิสลามกับจริยศาสตร์แขนงอื่น จริยศาสตร์อิสลามมีความแตกต่างที่ชัดเจนจากจริยศาสตร์แขนงอื่นๆ ดังนี้ 1. จริยศาสตร์อิสลามมีเป้าหมายเพื่อนำาไปสู่การปฏิบัติ และชี้แนะสู่ หนทางที่พึงยึดถือและดำาเนินตาม เพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ทีแท้จริง แต่จริยศาสตร์ทางปรัชญามุ่งเน้นแต่กฎเกณฑ์ภาคทฤษฎี ่ เท่านั้น 2. ที่มาของจริยศาสตร์อิสลามมาจาก พระบัญชาแห่งพระเจ้า จึงเป็น บัญญัติที่มั่นคงถาวร เป็นแบบอย่างที่สูงส่ง สอดคล้องกับมนุษย์ทั้งหมด โดยไม่จำากัดว่าเพศใด วัยใด เวลา หรือ สถานที่ใด แต่จริยศาสตร์แขนง อื่นนั้น มีแหล่งที่มาจากสติปัญญามนุษย์ หรือเป็นการเห็นพ้องของชนก ลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จึงย่อมที่จะเปลียนแปลง และไม่มั่นคงได้เสมอ กฎ ่ เกณฑ์จริยธรรมของสังคมหนึ่ง อาจไม่ใช่สำาหรับอีกสังคมหนึ่ง ความ เห็นพ้องของสังคมหนึ่งก็อาจไม่ตรงกับความเห็นพ้องของอีกสังคมหนึ่ง เป็นต้น 3. การสร้างจิตสำานึกว่าจริยธรรมเป็นเรื่องสำาคัญ จำาเป็นของมนุษย์ สำาหรับทัศนะอิสลามแล้ว คือ การรำาลึกอยู่เสมอว่ามนุษย์เราทุกคนมีผู้ คอยติดตาม สอดส่อง ดูแลอยู่เสมอ มนุษย์ไม่อาจรอดพ้น การเห็น การ ได้ยินของพระเจ้า เพราะพระองค์ ทรงรู้ ทรงได้ยิน และทรงมองเห็น ทุก การกระทำาของเขาอยู่ตลอดเวลา แต่เกณฑ์ดังกล่าวสำาหรับจริยศาตร์อื่น แล้ว อาศัยจิตใต้สำานึก หรือความรู้สึกกว่าเป็นหน้าที่ เป็นกฎเกณฑ์ที่พึง ธำารงรักษา 4. จริยศาตร์อิสลามไม่แยกระหว่างศาสนากับการดำาเนินชีวิต ไม่แยก ระหว่างผู้สร้างกับผู้ถูกสร้าง กฎเกณฑ์จริยธรรมจึงกำาหนดผลตอบแทน ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ตามแต่การกระทำาของบุคคลนั้นَๆ ทุกสิ่งอย่าง ไม่วาเล็กหรือใหญ่ ไม่ว่าในที่ลบหรือที่แจ้งล้วนได้รับการตอบแทนอย่าง ่ ั เที่ยงธรรม พระคัมภีร์ระบุวา ่
  • 21. " ดังนั้น ผู้ใดกระทำาความดี มีนำ้าหนักเท่าละอองธุลี เขาก็จะได้เห็นมัน ส่วนผู้ใดกระทำาความชั่ว หนักเท่าละอองธุลี เขาก็จะได้เห็นมัน " ( อัซซัลซะละฮฺ 99 /7-8 ) กล่าวคือ ทุกความดีความชั่วที่มนุษย์ประกอบไว้ เขาจะพบมันถูกบ บันทึกอย่างละเอียดในบันทึกของเขา เพื่อได้รับการตอบแทนอย่าง ครบ ถ้วน ทั้งนี้เป็นการสอดคล้องกับข้อเท็จจริงทีว่า อัลลอฮจะไม่ทรง ่ หลงลืมการงานใดของมนุษย์ ไม่วาจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม ดังที่พระองค์ ่ ตรัสว่า "แท้จริง อัลลอฮ จะไม่ทรงอยุติธรรม แม้มีนำ้าหนักเท่าละอองธุลี " ( อัน นิซาอฺ 4 / 40 ) 5. จริยศาตร์อิสลามไม่เป็นสมบัตที่บุคคลใดจะอ้างเป็นเจ้าของผูกขาด ิ ได้ จุดมุ่งหมายของจริยศาสตร์อิสลาม เราทุกคนล้วนมีเป้าหมายในการดำาเนินชีวิต หากแต่เป้าหมายชีวิตของผู้ ศรัทธาไม่ได้จำากัดแต่เพียงโลกนี้เท่านั้น ผู้ศรัทธาปรารถนาการมีชีวิตที่ ผาสุกทั้งในโลกนีและโลกหน้า ความสุขในโลกนี้ไม่ได้อยู่ที่การมี ้ ทรัพย์สินเงินทองมากมาย ไม่ได้อยู่ที่การมีอำานาจ มีเกียติยศชื่อเสียง มีหน้ามีตาในสังคม มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ แต่ความสุขทีแท้จริง คือ ่ การได้รบความพอพระทัยจากพระเจ้า การได้เป็นทีรักที่โปรดปรานของ ั พระองค์ สำาหรับโลกหน้าอันเป็นโลกที่จีรงถาวรนั้น ความสุขที่แท้จริงคือการได้ ั พำานักในสรวงสวรรค์ของพระองค์ เป็นความสุขอันสถาพรและนิรนดร์ ั กาล พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสว่า " สำาหรับบรรดาผูทำาดีในโลกนี้ คือความดี ( ได้ ้ รับการตอบแทนที่ดี ) และแน่นอนในปรโลกนั้น ย่อมดีกว่า และที่พำานัก ของบรรดาผู้ยำาเกรงนัน ช่างดีเลิศ " ( อันนะฮลฺ 16 / 30 ) ้ "แล้วผูใดที่ถูกให้ห่างไกลจากไฟนรก และถูกให้เข้าสวรรค์แล้วไซร้ ้ แน่นอน เขาได้ชนะแล้ว" ( อาละอิมรอน 3 / 185 )