SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือของหนังสือที่อ่าน ส่วนนั้นคือ ข้อความที่มี
สาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด ข้อความตอนหนึ่งหรือเรื่องหนึ่งจะมีใจความ
สาคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งใจความสาคัญก็คือสิ่งที่เป็นสาระสาคัญของเรื่องนั่นเอง
ข้อควรปฏิบัติในการอ่านจับใจความสาคัญ
๑. อ่านผ่านๆ โดยตลอด เพื่อให้รู้ว่าเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร
๒. อ่านให้รายละเอียดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อทาความเข้าใจเรื่องที่อ่าน
๓. เขียนเรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านด้วยสานวนภาษาของตนเอง
๔. อ่านทบทวนเพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง
การอ่านจับใจความสาคัญเรื่อง ค้างคาว
ค้างคาวเป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน มันสามารถบินผาดโผนฉวัดเฉวียนไปมาโดยไม่ต้องพึ่ง
สายตา มันอาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง โดยค้างคาวจะส่งคลื่นสัณญาณพิเศษซึ่งสั้นและรวดเร็ว เมื่อสัณ
ญาณไปกระทบสิ่งกีดขวางด้านหน้าก็จะสะท้อนกลับเข้ามาทาให้รู้ว่ามี อะไรอยู่ด้านหน้า มันจะบินหลบเลี่ยงได้
แม้แต่สายโทรศัพท์ที่ระโยงระยางเป็นเส้นเล็กๆ คลื่นเสียงก็จะไปกระทบแล้วสะท้อนกลับเข้าหูของมันได้ ไม่มี
สัตว์ชนิดไหนที่จะสามารถรับคลื่นสะท้อนกลับไปได้ในระยะใกล้ แต่ค้างคาวทาได้และบินวนกลับได้ทันท่วงที
วิธีการสรุปใจความ
ใคร = ค้างคาว
ทาอะไร = ออกหากิน
เมื่อไร = ตอนกลางคืน
อย่างไร = โดยไม่ใช้สายตา แต่อาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง
ผลเป็นอย่างไร = สามารถหลบสิ่งกีดขวาง
ใจความสาคัญของเรื่อง ค้างคาว มีดังนี้
ค้างคาวจะออกหากินในตอนกลางคืน โดยไม่ต้องอาศัยสายตา แต่จะอาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง
ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :
เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. ภาษาไทย ป.๕. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
การอ่านจับใจความสาคัญ หมายถึง การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่เป็นส่วนใจความ สาคัญ
และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง
ใจความสาคัญ หมายถึง ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหรือเรื่องนั้นทั้งหมด(ทาให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเรื่อง
ได้ง่าย) โดยมีข้อความอื่น ๆ เป็นเพียงส่วนขยายใจความสาคัญเท่านั้นข้อความหนึ่งหรือตอนหนึ่งจะมีใจความ สาคัญที่สุด
เพียงหนึ่งเดียวนอกนั้นเป็นใจความรอง
พลความหรือส่วนขยายใจความ หมายถึง ประโยคที่ช่วยขยายเนื้อความของใจความสาคัญเพื่อสนับสนุนหรือแสดงตัวอย่าง
เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งใน แต่ละย่อหน้าอาจมีพลความอยู่หลาย ๆ ประโยคได้
การอ่านจับใจความสาคัญให้เข้าใจง่ายและรวดเร็วผู้อ่านควรมีแนวทางและพื้นฐานดังนี้
๑. การมีพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของหนังสือ เช่น ชื่อเรื่อง คานา สารบัญ ฯลฯ ก็สามารถทาให้จับ
ใจความสาคัญของเรื่องได้
๒. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านเพื่อเป็นแนวทางใช้กาหนดวิธีอ่านให้เหมาะสม และจับใจความหรือหาคาตอบได้รวดเร็วขึ้น
๓. มีทักษะในการใช้ภาษาสามารถเข้าใจความหมายของคาศัพท์ต่าง ๆ
๔. มีประสบการณ์หรือภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน มีความเข้าใจลักษณะของหนังสือ เพราะหนังสือแต่ละประเภทมีรูปแบบ
การแต่งและเป้ าหมายของเรื่องที่แตกต่างกัน
จุดมุ่งหมายของการจับใจความสาคัญ
๑. สามารถบอกรายละเอียดของเรื่องราวที่อ่านได้อย่างชัดเจน
๒. สามารถปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนาได้
๓. เพื่อฝึกการอ่านเร็วและสามารถตอบคาถามได้ถูกต้อง
๔. สามารถสรุปหรือย่อเรื่องที่อ่านได้
๕. อ่านแล้วสามารถคาดการณ์ และหาความจริง แสดงข้อคิดเห็นได้
หลักในการอ่านจับใจความสาคัญ ควรปฏิบัติดังนี้
๑. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน
๒. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า
๓. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคาถามตนเองว่า เรื่องที่อ่านมีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
๔. นาสิ่งที่สรุปได้มาเรียบเรียงใจความสาคัญใหม่ด้วยสานวนของคนเองเพื่อให้เกิดความสละสลวย
แหล่งที่มา: สหวิชาดอทคอม

More Related Content

What's hot

การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทานThanit Lawyer
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำขนิษฐา ทวีศรี
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความAnan Pakhing
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6Yui Siriwararat
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความThanit Lawyer
 
9789740332725
97897403327259789740332725
9789740332725CUPress
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพPloyApichaya
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8Yui Siriwararat
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7Yui Siriwararat
 
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็กกิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็กJoy sarinubia
 

What's hot (17)

การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทาน
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
9789740332725
97897403327259789740332725
9789740332725
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็กกิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
 

Viewers also liked

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (7)

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similar to เนื้อหางานภาษาไทย

ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)ILyas Waeyakoh
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 

Similar to เนื้อหางานภาษาไทย (15)

ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401
 
T006
T006T006
T006
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 

เนื้อหางานภาษาไทย

  • 1. การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือของหนังสือที่อ่าน ส่วนนั้นคือ ข้อความที่มี สาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด ข้อความตอนหนึ่งหรือเรื่องหนึ่งจะมีใจความ สาคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งใจความสาคัญก็คือสิ่งที่เป็นสาระสาคัญของเรื่องนั่นเอง ข้อควรปฏิบัติในการอ่านจับใจความสาคัญ ๑. อ่านผ่านๆ โดยตลอด เพื่อให้รู้ว่าเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร ๒. อ่านให้รายละเอียดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อทาความเข้าใจเรื่องที่อ่าน ๓. เขียนเรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านด้วยสานวนภาษาของตนเอง ๔. อ่านทบทวนเพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง การอ่านจับใจความสาคัญเรื่อง ค้างคาว ค้างคาวเป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน มันสามารถบินผาดโผนฉวัดเฉวียนไปมาโดยไม่ต้องพึ่ง สายตา มันอาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง โดยค้างคาวจะส่งคลื่นสัณญาณพิเศษซึ่งสั้นและรวดเร็ว เมื่อสัณ ญาณไปกระทบสิ่งกีดขวางด้านหน้าก็จะสะท้อนกลับเข้ามาทาให้รู้ว่ามี อะไรอยู่ด้านหน้า มันจะบินหลบเลี่ยงได้ แม้แต่สายโทรศัพท์ที่ระโยงระยางเป็นเส้นเล็กๆ คลื่นเสียงก็จะไปกระทบแล้วสะท้อนกลับเข้าหูของมันได้ ไม่มี สัตว์ชนิดไหนที่จะสามารถรับคลื่นสะท้อนกลับไปได้ในระยะใกล้ แต่ค้างคาวทาได้และบินวนกลับได้ทันท่วงที วิธีการสรุปใจความ ใคร = ค้างคาว ทาอะไร = ออกหากิน เมื่อไร = ตอนกลางคืน อย่างไร = โดยไม่ใช้สายตา แต่อาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง ผลเป็นอย่างไร = สามารถหลบสิ่งกีดขวาง ใจความสาคัญของเรื่อง ค้างคาว มีดังนี้ ค้างคาวจะออกหากินในตอนกลางคืน โดยไม่ต้องอาศัยสายตา แต่จะอาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง ที่มาและได้รับอนุญาตจาก : เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. ภาษาไทย ป.๕. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. การอ่านจับใจความสาคัญ หมายถึง การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่เป็นส่วนใจความ สาคัญ และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง ใจความสาคัญ หมายถึง ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหรือเรื่องนั้นทั้งหมด(ทาให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเรื่อง ได้ง่าย) โดยมีข้อความอื่น ๆ เป็นเพียงส่วนขยายใจความสาคัญเท่านั้นข้อความหนึ่งหรือตอนหนึ่งจะมีใจความ สาคัญที่สุด
  • 2. เพียงหนึ่งเดียวนอกนั้นเป็นใจความรอง พลความหรือส่วนขยายใจความ หมายถึง ประโยคที่ช่วยขยายเนื้อความของใจความสาคัญเพื่อสนับสนุนหรือแสดงตัวอย่าง เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งใน แต่ละย่อหน้าอาจมีพลความอยู่หลาย ๆ ประโยคได้ การอ่านจับใจความสาคัญให้เข้าใจง่ายและรวดเร็วผู้อ่านควรมีแนวทางและพื้นฐานดังนี้ ๑. การมีพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของหนังสือ เช่น ชื่อเรื่อง คานา สารบัญ ฯลฯ ก็สามารถทาให้จับ ใจความสาคัญของเรื่องได้ ๒. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านเพื่อเป็นแนวทางใช้กาหนดวิธีอ่านให้เหมาะสม และจับใจความหรือหาคาตอบได้รวดเร็วขึ้น ๓. มีทักษะในการใช้ภาษาสามารถเข้าใจความหมายของคาศัพท์ต่าง ๆ ๔. มีประสบการณ์หรือภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน มีความเข้าใจลักษณะของหนังสือ เพราะหนังสือแต่ละประเภทมีรูปแบบ การแต่งและเป้ าหมายของเรื่องที่แตกต่างกัน จุดมุ่งหมายของการจับใจความสาคัญ ๑. สามารถบอกรายละเอียดของเรื่องราวที่อ่านได้อย่างชัดเจน ๒. สามารถปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนาได้ ๓. เพื่อฝึกการอ่านเร็วและสามารถตอบคาถามได้ถูกต้อง ๔. สามารถสรุปหรือย่อเรื่องที่อ่านได้ ๕. อ่านแล้วสามารถคาดการณ์ และหาความจริง แสดงข้อคิดเห็นได้ หลักในการอ่านจับใจความสาคัญ ควรปฏิบัติดังนี้ ๑. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน ๒. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า ๓. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคาถามตนเองว่า เรื่องที่อ่านมีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ๔. นาสิ่งที่สรุปได้มาเรียบเรียงใจความสาคัญใหม่ด้วยสานวนของคนเองเพื่อให้เกิดความสละสลวย แหล่งที่มา: สหวิชาดอทคอม