SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
การปกครองส่วนกลาง
(ราชธานี)
จตุสดมภ์
เวียง วัง คลัง นา
การปกครองส่วนภูมิภาค
(หัวเมืองชั้นใน)
การปกครองส่วนภูมิภาค
(หัวเมืองชั้นนอก)
จตุสดมภ์
เวียง วัง คลัง นา
การปกครองส่วนภูมิภาค
(หัวเมืองประเทศราช)
การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น : การปกครองแบบจตุสดมภ์
(พ.ศ. 1893-1991)
การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง : รวมอานาจสู่ส่วนกลาง (พ.ศ. 1991-2072)
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
การปกครองส่วนกลาง
(ราชธานี)
สมุหพระกลาโหม สมุหนายก
กรมที่เกี่ยวข้องกับกิจการ จตุสดมภ์
ทหารทั่วราชอาณาจักร
เวียง วัง คลัง นา
การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง : รวมอานาจสู่ส่วนกลาง (พ.ศ. 1991-2072)
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
การปกครองส่วนภูมิภาค
(หัวเมืองชั้นใน)
การปกครองส่วนภูมิภาค
(หัวเมืองชั้นนอก)
จตุสดมภ์
เวียง วัง คลัง นา
การปกครองส่วนภูมิภาค
(หัวเมืองประเทศราช)
การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย
แยกอานาจหัวเมืองเหนือ และใต้
(พ.ศ. 2231-2246)
สมเด็จพระเพทราชา
หัวเมืองฝ่ ายเหนือ
สมุหนายก
หัวเมืองชายทะเล
ตะวันออก
สมุหพระกลาโหม
พระมหากษัตริย์
หัวเมืองฝ่ ายใต้
กรมสังกัดฝ่ ายทหาร
คลัง
โกษาธิบดี
ธรรมาธิกรณ์
นครบาล
เกษตราธิการ
ทหาร
พลเรือน
ทหาร
พลเรือน
อัลฟงซู อัลบูแกร์เกอ อุปราชเมืองกัวของโปรตุเกส
เป็นผู้แสดงความจานงที่จะผูกสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ ๒ แห่งกรุงศรีอยุธยา
(ภาพจาก Dr. R. F.P. Marjay. Portuguese Navigators
Heroes of the Sea. Livraria Bertrand, S.A.R.L., Lisboa, 1970)
พระเจ้าเจมส์ที่ 1 กษัตริย์อังกฤษ มอบหมายให้ โธมัส เอสซิงตัน
นาพระราชสาสน์ของมาเจริญสัมพันธไมตรีกับอยุธยา
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย

More Related Content

What's hot

ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยSukanda Panpetch
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
สงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียสงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียLatte Mpc
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 

What's hot (20)

ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
สงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียสงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซีย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 

Viewers also liked

กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุง
สงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุงสงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุง
สงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุงkokoyadi
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 

Viewers also liked (7)

กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
 
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-4page
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
สงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุง
สงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุงสงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุง
สงครามไทยรบพม่า เปรียบเทียบเสียกรุง
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 

More from คุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง

กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 

More from คุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง (11)

กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
S2
S2S2
S2
 
S1
S1S1
S1
 
56 vs57
56 vs5756 vs57
56 vs57
 
Social
SocialSocial
Social
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Patitin57
Patitin57Patitin57
Patitin57
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
 

กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย

Editor's Notes

  1. ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยามีลักษณะเป็นเกาะมีแม่น้ำไหลผ่าน 3 สาย คือ แม่น้ำลพบุรี แม่น้ำป่าสัก และแม่น้ำเจ้าพระยา มี 5 ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์อู่ทอง ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทัย ราชวงศ์ปราสาททอง ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
  2. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นโอรสของพระมหาธรรมราชาธิราช แห่งราชวงศ์สุโขทัยที่ครองกรุงศรีอยุธยา  พระเจ้าอังวะเป็นกบฏ พระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงจึงยกทัพหลวงไปปราบ พระองค์ได้สั่งให้พระยามอญสองคน คือ พระยาเกียรติและพระยาราม ลงมาคอยต้อนรับทัพไทยที่เมือง และช่วยกันกำจัดสมเด็จพระนเรศวร พระยาเกียรติกับพระยารามเมื่อไปถึงเมืองแครงแล้วได้ขยายความลับนี้แก่พระมหาเถรคันฉ่องผู้เป็นอาจารย์ของตน
  3. เพื่อป้องกันมิให้ฮอลันดาข่มเหงไทยอีก จึงทรงสร้างเมืองลพบุรีไว้เป็นเมืองหลวงสำรอง และเตรียม สร้างป้อมปราการไว้คอยต่อต้านข้าศึก เป็นเหตุให้บาทหลวงฝรั่งเศสที่มีความรู้ทางการช่าง และต้องการเผยแผ่คริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก ได้เข้ามาอาสาสมัครรับใช้ราชการจัดกิจการเหล่านี้ ข้าราชการฝรั่งที่ทำราชการมีความดีความชอบในการปรับปรุงขยายการค้าของไทยขณะนั้นคือ เจ้าพระยาวิชเยนทร์  (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ต่อมาได้รับยศเป็นถึงสมุหนายก
  4. หัวเมืองชั้นใน ประกอบด้วยเมืองลูกหลวง หรือเมืองหน้าหน้าด่าน และเมืองชั้นใน(เจ้านาย เชื้อพระวงศ์ ขุนนางปกครอง) หัวเมืองชั้นนอก ให้เจ้าเมืองเดิมปกครอง ประเทศราชให้อิสระในการปครอง
  5. ยกเลิกเมืองหน้าด่าน หรือเมืองลูกหลวง 4 เมือง เหลืองเมืองพิษณุโลก
  6. หัวเมืองชั้นใน มีผู้รั้งดูแล ขึ้นตรงกับสมุหนายก หัวเมืองชั้นนอกจัดเป็นเมืองชั้นเอก โท ตรี ตามขนาดของเมือง มีเจ้านาย หรือเชื้อพระวงศ์มาปกครอง
  7. ผู้แทนทางการทูต นำโดย ดูอาร์เต เฟอร์นันเดส (Duarte Fernandes)
  8. สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) จนถึงแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นิยมสร้างพระสถูปแบบลพบุรี เช่น วัดพระปรางค์วัดพุธไธสวรรย์ พระศรีรัตนมหาธาตุ วัดราชบูรณะ จังหวัด ต่อมารับศิลปะแบบสุโขทัย พระสถูปเจดีย์ทรงลังกา เช่น พระเจดีย์ใหญ่ 3 องค์ ในวัดพระศรีสรรเพชญ์ พระเจดีย์ใหญ่วัดชัยมงคล
  9. ในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่จะเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา ในระยะแรกได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะลพบุรี สุโขทัย และลังกา เป็นภาพวาดเกี่ยวข้องกับ เรื่องไตรภูมิพระร่วงซึ่งเป็นภาพพุทธประวัติ ต่อมา มีการเขียน ภาพต้นไม้ และการปิดทองบนภาพวาดโดยได้รับอิทธิพลมาจากจีน
  10. ลายรดน้ำฝีมือครูช่างวัดเชิงหวาย
  11. จินดามณี เป็นวรรณคดีประเภทร้อยแก้ว แต่งโดยพระโหราธิบดี ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นหนังสือแบบเรียนเล่มแรกของไทย สอนอ่านเขียนไวยากรณ์ และการแต่งคำประพันธ์ การใช้คำศัพท์ต่าง ๆ เป้าหมายเพื่อจูงใจประชาชนให้เรียนหนังสือเป็นแบบเรียนที่ใช้มาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
  12. สมุทรโฆษคำฉันท์ ยอดวรรณคดีประเภทฉันท์ ดีทั้งเนื้อเรื่อง ลักษณะการประพันธ์ การใช้ถ้อยคำ วรรณคดีฉบับนี้ มีผู้แต่งถึง 3 ท่าน ได้แก่ พระมหาราชครู สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมัยอยุธยา และสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เวลาที่ใช้แต่งกว่า 150 ปี
  13. พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นประเพณีที่เกี่ยวข้องกับประชาชนและชาติบ้านเมืองมีทั้งศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ์พระราชพิธีนี้มีความผูกพันกับเกษตรกรรม ความอุดมสมบูรณ์ ขวัญและกำลังใจของราษฎร เดือนอ้าย พระราชพิธีไล่เรือ คือไล่น้ำที่ท่วมข้าวในนาให้ลดลง เดือนห้า พระราชพิธีสงกรานต์ เป็นพระราชพิธีขึ้นปีใหม่ เดือนหก พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ คือพระราชพิธีทำขวัญพืชผลให้เป็นมงคล เดือนแปด พระราชพิธีถวายเทียนพรรษา เดือนเก้า พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ หมายถึง พระราชพิธีขอฝน เพื่อให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล เป็นพิธีบำรุงขวัญประชาชนที่มีอาชีพทำนา และต้องพึ่งพาธรรมชาติ เดือนสิบ พระราชพิธีสารท มีการกวนข้าวทิพย์และข้าวยาคู เดือนสิบเอ็ด พระราชพิธีแข่งเรือ เดือนสิบสอง พระราชพิธีลอยพระประทีป หรือลอยกระทง
  14. พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นประเพณีที่เกี่ยวข้องกับประชาชนและชาติบ้านเมืองมีทั้งศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ์พระราชพิธีนี้มีความผูกพันกับเกษตรกรรม ความอุดมสมบูรณ์ ขวัญและกำลังใจของราษฎร