SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
การ Implement NCD และ CKD clinic
แบบบูรณาการ
นายบัลลังก์ อุปพงษ์
นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาแพงเพชร
กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases)
**เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี
หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนาโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ
**เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก
Life Style วิธีการใช้ชีวิต
**พฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกาลังกาย
อาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียด
พ.ศ. 2552 องค์การอนามัยโลก(WHO) พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลก มี
63% เกิดจากกลุ่มโรค NCDs และกว่า 80% เป็น ประเทศที่กาลังพัฒนา
17.5 ล้านคนของประชากรโลก:ปี 2005 เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ
80% อยู่ในประเทศกาลังพัฒนา และเป็นกลุ่มวัยแรงงาน
เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจถึง 17 ล้านคน ( 48%ของโรค NCDs) รองลงมาคือ
โรคมะเร็ง 21% โรคถุงลมโป่ งพอง รวมโรคปอดเรื้อรังและหอบหืด 12% (4.2 ล้าน
คน) และ โรคเบาหวาน 4% (1.3 ล้านคน)
WHO ทานายไว้ว่าในปี พ.ศ. 2573 ประชากรโลกจานวน 23 ล้านคนจะเสียชีวิตจาก
โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โดย 85% อยู่ในประเทศกาลังพัฒนา
พ.ศ. 2552 พบว่า เสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs > 300,000 คน (73%ของการเสียชีวิต
ทั้งหมด) คิดเป็นมูลค่า ความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง 200,000 ล้านบาทต่อปี
21.4% (9.92 ล้านคน) เป็นโรคความดันโลหิตสูง และที่น่าเป็นห่วงคือ อัตราการรับรู้ว่า
ตนเองเป็นโรคความดันโลหิตสูง อัตราการเข้าถึงบริการ และอัตราการควบคุม โรคความ
ดันโลหิตสูงได้นั้นค่อนข้างต่า
6.9% (3.2 ล้านคน) มีภาวะน้าตาลในเลือดสูง อัตราการควบคุมได้ในกลุ่ม ผู้ที่มีภาวะ
น้าตาลในเลือดสูงยังอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพอใจ โดยเฉพาะประชากร ชายที่มีน้าตาลใน
เลือดสูง พบว่า 56.7% ที่รู้ตัว และมีเพียง 27.1% ที่สามารถ ควบคุมภาวะน้าตาลใน
เลือดได้
19.4% หรือเกือบ 9 ล้านคน มีภาวะไขมันคลอเรสเตอรอลสูง
โดยผู้หญิงมี ความชุกมากกว่าผู้ชาย
อัตราผู้ป่ วยในต่อประชากรแสนคน ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สาคัญ
ปี พ.ศ.2546-2555 ทั้งประเทศ (ยกเว้น กทม.)
โครงสร้างพื้นฐานระบบบริการของประเทศไทย
ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ
สาเหตุ
NCDs
ร้อยละ 76
บริโภคผักและ
ผลไม้น้อยหรือ
ต่ากว่าเกณฑ์
บริโภคน้าตาลและ
เกลือโซเดียม เพิ่มขึ้น
มากกว่าเกณฑ์
บริโภคเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ที่
เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เพิ่มขึ้น 2 เท่า
ภาวะน้าหนักเกิน
และอ้วนของคน
ไทย
ขาดการออกกาลัง
กายอย่าง
เหมาะสมและ
สม่าเสมอ
พฤติกรรมเสี่ยง โรคที่เกิดจากพฤติกรรม
อาการเตือนก่อนเกิดโรค NCDs
การสารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2558
Intervention + innovation
4 ลด 2 เพิ่ม
ป่ วย ,ตาย ,
รายจ่าย,ระยะเวลารอคอย
คุณภาพ ,
การเข้าถึงบริการ
ปกติ พฤติกรรมเสี่ยง ป่ วย ภาวะแทรกซ้อน
-การคัดกรอง
-เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง
-จัดทาแผนสุขภาพชุมชน
-สื่อสารความเสี่ยง
-การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-จัดทาแผนสุขภาพชุมชน
-สื่อสารความเสี่ยง
-CBL/KM ต่อเนื่อง
-การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-จัดทาแผนสุขภาพชุมชน
-สื่อสารความเสี่ยง
-CBL/KM ต่อเนื่อง
-การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-HHC
-Home word
-Palliative Care
-CBL/KM ต่อเนื่อง
-การคัดกรอง
-เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง
-NCD คุณภาพ
-DPAC
-REFER
-NCD คุณภาพ
-DPAC
-ประเมินภาวะแทรกซ้อน ไต
ตา เท้า CVD
-REFER
-NCD คุณภาพ
-DPAC
-ประเมินภาวะแทรกซ้อน ไต
ตา เท้า CVD
-REFER
สถาน
บริการ
community
NCD คุณภาพ , DHS
* NCD คุณภาพ (มาตรฐาน)
* แบบประเมินเชิงกระบวนการ
(ยกระดับจากอาเภอควบคุม
โรคเข้มแข็ง)
4ลด(ป่ วย , ตาย , รายจ่าย , ระยะเวลารอคอย)
2 เพิ่ม (คุณภาพ , การเข้าถึงบริการ)
+ Community Health System
การบูรณาการงานคลินิกโรคไตเรื้อรัง
แบบบูรณาการ
เพื่อชะลอการเสื่อมลงของไต
ในผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
แบบบูรณาการ
การศึกษาวิจัย จังหวัดกาแพงเพชร
จังหวัดกาแพงเพชร
*Community based randomized control trial
ทีมสหสาขา
วิชาชีพ
ประจา รพช
แพทย์
พยาบาล
เภสัชกร
นักโภชนาการ
เครือข่าย
เยี่ยมบ้าน
พยาบาล
จนท.สธ.
อสม
ผู้ป่ วยนักกายภาพ
การดาเนินงาน
Intervention
คลินิกโรคไตแบบบูรณาการ
1. ทีมสหวิชาชีพ จัดตั้งที่รพ.อาเภอ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล
เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพ (นักสุขภาพจิต)
2. เครือข่ายเยี่ยมบ้าน หรือ “ทีมรักษ์ไต” ได้แก่ พยาบาล
หรือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. ผู้ดูแลผู้ป่ วย
23
จานวนผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังกาแพงเพชร = ~ 20000+ ราย
จานวนผู้ที่ต้องล้างไต (5%) = ~ 1000+ ราย
ค่าล้างไต = 200,000 บาท ต่อราย ต่อปี
***** ช่วยลดค่าล้างไต 200 ล้านบาท ต่อปี*****
รักษาแบบมาตรฐาน
GFR ลดลง 4 m/min ต่อปี
รักษาแบบบูรณาการ GFR ลดลง 2 m/min ต่อปี
ช่วยยืดเวลาล้างไตจาก 7 ปี ออกไปเป็น 14 ปี
ระยะล้างไต
14 ปี
7 ปี
eGFR
2015 2022 2029
การดาเนินงานปี 2559
การบูรณาการ CKD กับ NCD
ใน Service Plan และสาขาอื่นๆ
การดาเนินงานด้านโรคไตและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (DM, HT) 2559-2563
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคมะเร็ง
โรคไตเรื้อรัง
ผู้ป่ วยรายใหม่ CKD, DM, HT ลดลง
DM control 50%
HT control 60%
CKD control 50%
System manager ระดับจังหวัด/อาเภอ+DHS
กิจกรรม การบริการและการบริหารจัดการ
คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์โรคไตเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงและสาขาอื่นๆ
กลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่ วย ตระหนักรู้ดูแล
ตัวเองได้
• คณะกรรมการ service plan สาขาไต และ สาขา
NCD กระทรวง สธ.
• DHS , ตาบลจัดการสุขภาพ, อปท.
การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง • DHS , ตาบลจัดการสุขภาพ, อปท.
การจัดระบบบริการ การเฝ้าระวัง
ป้องกัน คัดกรอง รักษา ฟื้นฟู
• คณะกรรมการ service plan สาขาไต ตา NCD
สุขภาพจิต สาขาทันตกรรม กระทรวง สธ.
ประชาชน
สิ่งแวดล้อม
สถานบริการ
การบูรณาการในชุมชนและสถานบริการ
การดูแลผู้ป่ วยเบาหวานความดันโลหิตสูง
และโรคไตเรื้อรังในสถานบริการ
รพสต./ศสม.
รพช.
รพท. หรือ รพศ
DM, HT ที่ควบคุมได้* และ ไม่มี
ภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า,
หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ)
• CKD ระยะ 1-2 และ
• CKD ระยะ 3 ที่ได้รับการดูแล
จน eGFR คงที่** และ ไม่มี
ภาวะแทรกซ้อนทางไต***
(ควรได้รับการตรวจประเมิน
จากแพทย์ในระดับ รพช.
อย่างน้อยปีละครั้ง)
DM, HT ที่ควบคุมไม่ได้ หรือ มี
ภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ
หลอดเลือดตีบ
ที่ไม่รุนแรง ควบคุมภาวะแทรกซ้อนได้)
• CKD ระยะ 3 ในช่วง 1 ปีแรก หรือ มี
eGFR ไม่คงที่
• CKD ระยะ 4 ที่ eGFR คงที่** และ
สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนทาง
ไต*** ได้ (ควรได้รับการตรวจประเมิน
จากแพทย์อายุรกรรมโรคไต. อย่างน้อย
ปีละครั้ง)
DM, HT ที่มี
ภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต,
เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือด
ตีบ ที่รุนแรง หรือ ควบคุม
ภาวะแทรกซ้อนไม่ได้)
• CKD ระยะ 4 ที่ eGFR
ไม่คงที่** หรือมี
ภาวะแทรกซ้อนทาง
ไต*** ที่ควบคุมไม่ได้
• CKD ระยะ 5
• จัดบริการเช่นเดียวกับ
ระดับ รพช. เพื่อดูแล
ผู้ป่ วย CKD ระยะ 3-4
ในเขตเมือง
การประเมินผลการดาเนินงาน
1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน (28 คะแนน)
2.การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ (คะแนนเต็ม 25 คะแนน)
3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงาน 7 มาตรการ /นวตกรรม (50คะแนน)
4. การบูรณาการ (คะแนนเต็ม 28 คะแนน)
5. การติดตามประเมินผล (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน)
SI3M+SPสธ.
5 องค์ประกอบ
7 มาตรการที่สาคัญ
มาตรการที่ 1
เฝ้าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคทั้ง
เพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนและสถานบริการ
มาตรการที่2
การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
มาตรการที่ 3
การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยงและการจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน
มาตรการที่ 4
การให้คาปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
มาตรการที่ 5
การพัฒนาคุณภาพการบริการ
มาตรการที่ 6
การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดาเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ
ให้มีความเข้มแข็ง
มาตรการที่ 7
การกากับ ติดตาม และประเมินผลและมีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างความดันโลหิตและการลดลงของ eGFR
American Journal of Kidney Diseases, Vol 36, No 3 (September), 2000: pp 646-661
eGFR (ml/min/1.73m2)
• เป้าหมาย HbA1c 7.0% เพื่อป้องกัน
microvascular complications ของเบาหวาน
รวมถึง โรคไตจากเบาหวาน
• ไม่รักษา HbA1c <7.0% ในคนไข้ที่มี
ความเสี่ยงต่อการเกิด น้าตาลในเลือดต่า
• เป้าหมาย 7.0 – 8.0% ในคนไข้ที่มีโรค ร่วม
และมีระยะเวลาที่คาดว่าจะมีชีวิตสั้น
Kidney International Supplements (2013) 3, 1-163
การควบคุมน้าตาลในเลือด
Balancing Act
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจในผู้ป่ วยไตเรื้อรัง
• ปัจจัยเสี่ยงทั่วไป
–ความดันโลหิตสูง
–เบาหวาน
–ไขมันในเลือดสูง
–ประวัติโรคหัวใจใน
ครอบครัว
–สูบบุหรี่
–โรคอ้วน
–อายุมาก
• ปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มมากขึ้นใน
ผู้ป่ วยไตเรื้อรัง
–โลหิตจาง
–พาราไทรอยด์สูงมากกว่าปกติ
–การเพิ่มขึ้นของ แคลเซี่ยม และ
ฟอสเฟต
–การลดลงของหน้าที่ไต
–การเพิ่มขึ้นของโปรตีนรั่วใน
ปัสสาวะ
– Uremic toxin
ผู้ป่ วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้าตาลได้ดี ปี2557-
2559
0
10
20
30
40
28.72
32.64 32.98
28.96 29.26 28.53
21.31 23.4
28.54 27.7 26.99 25.5 27.55
ปี2557 ปี2558 ปี2559
0
5
10
15
20
25
30
35
40
32.36 31.31
34.56 33.58 35.01 32.98
ปี2557
ปี2558
ปี2559
ผู้ป่ วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี 2557-2559
0
5
10
15
20
25
30
35
40
25.58
31.97 31.14
24.17 23.19 23.76
30.5
35.81 34.57 36.74
23.59
18.08
27.76
ปี2557 ปี2558 ปี2559
0
10
20
30
40
26
30.6 33.75 33.83 31.19 31.14
ปี2557
ปี2558
ปี2559
ผู้ป่ วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง ปี 2557-2559
0
20
40
60
80
100
45.62
56.3360.98
70.1
80.99 79.12
55.8 58.39
64.11 67.52 68.62 71.14
54.42 58.82
0
65.25
ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
0
20
40
60
80
100 86.33 83.48
73.55
86.36
71.17
80.99
ปี2557
ปี2558
ปี2559
ผู้ป่ วย DM, HT เป็นโรคไตเรื้อรังรายใหม่ ปี 2557-2559
0
10
20
30
40
26.73
23.69 23.37 22.48
27.08 25.25
28.6 27.99 27.47 25.5 24.26 24.88
0
25.61
ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
33.99
18.87
26.70
21.19
25.08 23.37
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ผู้ป่ วย CKD ที่สามารถควบคุมระดับ BP < 140/90 mmHg ปี 2557-2559
0
20
40
60
80
100
75.26 78.1
72.35 67.99
75.63
70.66
76.26 79.87 80.19 80.7
68.46
62.87
75.17
ปี2557 ปี2558 ปี2559
0.00
20.00
40.00
60.00
80.00 73.22 67.87 72.02 74.62 76.39 72.33
ปี2557
ปี2558
ปี2559
ผู้ป่ วย CKDมีอัตราการลดลงของeGFR < 4 ml/min/1.73
m2/yr ปี2557-2559
0
20
40
60
80
63.85 66.48 63.88 62.94 63.45 62.83 64.2 64.43 64.14 63.9 65.06 58.68 63.79
ปี2557 ปี2558 ปี2559
0
20
40
60
80 68.75 64.34
54.7
64.09 67.72 63.88
ปี2557
ปี2558
ปี2559
ผู้ป่ วยที่มารับบริการโรงพยาบาลได้รับ ACEi/ARB ปี 2557-2559
0
10
20
30
40
50
60
40.38
52.24 51.88 48.43 48.3 47.94
37.89
43.27 42.96
34.96
46.72
50.85
44.60
ปี2557 ปี2558 ปี2559
0
10
20
30
40
50
60 54.96
47.25
59.22
55.09
45.99
51.88
ปี2557
ปี2558
ปี2559
การบูรณาการCkd กับ ncd1

More Related Content

What's hot

introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561Kamol Khositrangsikun
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรKamol Khositrangsikun
 
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตแนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตCAPD AngThong
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Patinya Yutchawit
 

What's hot (20)

introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตแนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 

Viewers also liked

หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)wanvisa kaewngam
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีpluakdeang Hospital
 
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)thaiworkshoppbs
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจtanongsak
 
Advanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing PracticeAdvanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing PracticeMarilyn Herie
 
Motivational Interviewing
Motivational InterviewingMotivational Interviewing
Motivational Interviewingguestdbc5d7
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.Utai Sukviwatsirikul
 
Motivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communicationMotivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communicationdebraneal96
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการKhannikar Elle
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 

Viewers also liked (20)

Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
 
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
 
Advanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing PracticeAdvanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing Practice
 
Motivational Interviewing
Motivational InterviewingMotivational Interviewing
Motivational Interviewing
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
Motivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communicationMotivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communication
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 

Similar to การบูรณาการCkd กับ ncd1

คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์CAPD AngThong
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59Kamol Khositrangsikun
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Kamol Khositrangsikun
 
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Kamol Khositrangsikun
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายUtai Sukviwatsirikul
 
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557Chuchai Sornchumni
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรCAPD AngThong
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Boonyarit Cheunsuchon
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to การบูรณาการCkd กับ ncd1 (20)

คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
 
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
 
Respiratory dzmnt
Respiratory dzmntRespiratory dzmnt
Respiratory dzmnt
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
 
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
 

การบูรณาการCkd กับ ncd1

Editor's Notes

  1. องค์การอนามัยโลก เห็นว่ากลุ่มโรค NCDs เป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ สถานการณ์โรคและพฤติกรรมเสี่ยงของโรคNCDs เป็นที่มาของการกำหนดเป้าหมาย ความสำเร็จในการดำเนินงานร่วมกันของสหประชาชาติรวมทั้งประเทศไทย ในการดำเนินงาน ให้ประสบความสำเร็จในปีพ.ศ. 2568 โดยกำหนดแนวทาง ดังนี้ 1. ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ ต่อหัวประชากรต่อปีของประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ลดลงร้อยละ 10 2. ความชุกของการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ ลดลงร้อยละ 10 3. ความชุกของการบริโภคยาสูบในประชากรอายุมากกว่า 15 ปีขึ้นไป ลดลง ร้อยละ 30 4. ค่าเฉลี่ยปริมาณการบริโภคเกลือ/โซเดียมในประชากร ลดลงร้อยละ 30 5. ความชุกของภาวะความดันโลหิตสูง ลดลงร้อยละ 25 6. ความชุกของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง/โรคเบาหวานและโรคอ้วนในประชากรอายุ18 ปีขึ้นไป ไม่เพิ่มขึ้น 7. ประชากรอายุ 40 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองได้รับ คำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม (รวมถึงการควบคุมน้ำตาล) และรับยาเมื่อมีข้อบ่งชี้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 8. การมียาที่จำเป็นและเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานสำหรับรักษา/บริการผู้ป่วยโรคNCDs ที่สำคัญในสถานบริการ รัฐและเอกชน ร้อยละ 80 9. อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน (และ/หรือ) โรคปอดเรื้อรังของประชากร อายุระหว่าง 30-70 ปีลดลงร้อยละ 25
  2. สุขภาพมีความสัมพันธ์เชื่อมโรงกับปัจจัยต่างๆมากมายดังนั้นการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มระบบสุขภาพไทยจึงต้องวิเคราะห์และสังเคราะห์จากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่างๆทั้งทางด้านปัจเจกบุคล สภาพแวดล้อม ในทุกมิติ ที่จะกระทบต่อสุขภาพอันได้แก่ เศรษฐกิจ การศึกษา ประชากร ครอบครัวและการอพยพย้ายถิ่น ค่านิยม ความเชื่อและวัฒนธรรม การเมืองและการปกครอง สิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยี รวมทั้งตัวระบบบริการสุขภาพเอง นำมากำหนดกฎเกณฑ์การจัดบริการการแพทย์และสาธารณสุข