SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
การส่งเสริมพฤติกรรมเชิงบวก
และกระบวนการการวิเคราะห์พฤติกรรม
(Positive Behaviour Support and Functional Behaviour
Analysis )
ตอนที่ 1 และ 2: หลักการและเทคนิคเบื้องต้น
Dr. Michael Arthur-Kelly
The University of Newcastle
ความคาดหวัง:
เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผู้เข้าอบรมสามารถ :
 เห็นถึงความสาคัญของวิธีป้ องกันพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ โดยการจัด
สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออานวยและการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียนและบุคคลที่
เกี่ยวข้องได้
 นาขั้นตอนต่างๆที่อบรมในครั้งนี้ไปใช้ในการวางแผนและปฏิบัติจริงกับการ
ช่วยเหลือเป็นรายบุคคลของนักเรียนที่มีความต้องการการส่งเสริมด้าน
พฤติกรรมได้
เนื้อหาการอบรม: ตอนที่ 1 และ 2
 เกริ่นนาและแนะนาจุดมุ่งหมาย
 วิธีการป้ องกันการเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
 กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม (Functional Behavioural Assessment)
 แบบฟอร์ม ABC
 แบบฟอร์มตาราง Scatterplots
 แบบสัมภาษณ์ Interviews
เนื้อหาการอบรม: ตอนที่ 3 และ 4
 ทบทวน เรื่องกระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม (FBA)
 การตั้งสมมติฐาน (Hypothesis)
 การตั้งเป้ าหมาย (Goals)
 เทคนิควิธีการจัดการพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (Intervention strategies)
 เรื่องจริงจากสนามวิจัย
แนะนากรอบแนวความคิดหลัก
ปรับปรุงจาก April, 2007, with permission from Fox, L., Dunlap, G., Hemmeter, M. L., Joseph, G., & Strain, P. (2003). The
teaching pyramid: A model supporting social competence and preventing challenging behavior in young children.
Young Children, 58(4), 48-52. Published by the National Association for the Education of Young Children (NAEYC)(USA).
สรุประดับ1 ถึง 3 ของกรอบแนวความคิด
หลัก
กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ A
 ลองนึกถึงนักเรียนในชั้นเรียน (หรือเคยอยู่ในชั้นเรียน) ของท่านที่มีความ
ต้องการดูแลอย่างเป็นพิเศษด้านพฤติกรรมอยู่หรือเคยดูแล และตอบคาถาม
ต่อไปนี้ในกลุ่มของท่าน
 ท่านคิดว่าพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนของท่านเกิดมาจากสาเหตุเจาะจง
อะไรบ้าง
 เราในฐานะที่เป็นผู้ใหญ่และดูแลนักเรียน จะสามารถส่งเสริมและสนับสนุนพฤติกรรที่พึง
ประสงค์แก่นักเรียนคนนี้ได้อย่างไรบ้าง
แผนการช่วยเหลือเฉพาะบุคคล (Intensive
Individualised Interventions)
พฤติกรรมที่ต้องการการช่วยเหลือ หมายความว่าอย่างไร?
พฤติกรรมที่แสดงออกมาจากบุคคลหนึ่งอย่างเป็นประจา ซึ่งไม่เหมาะสมกับวัย บริบท และ
วัฒนธรรม นอกจากนี้พฤติกรรมนี้ยังส่งผลต่อในการจากัดความสามารถในการเรียนและ
ความสัมพันธ์ทางสังคมของตัวบุคคลเองและคนรอบข้าง รวมถึงครอบครัว คุณครู และผู้อื่น
ต้องเตรียมพร้อมในการช่วยเหลืออย่างถูกต้องและเหมาะสมด้านจริยธรรมด้วย พฤติกรรม
เหล่านี้อาจได้แก่ พฤติกรรมก้าวร้าว พฤติกรรมก่อกวนในชั้นเรียน พฤติกรรมไม่อยู่นิ่งและไม่มี
สมาธิ พฤติกรรมที่มีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤติกรรมต่อต้านสังคม และปัญหา
ทางอารมณ์ อย่างไรก็ดีพฤติกรรมนี้อาจลดลงได้หากมีการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ
(DADHC Behaviour Intervention Policy, February 2003)
องค์ประกอบสาคัญของแผนการส่งเสริมพฤติกรรมเชิง
บวกในชั้นเรียน
 เน้นความสาคัญของครอบครัว (Family focused)
 เน้นทักษะและจุดเด่นของนักเรียน (Skills and strengths based)
 การป้ องกัน (Preventative)
 เชิงบวก (Positive)
 เน้นที่รายบุคคล (Individualized)
 การร่วมมือกัน (Collaborative)
 ต้องการที่จะลดผลของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่ไปจากัดโอกาสทางการเรียนรู้และ
การเข้าสังคมของนักเรียน
แผนการช่วยเหลือเฉพาะบุคคล (Intensive
Individualised Interventions)
บริบทของพฤติกรรมที่ต้องการความช่วยเหลือ
 บริบท (Context) – ปัจจัยต่างๆที่อาจส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
 ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่ :
 การจัดองค์ประกอบทางกายภาพ
 จานวนคนและตาแหน่งในบริเวณนั้น
 ช่วงเวลาของวัน
 ประเภทของกิจกรรม
ลักษณะของพฤติกรรมที่ต้องการความช่วยเหลือ
 ลักษณะ (Form) – พฤติกรรมนั้นมีลักษณะเป็นอย่างไร
 ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่:
 ความสามารถพิเศษหรือความต้องการพิเศษของนักเรียนด้านต่างๆ เช่น ทักษะด้านการ
สื่อสาร ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดย่อย
 ประวัติการเรียนของนักเรียน พร้อมทั้งสารวจว่านักเรียนนั้นเคยใช้พฤติกรรมที่ไม่พึง
ประสงค์ในการช่วยให้เขาทาสิ่งต่างๆสาเร็จมาแล้วหรือไม่
วัตถุประสงค์ของพฤติกรรมที่ต้องการความ
ช่วยเหลือ
 วัตถุประสงค์ (Function) – พฤติกรรมที่แสดงออกมาแท้จริงแล้วเพื่อวัตถุประสงค์ใด
หรือกล่าวได้ว่าเป้ าหมายหรือจุดประสงค์ของพฤติกรรมนั้นเป็นสิ่งหนึ่งที่ยากต่อการ
ระบุชี้ชัด ดังนั้นเราต้องเก็บข้อมูลให้เพียงพอจากหลายๆช่องทางก่อนจะสรุปผล
 ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่ :
 พฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อการสื่อสารของนักเรียนมีมากน้อยเพียงใด
 พฤติกรรมเหล่านี้ได้ผลหรือไม่ในบริบทต่างๆ?
 บุคคลรอบข้างหรือกิจกรรมต่างๆนั้นมีการส่งเสริมให้ทักษะทางสังคมหรือการสื่อสาร
หรือไม่?
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม
(Functional Behaviour Assessment :FBA)
FBA หมายถึง ‘กระบวนการประเมินวัตถุประสงค์ของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ว่า
แสดงออกเพื่อต้องการสิ่งใด และทดแทนพฤติกรรมนั้นด้วยพฤติกรรมที่มีความ
เหมาะสมแต่สามารถแสดงออกและใช้เพื่อจุดหมายเดียวกันกับพฤติกรรมเดิม’
Maag, 2000, p. 136
FBA หมายถึงอะไร?
 กระบวนการประเมินที่ทาให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของพฤติกรรมที่
ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน
 ไม่มีแบบทดสอบแบบเป็นทางการ แต่ประกอบด้วยชุดของแบบสังเกตและ
แบบสัมภาษณ์ที่สามารถใช้ในการบอกถึงหน้าที่ บริบทและลักษณะของ
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์นั้นได้
From http://csefel.uiuc.edu/modules.html#intro
หลักสาคัญของ FBA
 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและปัจจัยภายนอกพื้นฐาน (Ecological factors and setting
events) มีปัจจัยหลายอย่างที่อาจส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ทั้งนี้รวมถึงปัจจัย
ภายนอกพื้นฐาน เช่น การได้รับยา การรับประทานอาหาร การติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ซึ่งการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลกับสิ่งแวดล้อมนั้นถือเป็ นหัวใจสาคัญของวิธีการคานึง(ด้านระบบนิเวศ)
สภาพแวดล้อม
 เหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรม (Antecedents) มีตัวกระตุ้นหลายๆอย่างที่เป็นตัวกระตุ้นทาให้เกิด
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์นั้นได้
 เหตุการณ์หลังเกิดพฤติกรรม (Consequences) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการเกิดพฤติกรรม
อาจจะส่งผลให้พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นอีกครั้งก็ได้ภายใต้เงื่อนไขเดิม
ปรับปรุงจาก Arthur, M. (2002). Providing Effective Behaviour Support.
NSW Dept of Education.
กรณีศึกษารายบุคคล
ขั้นที่ 1 : เก็บข้อมูลพื้นฐาน
 ขั้นตอนการเก็บข้อมูลพื้นฐานต่างๆ รวมตั้งแต่ ความสามารถของนักเรียน
และความต้องการพิเศษในด้านต่างๆ ได้แก่:
ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลทางสภาพครอบครัว
ทักษะด้านประสาทสัมผัส ความสามารถด้านกายภาพ
ความสามารถด้านสติปัญญา ทักษะทางสังคม
ทักษะด้านการสื่อสาร อาหารและยาที่ได้รับ
อื่นๆ
ขั้นที่ 2: ระบุพฤติกรรมเป้ าหมาย
 ขั้นนี้คือการระบุพฤติกรรมหนึ่งของนักเรียนกรณีศึกษา ทั้งนี้พฤติกรรมนี้อาจที่
สามารถสังเกตจากภายนอก หรือพฤติกรรมที่เกิดจากภายในก็ได้
 การระบุพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ควรต้องชัดเจน คือเมื่อบุคคลอื่นอ่านแล้วสามารถ
บอกได้ว่าเป็นพฤติกรรมเดียวกันกับที่ท่านหมายถึง
 ตัวอย่างเช่น สมศรีบ้วนน้าลายใส่เพื่อนเมื่อพวกเขาเดินเข้าใกล้สมศรีมากกว่า 3
เมตร
 ตัวอย่างข้างบนนี้ค่อนข้าง เจาะจง สังเกตและสามารถวัดผลได้
วิดีโอที่ 1
 มิสเตอร์บีนแสดงพฤติกรรมอะไรบ้าง?
 นึกถึงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนกรณีศึกษาที่ท่านวิตกกังวล
แล้วลองระบุคานิยามของพฤติกรรมเป้ าหมายลงในกระดาษ
ขั้นที่ 3: เก็บข้อมูลจาเพาะเพื่อนาไปใช้ในการวางแผน
และช่วยเหลือ
 การเก็บข้อมูลทางตรง (Direct methods)
 แบบสังเกต ABC
 แบบสังเกตแบบตารางเวลา (Scatterplots)
 แบบสังเกตแบบจดบันทึกเหตุการณ์ (Anecdotal) และแบบสังเกตแบบอื่นๆ
 การเก็บข้อมูลทางอ้อม (Indirect methods)
 การสัมภาษณ์ผู้ปกครอง
 การสัมภาษณ์ครูที่เกี่ยวข้อง
การเก็บข้อมูลทางตรง : แบบสังเกต ABC
 แบบสังเกต ABC จะช่วยในการศึกษาลาดับของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างการเกิด
และหลังการเกิดพฤติกรรม โดยปกติแล้วเราจะใช้วิธีการจดบันทึกเหตุการณ์ก่อนเกิด
พฤติกรรม (antecedents) ตามด้วยพฤติกรรมที่เกิดขึ้น (behaviour) และ
เหตุการณ์หลังการเกิดพฤติกรรม (consequences) จากนั้นจึงกลับมาสู่การจด
บันทึกเหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรมอีกครั้ง (หากมีแค่พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นแค่ครั้ง
เดียว) นอกจากนี้หากเกิดพฤติกรรมขึ้นในหลายๆเหตุการณ์ เราสามารถจดบันทึกได้
เหมือนเช่นกัน
 จุดมุ่งหมายของแบบสังเกตนี้คือ เพื่อทาให้เรามีความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับสิ่งที่อาจ
กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม (antecedents) และผลหลังจากการเกิดพฤติกรรมที่อาจ
เป็นสาเหตุให้พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าเล่า
วิดีโอที่ 2
 หลังจากชมวีดีโอต่อไปนี้แล้ว ให้ท่านระบุสิ่งที่ท่านสังเกตเห็นลงใน
แบบฟอร์ม ABC ที่แจกให้
 อภิปรายกลุ่มถึงแบบแผนของพฤติกรรมของนักเรียนคนนี้ที่ท่านสังเกตเห็น
การเก็บข้อมูลทางตรง : แบบสังเกตแบบตาราง
(Scatterplots)
 แบบสังเกตแบบตาราง(Scatterplots) สามารถให้ข้อมูลภาพรวมของการเกิด
พฤติกรรมที่ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยการแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ที่เกิดขึ้นนั้นส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ใด ช่วงเวลาใดและกิจกรรมใดเป็นพิเศษ
 จุดสาคัญของแบบสังเกตนี้คือ ความสอดคล้องสม่าเสมอ และ การใช้ได้
จริง ครูในโรงเรียนของท่านมีความมั่นใจในการใช้แบบสังเกตนี้หรือไม่
และครูท่านอื่นมีความเห็นพ้องต้องกันกับคานิยามที่ได้เขียนไว้ในขั้นตอนที่
2 หรือไม่อย่างไร
การเก็บข้อมูลทางอ้อม: แบบสัมภาษณ์ทั่วไป
(Functional Behavioural Assessment Interview)
 คาถามในแบบสัมภาษณ์นี้จะช่วยในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกและความ
เป็นอยู่ในครอบครัว รวมไปถึงปัจจัยภายนอกอื่นๆรอบตัวที่อาจจะเป็นสาเหตุ
ทาให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนที่ท่านสังเกตเห็นอยู่เสมอ
ขั้นที่ 4: การแปลผลข้อมูลโดยใช้แบบฟอร์ม สรุปประเด็นสาคัญ
(Key Findings Summary Sheet)

More Related Content

What's hot

ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมChalit Arm'k
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 

What's hot (20)

ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 

Viewers also liked

7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพFon Pimnapa
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีpluakdeang Hospital
 
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพแนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพCAPD AngThong
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)wanvisa kaewngam
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจtanongsak
 
Advanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing PracticeAdvanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing PracticeMarilyn Herie
 
Motivational Interviewing
Motivational InterviewingMotivational Interviewing
Motivational Interviewingguestdbc5d7
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
Motivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communicationMotivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communicationdebraneal96
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...CAPD AngThong
 

Viewers also liked (20)

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
 
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพแนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
การบูรณาการCkd กับ ncd1
การบูรณาการCkd กับ ncd1การบูรณาการCkd กับ ncd1
การบูรณาการCkd กับ ncd1
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
 
Advanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing PracticeAdvanced Motivational Interviewing Practice
Advanced Motivational Interviewing Practice
 
Motivational Interviewing
Motivational InterviewingMotivational Interviewing
Motivational Interviewing
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
Motivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communicationMotivational interviewing best practice communication
Motivational interviewing best practice communication
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 

Similar to กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)

กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)thaiworkshoppbs
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการPamkritsaya3147
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1bb5311600637
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนyana54
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 

Similar to กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1) (20)

กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)
กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)
 
1
11
1
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 

กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 1 (DAY 1)

  • 1. การส่งเสริมพฤติกรรมเชิงบวก และกระบวนการการวิเคราะห์พฤติกรรม (Positive Behaviour Support and Functional Behaviour Analysis ) ตอนที่ 1 และ 2: หลักการและเทคนิคเบื้องต้น Dr. Michael Arthur-Kelly The University of Newcastle
  • 2. ความคาดหวัง: เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผู้เข้าอบรมสามารถ :  เห็นถึงความสาคัญของวิธีป้ องกันพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ โดยการจัด สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออานวยและการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียนและบุคคลที่ เกี่ยวข้องได้  นาขั้นตอนต่างๆที่อบรมในครั้งนี้ไปใช้ในการวางแผนและปฏิบัติจริงกับการ ช่วยเหลือเป็นรายบุคคลของนักเรียนที่มีความต้องการการส่งเสริมด้าน พฤติกรรมได้
  • 3. เนื้อหาการอบรม: ตอนที่ 1 และ 2  เกริ่นนาและแนะนาจุดมุ่งหมาย  วิธีการป้ องกันการเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์  กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม (Functional Behavioural Assessment)  แบบฟอร์ม ABC  แบบฟอร์มตาราง Scatterplots  แบบสัมภาษณ์ Interviews
  • 4. เนื้อหาการอบรม: ตอนที่ 3 และ 4  ทบทวน เรื่องกระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม (FBA)  การตั้งสมมติฐาน (Hypothesis)  การตั้งเป้ าหมาย (Goals)  เทคนิควิธีการจัดการพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (Intervention strategies)  เรื่องจริงจากสนามวิจัย
  • 5. แนะนากรอบแนวความคิดหลัก ปรับปรุงจาก April, 2007, with permission from Fox, L., Dunlap, G., Hemmeter, M. L., Joseph, G., & Strain, P. (2003). The teaching pyramid: A model supporting social competence and preventing challenging behavior in young children. Young Children, 58(4), 48-52. Published by the National Association for the Education of Young Children (NAEYC)(USA).
  • 6. สรุประดับ1 ถึง 3 ของกรอบแนวความคิด หลัก
  • 7. กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ A  ลองนึกถึงนักเรียนในชั้นเรียน (หรือเคยอยู่ในชั้นเรียน) ของท่านที่มีความ ต้องการดูแลอย่างเป็นพิเศษด้านพฤติกรรมอยู่หรือเคยดูแล และตอบคาถาม ต่อไปนี้ในกลุ่มของท่าน  ท่านคิดว่าพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนของท่านเกิดมาจากสาเหตุเจาะจง อะไรบ้าง  เราในฐานะที่เป็นผู้ใหญ่และดูแลนักเรียน จะสามารถส่งเสริมและสนับสนุนพฤติกรรที่พึง ประสงค์แก่นักเรียนคนนี้ได้อย่างไรบ้าง
  • 9. พฤติกรรมที่ต้องการการช่วยเหลือ หมายความว่าอย่างไร? พฤติกรรมที่แสดงออกมาจากบุคคลหนึ่งอย่างเป็นประจา ซึ่งไม่เหมาะสมกับวัย บริบท และ วัฒนธรรม นอกจากนี้พฤติกรรมนี้ยังส่งผลต่อในการจากัดความสามารถในการเรียนและ ความสัมพันธ์ทางสังคมของตัวบุคคลเองและคนรอบข้าง รวมถึงครอบครัว คุณครู และผู้อื่น ต้องเตรียมพร้อมในการช่วยเหลืออย่างถูกต้องและเหมาะสมด้านจริยธรรมด้วย พฤติกรรม เหล่านี้อาจได้แก่ พฤติกรรมก้าวร้าว พฤติกรรมก่อกวนในชั้นเรียน พฤติกรรมไม่อยู่นิ่งและไม่มี สมาธิ พฤติกรรมที่มีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤติกรรมต่อต้านสังคม และปัญหา ทางอารมณ์ อย่างไรก็ดีพฤติกรรมนี้อาจลดลงได้หากมีการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ (DADHC Behaviour Intervention Policy, February 2003)
  • 10. องค์ประกอบสาคัญของแผนการส่งเสริมพฤติกรรมเชิง บวกในชั้นเรียน  เน้นความสาคัญของครอบครัว (Family focused)  เน้นทักษะและจุดเด่นของนักเรียน (Skills and strengths based)  การป้ องกัน (Preventative)  เชิงบวก (Positive)  เน้นที่รายบุคคล (Individualized)  การร่วมมือกัน (Collaborative)  ต้องการที่จะลดผลของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่ไปจากัดโอกาสทางการเรียนรู้และ การเข้าสังคมของนักเรียน
  • 12. บริบทของพฤติกรรมที่ต้องการความช่วยเหลือ  บริบท (Context) – ปัจจัยต่างๆที่อาจส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์  ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่ :  การจัดองค์ประกอบทางกายภาพ  จานวนคนและตาแหน่งในบริเวณนั้น  ช่วงเวลาของวัน  ประเภทของกิจกรรม
  • 13. ลักษณะของพฤติกรรมที่ต้องการความช่วยเหลือ  ลักษณะ (Form) – พฤติกรรมนั้นมีลักษณะเป็นอย่างไร  ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่:  ความสามารถพิเศษหรือความต้องการพิเศษของนักเรียนด้านต่างๆ เช่น ทักษะด้านการ สื่อสาร ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดย่อย  ประวัติการเรียนของนักเรียน พร้อมทั้งสารวจว่านักเรียนนั้นเคยใช้พฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ในการช่วยให้เขาทาสิ่งต่างๆสาเร็จมาแล้วหรือไม่
  • 14. วัตถุประสงค์ของพฤติกรรมที่ต้องการความ ช่วยเหลือ  วัตถุประสงค์ (Function) – พฤติกรรมที่แสดงออกมาแท้จริงแล้วเพื่อวัตถุประสงค์ใด หรือกล่าวได้ว่าเป้ าหมายหรือจุดประสงค์ของพฤติกรรมนั้นเป็นสิ่งหนึ่งที่ยากต่อการ ระบุชี้ชัด ดังนั้นเราต้องเก็บข้อมูลให้เพียงพอจากหลายๆช่องทางก่อนจะสรุปผล  ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่ :  พฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อการสื่อสารของนักเรียนมีมากน้อยเพียงใด  พฤติกรรมเหล่านี้ได้ผลหรือไม่ในบริบทต่างๆ?  บุคคลรอบข้างหรือกิจกรรมต่างๆนั้นมีการส่งเสริมให้ทักษะทางสังคมหรือการสื่อสาร หรือไม่?
  • 15. กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม (Functional Behaviour Assessment :FBA) FBA หมายถึง ‘กระบวนการประเมินวัตถุประสงค์ของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ว่า แสดงออกเพื่อต้องการสิ่งใด และทดแทนพฤติกรรมนั้นด้วยพฤติกรรมที่มีความ เหมาะสมแต่สามารถแสดงออกและใช้เพื่อจุดหมายเดียวกันกับพฤติกรรมเดิม’ Maag, 2000, p. 136
  • 16. FBA หมายถึงอะไร?  กระบวนการประเมินที่ทาให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน  ไม่มีแบบทดสอบแบบเป็นทางการ แต่ประกอบด้วยชุดของแบบสังเกตและ แบบสัมภาษณ์ที่สามารถใช้ในการบอกถึงหน้าที่ บริบทและลักษณะของ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์นั้นได้ From http://csefel.uiuc.edu/modules.html#intro
  • 17. หลักสาคัญของ FBA  ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและปัจจัยภายนอกพื้นฐาน (Ecological factors and setting events) มีปัจจัยหลายอย่างที่อาจส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ทั้งนี้รวมถึงปัจจัย ภายนอกพื้นฐาน เช่น การได้รับยา การรับประทานอาหาร การติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ซึ่งการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลกับสิ่งแวดล้อมนั้นถือเป็ นหัวใจสาคัญของวิธีการคานึง(ด้านระบบนิเวศ) สภาพแวดล้อม  เหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรม (Antecedents) มีตัวกระตุ้นหลายๆอย่างที่เป็นตัวกระตุ้นทาให้เกิด พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์นั้นได้  เหตุการณ์หลังเกิดพฤติกรรม (Consequences) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการเกิดพฤติกรรม อาจจะส่งผลให้พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นอีกครั้งก็ได้ภายใต้เงื่อนไขเดิม ปรับปรุงจาก Arthur, M. (2002). Providing Effective Behaviour Support. NSW Dept of Education.
  • 18. กรณีศึกษารายบุคคล ขั้นที่ 1 : เก็บข้อมูลพื้นฐาน  ขั้นตอนการเก็บข้อมูลพื้นฐานต่างๆ รวมตั้งแต่ ความสามารถของนักเรียน และความต้องการพิเศษในด้านต่างๆ ได้แก่: ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลทางสภาพครอบครัว ทักษะด้านประสาทสัมผัส ความสามารถด้านกายภาพ ความสามารถด้านสติปัญญา ทักษะทางสังคม ทักษะด้านการสื่อสาร อาหารและยาที่ได้รับ อื่นๆ
  • 19. ขั้นที่ 2: ระบุพฤติกรรมเป้ าหมาย  ขั้นนี้คือการระบุพฤติกรรมหนึ่งของนักเรียนกรณีศึกษา ทั้งนี้พฤติกรรมนี้อาจที่ สามารถสังเกตจากภายนอก หรือพฤติกรรมที่เกิดจากภายในก็ได้  การระบุพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ควรต้องชัดเจน คือเมื่อบุคคลอื่นอ่านแล้วสามารถ บอกได้ว่าเป็นพฤติกรรมเดียวกันกับที่ท่านหมายถึง  ตัวอย่างเช่น สมศรีบ้วนน้าลายใส่เพื่อนเมื่อพวกเขาเดินเข้าใกล้สมศรีมากกว่า 3 เมตร  ตัวอย่างข้างบนนี้ค่อนข้าง เจาะจง สังเกตและสามารถวัดผลได้
  • 20. วิดีโอที่ 1  มิสเตอร์บีนแสดงพฤติกรรมอะไรบ้าง?  นึกถึงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนกรณีศึกษาที่ท่านวิตกกังวล แล้วลองระบุคานิยามของพฤติกรรมเป้ าหมายลงในกระดาษ
  • 21. ขั้นที่ 3: เก็บข้อมูลจาเพาะเพื่อนาไปใช้ในการวางแผน และช่วยเหลือ  การเก็บข้อมูลทางตรง (Direct methods)  แบบสังเกต ABC  แบบสังเกตแบบตารางเวลา (Scatterplots)  แบบสังเกตแบบจดบันทึกเหตุการณ์ (Anecdotal) และแบบสังเกตแบบอื่นๆ  การเก็บข้อมูลทางอ้อม (Indirect methods)  การสัมภาษณ์ผู้ปกครอง  การสัมภาษณ์ครูที่เกี่ยวข้อง
  • 22. การเก็บข้อมูลทางตรง : แบบสังเกต ABC  แบบสังเกต ABC จะช่วยในการศึกษาลาดับของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างการเกิด และหลังการเกิดพฤติกรรม โดยปกติแล้วเราจะใช้วิธีการจดบันทึกเหตุการณ์ก่อนเกิด พฤติกรรม (antecedents) ตามด้วยพฤติกรรมที่เกิดขึ้น (behaviour) และ เหตุการณ์หลังการเกิดพฤติกรรม (consequences) จากนั้นจึงกลับมาสู่การจด บันทึกเหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรมอีกครั้ง (หากมีแค่พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นแค่ครั้ง เดียว) นอกจากนี้หากเกิดพฤติกรรมขึ้นในหลายๆเหตุการณ์ เราสามารถจดบันทึกได้ เหมือนเช่นกัน  จุดมุ่งหมายของแบบสังเกตนี้คือ เพื่อทาให้เรามีความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับสิ่งที่อาจ กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม (antecedents) และผลหลังจากการเกิดพฤติกรรมที่อาจ เป็นสาเหตุให้พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าเล่า
  • 23. วิดีโอที่ 2  หลังจากชมวีดีโอต่อไปนี้แล้ว ให้ท่านระบุสิ่งที่ท่านสังเกตเห็นลงใน แบบฟอร์ม ABC ที่แจกให้  อภิปรายกลุ่มถึงแบบแผนของพฤติกรรมของนักเรียนคนนี้ที่ท่านสังเกตเห็น
  • 24. การเก็บข้อมูลทางตรง : แบบสังเกตแบบตาราง (Scatterplots)  แบบสังเกตแบบตาราง(Scatterplots) สามารถให้ข้อมูลภาพรวมของการเกิด พฤติกรรมที่ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยการแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ที่เกิดขึ้นนั้นส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ใด ช่วงเวลาใดและกิจกรรมใดเป็นพิเศษ  จุดสาคัญของแบบสังเกตนี้คือ ความสอดคล้องสม่าเสมอ และ การใช้ได้ จริง ครูในโรงเรียนของท่านมีความมั่นใจในการใช้แบบสังเกตนี้หรือไม่ และครูท่านอื่นมีความเห็นพ้องต้องกันกับคานิยามที่ได้เขียนไว้ในขั้นตอนที่ 2 หรือไม่อย่างไร
  • 25. การเก็บข้อมูลทางอ้อม: แบบสัมภาษณ์ทั่วไป (Functional Behavioural Assessment Interview)  คาถามในแบบสัมภาษณ์นี้จะช่วยในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกและความ เป็นอยู่ในครอบครัว รวมไปถึงปัจจัยภายนอกอื่นๆรอบตัวที่อาจจะเป็นสาเหตุ ทาให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนที่ท่านสังเกตเห็นอยู่เสมอ
  • 26. ขั้นที่ 4: การแปลผลข้อมูลโดยใช้แบบฟอร์ม สรุปประเด็นสาคัญ (Key Findings Summary Sheet)