SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นาย ศุภกร ชังปลื้ม เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.นายศุภกร ชังปลื้ม เลขที่39
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
-ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
-school refusal
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายศุภกร ชังปลื้ม
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันมีเด็กจานวนมากมีพฤติกรรมที่ชอบไปโรงเรียน จะมีพฤติกรรมเช่น เรียกแล้วไม่ยอมตื่น งอแงเมื่อ
ถึงเวลาที่จะต้องไปโรงเรียน และพ่อแม่ก็ยังไม่รู้ว่าลูกเป็นอะไรทาไมไม่อยากไปโรงเรียน ทาให้มีการแก้ไขที่ผิดวิธี เช่น
การด่าว่า การตี ทาให้เด็กสุขภาพจิตเสีย ไม่มีกาลังใจในการทาสิ่งต่างๆ เนื่องจากพฤติกรรมนี้ พบมากในเด็กใน
ปัจจุบัน แต่ส่วนมากบางคนเรื่องผู้ปกครองของบางคนยังไม่รู้ว่ามีโรคนี้ จึงทาให้มีวิธีการแก้ไขที่ผิดๆ ทาให้เด็กที่เป็น
โรคนี้ไม่หาย ละบางคนอาจมีอาการที่รุ่นแรงขึ้น เพราะได้ถูกแก้ไขในวิธีที่ผิด มีการไม่เชื่อฟังพ่อแม่ผู้ปกครองของ
ตนเอง อาจจะทาให้เด็กเป็นเด็กมีปัญหา เพื่อทาให้พ่อแม่ผู้ปกครองดูแลลูกๆของท่านได้อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
ไม่ทาให้สุขภาพจิตของเด็กเสีย ทาให้ให้เด็กไม่เกิดการต่อต้านหรือไม่เชื่อฟังพ่อแม่ผู้ปกครองของตนเอง ทาให้เด็ก
เติบโตมาในพื้นฐานที่ดี และครอบครัวที่อบอุ่นพร้อมที่ดูแลลูกอย่างถูกวิธี ผู้จัดทาจึงได้รวบรวมข้อมูลการวิธีการแก้ไข
ของโรคนี้มา
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
2.เพื่อศึกษาวิธีการแก้ไขอย่างถูกต้อง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.ศึกษาเกี่ยวกับอาการของภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
2.เรียนรู้วิธีการรักษาอาการของภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน (school refusal) หมายถึง การที่เด็กหรือ วัยรุ่นไม่เต็มใจไปโรงเรียน อันสืบเนื่องมาจาก
ความวิตกกังวลภายใน จิตใจ แสดงออกเป็นพฤติกรรมได้หลายรูปแบบ เช่น ร้องโวยวายไม่ อยากไปโรงเรียน อ้างว่าไม่
สบายไม่ยอมลุกจากเตียงนอนในตอนเช้า
ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนแตกต่างจากการหนีเรียน (truancy) ซึ่ง หมายถึงการที่เด็กหรือวัยรุ่นขาดเรียน โดยเจตนาที่
จะหลีกเลี่ยงการเข้า เรียน มักจะพยายามปิดบังพฤติกรรมดังกล่าว และไม่มีความเกี่ยวข้อง กับความวิตกกังวลภายใน
จิตใจ ส่วนเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ยอมไป โรงเรียนมักจะแสดงพฤติกรรมต่อต้านไม่ยอมไปโรงเรียนให้เห็นอย่าง
เปิดเผย พบว่าการหนีเรียนมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพฤติกรรมต่อ ต้านสังคมอื่นๆ (antisocial behaviors) เช่น
การโกหก การกลั่นแกล้งผู้ อื่น
นอกจากนี้ยังมีคาว่า โรคกลัวโรงเรียน (school phobia) เป็นคาที่ ถูกใช้มาก่อนคาว่า ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
(school refusal) โดยทั่วไป สามารถใช้แทนกันได้ ปัจจุบันความนิยมในการใช้คาว่าโรคกลัว โรงเรียนลดลง แต่
บางครั้งอาจถูกใช้เพื่อต้องการเน้นอารมณ์กลัวที่เกิด ขึ้นในเด็กและวันรุ่นกลุ่มนี้ หรือ หมายถึงการที่เด็กมีความกลัวที่
เจาะจง ต่อสถานการณ์บางอย่างที่โรงเรียน
แม้ตามระบบการวินิจฉัยโรคทางจิตเวช DSM – IV ค.ศ. 2000 ไม่ได้ จัดภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนเป็นโรคทางจิตเวช
แต่ในทางเวชปฏิบัติเป็น ที่ทราบกันดีว่าภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนเป็นอาการเร่งด่วนทางจิตเวช เด็กและวัยรุ่นที่ต้อง
ได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที เนื่องจากการนา เด็กกลับสู่โรงเรียนจะยิ่งยากมากขึ้นเรื่อยๆ ตามระยะเวลาที่หยุด
เรียน ซึ่งในผู้ป่วยบางรายการหยุดเรียนอาจยาวนานเป็นปี สามารถก่อให้เกิด ผลกระทบต่อเด็กและครอบครัวทั้งด้าน
การศึกษาและความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลได้เป็นอย่างมาก
ลักษณะอาการ
ความวิตกกังวลที่เกี่ยวข้องกับภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนแสดงออก มาเป็นอาการได้หลายรูปแบบ ทั้งด้านพฤติกรรม
ด้านความคิดและด้าน สรีรวิทยา (physiological symptoms) ดังต่อไปนี้
อาการด้านพฤติกรรม มีความรุนแรงได้ตั้งแต่แสดงว่าไม่อยากไป โรงเรียนเพียงเล็กน้อย เช่น พูดงอแงว่าไม่อยากไป
โรงเรียน ขอร้องให้ หยุดรียน ไปจนกระทั่งถึงก้าวร้าวอาละวาดรุนแรง ต่อต้านขัดขืนไม่ยอม ลุกจากเตียง ไม่ยอมออก
จากบ้านไปโรงเรียน ร้องไห้ด่าทอ ทาร้าย ร่างกายผู้ปกครอง ทาให้เกิดผลลัพท์ได้แตกต่างกันตั้งแต่สามารถไป
โรงเรียนได้ทุกวัน แต่ผู้ปกครองต้องใช้ความพยายามมากกว่าปกติใน การนาเด็กไปโรงเรียน จนกระทั่งถึงขาดเรียน
ต่อเนื่องยาวนานเป็นปี บางรายอาจจะสามารถไปโรงเรียนได้ในตอนเช้า แต่ไม่สามารถอยู่เรียน ได้ครบทั้งวัน เช่น
โทรศัพท์มาวิงวอนให้ผู้ปกครองมารับกลับบ้านก่อน เวลาเลิกเรียน
อาการด้านความคิด ความคิดวิตกกังวลเกี่ยวกับการไปโรงเรียน อาจเริ่มมีได้ตั้งแต่ช่วงกลางคืนของวันก่อนที่จะต้องไป
โรงเรียน แสดงออกเป็นคาพูดในเชิงไม่อยากไปโรงเรียนในวันรุ่งขึ้น แต่ในบาง รายเมื่อผู้ปกครองถามถึงการไปโรงเรียน
ในวันรุ่งขึ้นก็ยืนยันว่าจะไป แต่ พอถึงตอนเช้าขัดขืนไม่ยอมไปโรงเรียน บางรายอาจคิดวิตกกังวลจน กระสับกระส่าย
หรือนอนไม่หลับ
อาการด้านสรีรวิทยา ความวิตกกังวลอาจแสดงออกเป็นอาการ ทางกายต่างๆ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวด
หัว วิงเวียน เหงื่อออก มาก ท้องเสียถ่ายเหลว อาการเหล่านี้มักจะเป็นในช่วงเช้าที่จะต้องไป โรงเรียน เมื่อได้หยุด
เรียนอยู่ที่บ้านมักพบว่าอาการเหล่าจะดีขึ้นหรือ หายไปในตอนสายๆ หรือตอนบ่าย และในวันที่ไม่มีการเรียน เช่น วัด
หยุดสุดสัปดาห์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ ก็จะไม่พบอาการเหล่านี้ ผู้ป่วย สามารถเล่นและทากิจกรรมที่บ้านได้ตามปกติ
4
ปัจจัยเสี่ยงและโรคทางจิตเวชที่พบร่วม ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนมีความสัมพันธ์กับโรคทางจิตเวชหลาย โรคและ
พบร่วมกันได้บ่อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคในกลุ่มโรควิตกกังวล จากการศึกษาของ เฮเลน แอล เอกเกอร์ (Helen L.
Egger) และคณะ ใน ปีค.ศ. 2003 พบว่าในเด็กและวัยรุ่นอายุ 9-16 ปีที่มีภาวะไม่ยอมไป โรงเรียนประมาณร้อยละ
25 จะมีโรคทางจิตเวชอย่างน้อย 1 โรคเปรียบ เทียบกับเด็กและวัยรุ่นที่ไม่มีภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนพบมีโรคทาง จิต
เวชเพียงร้อยละ 7
โรคทางจิตเวชที่พบได้บ่อยคือ โรควิตกกังวลเกี่ยวกับการแยกจาก (separation anxiety disorder) โรควิตกกังวลไป
ทั่ว (generalized anxiety disorder) โรคกลัวแบบจาเพาะ (specific phobia) โรคกลัวสังคม (social phobia) โรค
ซึมเศร้า (depressive disorder) โรคบกพร่องด้านการเรียน (learning disorder)
นอกจากนี้พบว่าครอบครัวของเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ยอมไป โรงเรียนมักจะมีการปฏิบัติหน้าที่ของครอบครัว
(family functioning) ที่ บกพร่องไป เช่น มีลักษณะใกล้ชิดกันมากเกินไป (enmeshed family) มี ความขัดแย้งใน
ครอบครัว (conflictive family) หรือ เป็นครอบครัวที่ใช้ การเลี้ยงดูแบบยอมตามมากเกินไป (overindulgence)
รวมถึงพบว่าผู้ ปกครองของเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนมีอัตราการป่วย เป็นโรคทางจิตเวชค่อนข้างสูง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคในกลุ่มวิตกกังวล และซึมเศร้า
ในบางรายงานการศึกษาพบว่าเหตุการณ์ตึงเครียดบางอย่างอาจ เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
ได้ เช่น การขัดแย้ง กับเพื่อน ความยากลาบากในการเรียน การย้ายโรงเรียน ความเจ็บป่วย ทางกาย การทะเลาะกัน
ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
การดูแลรักษา เนื่องจากภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนมักเกิดจากหลายสาเหตุ หลาย ปัจจัย การรักษาที่เหมาะสมจึงต้อง
ใช้หลายวิธีผสมผสานกัน (multimodal treatment) เน้นแก้ไขสาเหตุ ร่วมกับการรักษาด้วยวิธี พฤติกรรมบาบัด
(behavior therapy) หรือ การบาบัดพฤติกรรมและการ รู้คิด (cognitive behavioral therapy) นอกจากนี้การ
รักษาโรคทางจิตเวช ที่มีร่วมด้วยอย่างเต็มที่และการประสานงานทาความเข้าใจกับทาง โรงเรียนก็ล้วนมีความสาคัญ
ในการดูแลรักษาเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ ยอมไปโรงเรียน
ในกรณีที่ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนเกิดขึ้นแบบฉับพลัน การนาเด็ก และวัยรุ่นกลับเข้าสู่โรงเรียนให้เร็วที่สุดเท่าที่จะ
เป็นไปได้ถือเป็นหัวใจ สาคัญในการรักษาภาวะนี้ แต่หากเป็นกรณีที่ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน เกิดขึ้นมาอย่างยาวนาน
เรื้อรัง การประเมินและวางแผนการรักษาอย่าง ละเอียดก่อนการนาเด็กและวัยรุ่นกลับเข้าสู่โรงเรียนจะมีความสาคัญ
อย่างยิ่ง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3. ปรึกษาคุณครูและจัดทาโครงงาน
4. นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. สื่อต่างๆ
งบประมาณ
300 บาท
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาการเบื้องต้นเกี่ยวกับภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
2.รู้วิธีแก้วิธีรักษาโรคไม่ยอมไปโรงเรียน
สถานที่ดาเนินการ
1.โรงเรียน
2.บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generaldoctor/09042014-1218

More Related Content

What's hot

แนะนำตนเอง
แนะนำตนเองแนะนำตนเอง
แนะนำตนเองweskaew yodmongkol
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจ
ใบงานที่1 แบบสำรวจใบงานที่1 แบบสำรวจ
ใบงานที่1 แบบสำรวจtangmo77
 
ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08
ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08
ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08โชติกา เมธา
 
แบบทดสอบตัวเอง
แบบทดสอบตัวเองแบบทดสอบตัวเอง
แบบทดสอบตัวเองJunyapornTakumnoi
 
Nutthun 32
Nutthun 32Nutthun 32
Nutthun 32omaha123
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6 ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6 บ่ะ เฮ้ย
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวaone wongsapat
 
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่านPpt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่านAmonrat Ratcharak
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองKrittapornn Chanasaen
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองMk Love EveryDay
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองNuttarika Pnw
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6nopzaa2003
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6pannaporn noykong
 
ใบงานสำรวจตนเอง M611
ใบงานสำรวจตนเอง M611ใบงานสำรวจตนเอง M611
ใบงานสำรวจตนเอง M611Tanutcha Japunya
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองtanchanok manoonchai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 

What's hot (17)

แนะนำตนเอง
แนะนำตนเองแนะนำตนเอง
แนะนำตนเอง
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจ
ใบงานที่1 แบบสำรวจใบงานที่1 แบบสำรวจ
ใบงานที่1 แบบสำรวจ
 
Research
ResearchResearch
Research
 
ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08
ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08
ใบงานสำรวจตนเอง M607 เลขที่-08
 
แบบทดสอบตัวเอง
แบบทดสอบตัวเองแบบทดสอบตัวเอง
แบบทดสอบตัวเอง
 
Nutthun 32
Nutthun 32Nutthun 32
Nutthun 32
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6 ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่านPpt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M611
ใบงานสำรวจตนเอง M611ใบงานสำรวจตนเอง M611
ใบงานสำรวจตนเอง M611
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Computer project

Similar to Computer project (20)

AT1
AT1AT1
AT1
 
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมาความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
computer
computercomputer
computer
 
Project 05
Project 05Project 05
Project 05
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
Project
ProjectProject
Project
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 

More from ssuser97d070

More from ssuser97d070 (6)

Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Presentation final
Presentation finalPresentation final
Presentation final
 
Presentation2 3
Presentation2 3Presentation2 3
Presentation2 3
 
Presentation2 3
Presentation2 3Presentation2 3
Presentation2 3
 
2562 final-project-39
2562 final-project-392562 final-project-39
2562 final-project-39
 

Computer project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นาย ศุภกร ชังปลื้ม เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.นายศุภกร ชังปลื้ม เลขที่39 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) -ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) -school refusal ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายศุภกร ชังปลื้ม ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันมีเด็กจานวนมากมีพฤติกรรมที่ชอบไปโรงเรียน จะมีพฤติกรรมเช่น เรียกแล้วไม่ยอมตื่น งอแงเมื่อ ถึงเวลาที่จะต้องไปโรงเรียน และพ่อแม่ก็ยังไม่รู้ว่าลูกเป็นอะไรทาไมไม่อยากไปโรงเรียน ทาให้มีการแก้ไขที่ผิดวิธี เช่น การด่าว่า การตี ทาให้เด็กสุขภาพจิตเสีย ไม่มีกาลังใจในการทาสิ่งต่างๆ เนื่องจากพฤติกรรมนี้ พบมากในเด็กใน ปัจจุบัน แต่ส่วนมากบางคนเรื่องผู้ปกครองของบางคนยังไม่รู้ว่ามีโรคนี้ จึงทาให้มีวิธีการแก้ไขที่ผิดๆ ทาให้เด็กที่เป็น โรคนี้ไม่หาย ละบางคนอาจมีอาการที่รุ่นแรงขึ้น เพราะได้ถูกแก้ไขในวิธีที่ผิด มีการไม่เชื่อฟังพ่อแม่ผู้ปกครองของ ตนเอง อาจจะทาให้เด็กเป็นเด็กมีปัญหา เพื่อทาให้พ่อแม่ผู้ปกครองดูแลลูกๆของท่านได้อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ไม่ทาให้สุขภาพจิตของเด็กเสีย ทาให้ให้เด็กไม่เกิดการต่อต้านหรือไม่เชื่อฟังพ่อแม่ผู้ปกครองของตนเอง ทาให้เด็ก เติบโตมาในพื้นฐานที่ดี และครอบครัวที่อบอุ่นพร้อมที่ดูแลลูกอย่างถูกวิธี ผู้จัดทาจึงได้รวบรวมข้อมูลการวิธีการแก้ไข ของโรคนี้มา วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน 2.เพื่อศึกษาวิธีการแก้ไขอย่างถูกต้อง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.ศึกษาเกี่ยวกับอาการของภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน 2.เรียนรู้วิธีการรักษาอาการของภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน (school refusal) หมายถึง การที่เด็กหรือ วัยรุ่นไม่เต็มใจไปโรงเรียน อันสืบเนื่องมาจาก ความวิตกกังวลภายใน จิตใจ แสดงออกเป็นพฤติกรรมได้หลายรูปแบบ เช่น ร้องโวยวายไม่ อยากไปโรงเรียน อ้างว่าไม่ สบายไม่ยอมลุกจากเตียงนอนในตอนเช้า ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนแตกต่างจากการหนีเรียน (truancy) ซึ่ง หมายถึงการที่เด็กหรือวัยรุ่นขาดเรียน โดยเจตนาที่ จะหลีกเลี่ยงการเข้า เรียน มักจะพยายามปิดบังพฤติกรรมดังกล่าว และไม่มีความเกี่ยวข้อง กับความวิตกกังวลภายใน จิตใจ ส่วนเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ยอมไป โรงเรียนมักจะแสดงพฤติกรรมต่อต้านไม่ยอมไปโรงเรียนให้เห็นอย่าง เปิดเผย พบว่าการหนีเรียนมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพฤติกรรมต่อ ต้านสังคมอื่นๆ (antisocial behaviors) เช่น การโกหก การกลั่นแกล้งผู้ อื่น นอกจากนี้ยังมีคาว่า โรคกลัวโรงเรียน (school phobia) เป็นคาที่ ถูกใช้มาก่อนคาว่า ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน (school refusal) โดยทั่วไป สามารถใช้แทนกันได้ ปัจจุบันความนิยมในการใช้คาว่าโรคกลัว โรงเรียนลดลง แต่ บางครั้งอาจถูกใช้เพื่อต้องการเน้นอารมณ์กลัวที่เกิด ขึ้นในเด็กและวันรุ่นกลุ่มนี้ หรือ หมายถึงการที่เด็กมีความกลัวที่ เจาะจง ต่อสถานการณ์บางอย่างที่โรงเรียน แม้ตามระบบการวินิจฉัยโรคทางจิตเวช DSM – IV ค.ศ. 2000 ไม่ได้ จัดภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนเป็นโรคทางจิตเวช แต่ในทางเวชปฏิบัติเป็น ที่ทราบกันดีว่าภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนเป็นอาการเร่งด่วนทางจิตเวช เด็กและวัยรุ่นที่ต้อง ได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที เนื่องจากการนา เด็กกลับสู่โรงเรียนจะยิ่งยากมากขึ้นเรื่อยๆ ตามระยะเวลาที่หยุด เรียน ซึ่งในผู้ป่วยบางรายการหยุดเรียนอาจยาวนานเป็นปี สามารถก่อให้เกิด ผลกระทบต่อเด็กและครอบครัวทั้งด้าน การศึกษาและความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลได้เป็นอย่างมาก ลักษณะอาการ ความวิตกกังวลที่เกี่ยวข้องกับภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนแสดงออก มาเป็นอาการได้หลายรูปแบบ ทั้งด้านพฤติกรรม ด้านความคิดและด้าน สรีรวิทยา (physiological symptoms) ดังต่อไปนี้ อาการด้านพฤติกรรม มีความรุนแรงได้ตั้งแต่แสดงว่าไม่อยากไป โรงเรียนเพียงเล็กน้อย เช่น พูดงอแงว่าไม่อยากไป โรงเรียน ขอร้องให้ หยุดรียน ไปจนกระทั่งถึงก้าวร้าวอาละวาดรุนแรง ต่อต้านขัดขืนไม่ยอม ลุกจากเตียง ไม่ยอมออก จากบ้านไปโรงเรียน ร้องไห้ด่าทอ ทาร้าย ร่างกายผู้ปกครอง ทาให้เกิดผลลัพท์ได้แตกต่างกันตั้งแต่สามารถไป โรงเรียนได้ทุกวัน แต่ผู้ปกครองต้องใช้ความพยายามมากกว่าปกติใน การนาเด็กไปโรงเรียน จนกระทั่งถึงขาดเรียน ต่อเนื่องยาวนานเป็นปี บางรายอาจจะสามารถไปโรงเรียนได้ในตอนเช้า แต่ไม่สามารถอยู่เรียน ได้ครบทั้งวัน เช่น โทรศัพท์มาวิงวอนให้ผู้ปกครองมารับกลับบ้านก่อน เวลาเลิกเรียน อาการด้านความคิด ความคิดวิตกกังวลเกี่ยวกับการไปโรงเรียน อาจเริ่มมีได้ตั้งแต่ช่วงกลางคืนของวันก่อนที่จะต้องไป โรงเรียน แสดงออกเป็นคาพูดในเชิงไม่อยากไปโรงเรียนในวันรุ่งขึ้น แต่ในบาง รายเมื่อผู้ปกครองถามถึงการไปโรงเรียน ในวันรุ่งขึ้นก็ยืนยันว่าจะไป แต่ พอถึงตอนเช้าขัดขืนไม่ยอมไปโรงเรียน บางรายอาจคิดวิตกกังวลจน กระสับกระส่าย หรือนอนไม่หลับ อาการด้านสรีรวิทยา ความวิตกกังวลอาจแสดงออกเป็นอาการ ทางกายต่างๆ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวด หัว วิงเวียน เหงื่อออก มาก ท้องเสียถ่ายเหลว อาการเหล่านี้มักจะเป็นในช่วงเช้าที่จะต้องไป โรงเรียน เมื่อได้หยุด เรียนอยู่ที่บ้านมักพบว่าอาการเหล่าจะดีขึ้นหรือ หายไปในตอนสายๆ หรือตอนบ่าย และในวันที่ไม่มีการเรียน เช่น วัด หยุดสุดสัปดาห์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ ก็จะไม่พบอาการเหล่านี้ ผู้ป่วย สามารถเล่นและทากิจกรรมที่บ้านได้ตามปกติ
  • 4. 4 ปัจจัยเสี่ยงและโรคทางจิตเวชที่พบร่วม ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนมีความสัมพันธ์กับโรคทางจิตเวชหลาย โรคและ พบร่วมกันได้บ่อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคในกลุ่มโรควิตกกังวล จากการศึกษาของ เฮเลน แอล เอกเกอร์ (Helen L. Egger) และคณะ ใน ปีค.ศ. 2003 พบว่าในเด็กและวัยรุ่นอายุ 9-16 ปีที่มีภาวะไม่ยอมไป โรงเรียนประมาณร้อยละ 25 จะมีโรคทางจิตเวชอย่างน้อย 1 โรคเปรียบ เทียบกับเด็กและวัยรุ่นที่ไม่มีภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนพบมีโรคทาง จิต เวชเพียงร้อยละ 7 โรคทางจิตเวชที่พบได้บ่อยคือ โรควิตกกังวลเกี่ยวกับการแยกจาก (separation anxiety disorder) โรควิตกกังวลไป ทั่ว (generalized anxiety disorder) โรคกลัวแบบจาเพาะ (specific phobia) โรคกลัวสังคม (social phobia) โรค ซึมเศร้า (depressive disorder) โรคบกพร่องด้านการเรียน (learning disorder) นอกจากนี้พบว่าครอบครัวของเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ยอมไป โรงเรียนมักจะมีการปฏิบัติหน้าที่ของครอบครัว (family functioning) ที่ บกพร่องไป เช่น มีลักษณะใกล้ชิดกันมากเกินไป (enmeshed family) มี ความขัดแย้งใน ครอบครัว (conflictive family) หรือ เป็นครอบครัวที่ใช้ การเลี้ยงดูแบบยอมตามมากเกินไป (overindulgence) รวมถึงพบว่าผู้ ปกครองของเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนมีอัตราการป่วย เป็นโรคทางจิตเวชค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคในกลุ่มวิตกกังวล และซึมเศร้า ในบางรายงานการศึกษาพบว่าเหตุการณ์ตึงเครียดบางอย่างอาจ เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน ได้ เช่น การขัดแย้ง กับเพื่อน ความยากลาบากในการเรียน การย้ายโรงเรียน ความเจ็บป่วย ทางกาย การทะเลาะกัน ระหว่างสมาชิกในครอบครัว การดูแลรักษา เนื่องจากภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนมักเกิดจากหลายสาเหตุ หลาย ปัจจัย การรักษาที่เหมาะสมจึงต้อง ใช้หลายวิธีผสมผสานกัน (multimodal treatment) เน้นแก้ไขสาเหตุ ร่วมกับการรักษาด้วยวิธี พฤติกรรมบาบัด (behavior therapy) หรือ การบาบัดพฤติกรรมและการ รู้คิด (cognitive behavioral therapy) นอกจากนี้การ รักษาโรคทางจิตเวช ที่มีร่วมด้วยอย่างเต็มที่และการประสานงานทาความเข้าใจกับทาง โรงเรียนก็ล้วนมีความสาคัญ ในการดูแลรักษาเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะไม่ ยอมไปโรงเรียน ในกรณีที่ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียนเกิดขึ้นแบบฉับพลัน การนาเด็ก และวัยรุ่นกลับเข้าสู่โรงเรียนให้เร็วที่สุดเท่าที่จะ เป็นไปได้ถือเป็นหัวใจ สาคัญในการรักษาภาวะนี้ แต่หากเป็นกรณีที่ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน เกิดขึ้นมาอย่างยาวนาน เรื้อรัง การประเมินและวางแผนการรักษาอย่าง ละเอียดก่อนการนาเด็กและวัยรุ่นกลับเข้าสู่โรงเรียนจะมีความสาคัญ อย่างยิ่ง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล 3. ปรึกษาคุณครูและจัดทาโครงงาน 4. นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. สื่อต่างๆ งบประมาณ 300 บาท
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาการเบื้องต้นเกี่ยวกับภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน 2.รู้วิธีแก้วิธีรักษาโรคไม่ยอมไปโรงเรียน สถานที่ดาเนินการ 1.โรงเรียน 2.บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generaldoctor/09042014-1218