SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
แผนนิเทศ
แผนนิเทศภายใน
ภายในส
สถาน
ถานศึ
ศึกษา
กษา
ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนคุณภาพของชุมชน
(ONE TAMBON ONE SCHOOL)
โรงเรียนร่มเกล้า ตาบลหนองแคน อาเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
http:// www.romklaomuk.ac.th
2
คานา
การนิเทศภายในโรงเรียน เป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนาครูผู้สอน ให้สามารถจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนที่มีคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียน ให้มีลักษณะอันพึงประสงค์
ตามเป้าหมายของหลักสูตร
จากนโยบายการการนิเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โรงเรียนจึงมี
ภารกิจที่จะทาให้นโยบายดังกล่าวบรรลุผล ซึ่งได้ดาเนินการประเมินมาตรฐานโรงเรียนด้านการเรียนการสอน
มาตรฐานด้านคุณภาพนักเรียน และนาข้อมูลในส่วนที่ยังบกพร่องมาแก้ไข โดยนามาวางแผนการนิเทศ
แผนการนิเทศภายในโรงเรียนฉบับนี้ จะเป็นแนวทางที่จะทาให้โรงเรียนสามารถดาเนินงานตามแผน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และเจตนารมณ์ของการนิเทศ
ขอขอบคุณ คณะกรรมการนิเทศภายใน และผู้ที่เกี่ยวข้องที่ร่วมกันวางแผนกาหนดกรอบงาน เพื่อ
พัฒนาคุณภาพของครู และผู้เรียนต่อไป
กลุ่มวิชาการ
งานนิเทศการศึกษา โรงเรียนร่มเกล้า
3
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ความสาคัญและความเป็นมา
วัตถุประสงค์ของการนิเทศภายใน
กระบวนการนิเทศภายใน
บทบาทของผู้บริหาร
สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ
ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การวางแผนการนิเทศภายใน
กิจกรรมการนิเทศภายใน
ประชุมก่อนเปิดภาคเรียน
การเยี่ยมชั้นเรียน
การสังเกตการสอน
การสอนซ่อมเสริม
การศึกษาเอกสารทางวิชาการ
การให้คาปรึกษา
การประชุมทางวิชาการ
ภาคผนวก
แบบประเมินสาหรับงานนิเทศภายใน
คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2562
4
แผนนิเทศภายในโรงเรียนร่มเกล้า
ปีการศึกษา 2564
ความสาคัญและความเป็นมา
จากนโยบายการนิเทศภายใน การใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพผุ้เรียน ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งต้องการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน การนิเทศ
ภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการที่ผู้นิเทศในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้บริหาร ครู
วิชาการ และครู –อาจารย์ ที่ผู้บริหารมอบหมายดาเนินการโดยใช้ภาวะผู้นาทาให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ
ประสานงานและใช้ศักยภาพการทางานอย่างเต็มที่ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนางานของสถานศึกษา โดยส่วนรวม
ให้เป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการศึกษา นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 มีเจตนารมณ์อย่างชัดเจนในเรื่องกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยยึดนักเรียนเป็นสาคัญ
จะต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ให้เด็กได้คิดและปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง จึงต้องมีการพัฒนาครูให้
สอดคล้องกับหลักการ ดังกล่าว
แนวคิดการนิเทศภายใน
1. การนิเทศภายใน เป็นการร่วมมือกันของบุคลากรในโรงเรียน ในการปรับปรุงแก้ไขหรือ
พัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
2. กลวิธีการนิเทศภายในมีหลายวิธี การเลือกกลวิธีที่เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันปัญหาและ
สถานการณ์ของโรงเรียนจะช่วยให้การดาเนินการนิเทศประสบผลสาเร็จดียิ่งขึ้น
3. คุณสมบัติด้านมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความรู้ความสามารถ ทางวิชาการและความเข้าใจ
แนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้นิเทศการศึกษา
4. การนิเทศที่พึงประสงค์ คือ การนิเทศระหว่างครูด้วยกันอันจะส่งผลให้ สามารถพัฒนาตนเอง
และกลุ่มได้
5. การจัดการนิเทศภายในโรงเรียนจัดทาได้หลายรูปแบบ การที่ผู้บริหารจะเลือกใช้รูปแบบใดนั้น
ขึ้นอยู่กับขนาดของโรงเรียนและความสามารถของบุคลากรในโรงเรียนเป็นสาคัญ
หลักการนิเทศภายใน
1. การปฏิบัติงานตามวิธีวิทยาศาสตร์ โดยดาเนินการอย่างมีระบบ ระเบียบ และครอบคลุมถึงวิธี
การศึกษา สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการ การวางแผนการนิเทศ การปฏิบัติการนิเทศ การประเมินผล
การนิเทศ ซึ่งควรจะมาจากการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผลอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นที่เชื่อถือได้
2. การปฏิบัติงานตามวิถีประชาธิปไตย เคารพในความแตกต่างระหว่างบุคลให้เกียรติซึ่งกันและกัน
เปิดใจกว้างยอมรับผลการประเมินตนเอง ยอมรับในเหตุและผลและปฏิบัติตามข้อตกลง ตลอดจนใช้ความรู้
ความสารถในการปฏิบัติงาน เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมาย
5
3. การปฏิบัติงานเพื่อพัฒนา สร้างสรรค์ โดยการแสวงหาความสามารถพิเศษของครูแต่ละบุคคล
เปิดโอกาสให้ให้ได้แสดงออกและสนับสนุนส่งเสริม ความสารถเหล่านั้นอย่างเต็มที่
4. การปฏิบัติตามกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วม เน้นความร่วมมือร่วมใจในการดาเนินงาน
โดยยึดวัตถุประสงค์การทางานร่วมกัน การช่วยเหลือแบ่งปันประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ร่วมคิดร่วมพัฒนา
ทั้งนี้เพื่อความสาเร็จของงานโดยส่วนรวม
5. การปฏิบัติงานเพื่อประสิทธิภาพ เน้นการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ รับผิดชอบ มีการควบคุม
ติดตาม ผลการดาเนินงาน และผลผลิตอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามมาตรฐาน
การศึกษา
6. การปฏิบัติงานโดยยึดวัตถุประสงค์ การดาเนินงานทุกครั้งต้องกาหนดวัตถุประสงค์ การทางาน
อย่างชัดเจน ออกแบบการดาเนินงานอย่างเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
วัตถุประสงค์ของการนิเทศภายใน
1. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครูให้เกิดประสิทธิภาพ
2. เพื่อสร้างความมั่นใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมหลักสูตรแก่ครู
3. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น
เป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ
1. นิเทศภายในอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
2. นิเทศภายในโรงเรียนอย่างน้อยเดือนละ 2 กิจกรรม
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มทักษะทุกระดับชั้นให้สูงขึ้น
2. อัตราการซ้าชั้นของนักเรียนไม่มี
จุดมุ่งหมายของการนิเทศภายใน
1. เพื่อให้สถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานหลักสูตรและเป็นไปตามแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
2. เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารและจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ
3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
สังคมทันต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน
4. เพื่อให้บุคลากรในสถานศึกษา ได้พัฒนาเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน ตลอดจนความต้องการในวิชาชีพ
5. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนปฏิรูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทา ร่วม
ตัดสินใจ และร่วมรับผิดชอบ ชื่นชมในผลงาน
6. เพื่อให้เกิดการประสานงานและความร่วมมือ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่าง
ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ครู ผู้ปกครองนักเรียน กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและชุมชน
6
กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน
1. การประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนา
2. การวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยเพื่อกาหนดจุดที่จะพัฒนา
3. การหาแนวทางเลือกเพื่อพัฒนา
4. การลงมือปฏิบัติ
5. การประเมินผลและปรับปรุงแก้ไข
6. การเผยแพร่ ขยายผล
2. การวิเคราะห์
จุดเด่น จุดด้อยเพื่อ
กาหนดจุดที่จะพัฒนา
3. วางแผนการนิเทศ
6. การเผยแพร่
ขยายผล
4. ปฏิบัติการตามแผน
การนิเทศ
5. การประเมินผลและ
ปรับปรุงแก้ไข
1. การประเมินความ
ต้องการจาเป็นในการ
พัฒนา
7
การนิเทศภายในโรงเรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารโรงเรียน
ต้องมีการเตรียมการก่อนการนิเทศ และดาเนินการตามกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน ดังนี้
การเตรียมการก่อนการนิเทศภายในโรงเรียน
1. สร้างความเข้าใจร่วมกัน หากครูทุกคนมีความเข้าใจถูกต้อง ตรงกันเกี่ยวกับการนิเทศภายใน
โรงเรียน จะทาให้ครูคลายความวิตกกังวลและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับผู้นิเทศ โดยมีเรื่องที่ต้องสร้างความ
เข้าใจกับครูทุกคน มีดังนี้
1.1 ความหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน
1.2 ความสาคัญและความจาเป็นของการจัดการนิเทศภายในโรงเรียน
1.3 จุดมุ่งหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน
1.4 เป้าหมายและตัวบ่งชี้ความสาเจของการนิเทศภายในโรงเรียน
1.5 กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน
2. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน โดยให้บุคลากรในหน่วยงานมีส่วนร่วมในการ
เสนอรายชื่อ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการไม่ยอมรับผู้นิเทศได้ระดับหนึ่ง โดยคณะกรรมการประกอบด้วย
ผู้บริหารโรงเรียน ประธานกรรมการ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กรรมการ
ครูวิชาการโรงเรียน หรือผู้ที่ได้รับการคัดเลือกจากคณะครู กรรมการและเลขานุการ
3. ทาความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของผู้นิเทศ และผู้เข้ารับการนิเทศรวมทั้ง
ผู้ที่เกี่ยวข้อง จะทาให้ผู้นิเทศสามารถปฏิบัติงานด้วยความสบายใจ ไม่อึดอัด ขณะเดียวกันก็ช่วยขจัดความรู้สึก
ขัดแย้งของผู้รับการนิเทศที่มีต่อผู้นิเทศได้ด้วย
3.1 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน
3.1.1 กาหนดเป้าหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน เช่น
- ส่งเสริมการปฏิบัติงานและความร่วมมือในการทางานเป็นหมู่คณะ โดยใช้กระบวน
การกลุ่มในการปฏิบัติงาน
- ส่งเสริมให้ครูรักงานวิชาการ ทางานวิชาการอย่างสม่าเสมอเคารพ
ในหลักการและเหตุผลของการปรับปรุงคุณภาพของงาน
- ช่วยเหลือให้ครูปฏิบัติงานด้วยความสะดวก มีโอกาสเพิ่มพูนความรู้ ทักษะต่าง ๆ ที่
เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2 ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียนและเรื่องอื่นๆ
ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ของครู
3.1.3 กระตุ้นให้ครูเกิดการพัฒนาตนเองอย่างเสมอ เช่น แจ้งข่าวสารความเคลื่อนไหวทาง
ทางวิชาการ การไปเยี่ยมชมนิทรรศการของหน่วยงานต่าง ๆ ส่งเสริมให้อ่านวารสารทางวิชาการและการเขียน
บทความ
3.1.4 ร่วมมือกับคณะครูดาเนินงานตามขั้นตอนของกระบวนการนิเทศภายใน
3.1.5 สร้างขวัญและกาลังใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ยกย่อง
ชมเชยในที่ประชุม นาผลสาเร็จของการปฏิบัติงานมาแสดงให้ปรากฏแก่บุคคลอื่น แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการ
ตามความถนัด และเปิดโอกาสให้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่
8
3.1.6 ติดตามประเมินผลและพัฒนาการดาเนินการนิเทศภายใน
3.2 บทบาทหน้าที่ของผู้รับการนิเทศ
3.2.1 ยอมรับบทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศโดยรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและให้ความ
ร่วมมือ
3.2.2 ร่วมมือกับผู้นิเทศในการวิเคราะห์ปัญหาและกาหนดแนวทางการแก้ปัญหา
3.2.3 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับการมอบหมายด้วยความจริงใจ และใช้แนวทางที่ได้รับการนิเทศ
ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
4. ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการนิเทศให้แก่คณะกรรมการดาเนินการนิเทศ
ภายใน เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดและความขัดแย้งในการนิเทศ ตลอดจนป้องกันมิให้ผู้รับการนิเทศ
เกิดความสับสนและอาจไม่ศรัทธาผู้นิเทศและการนิเทศภายใน
9
การประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนาของครู ปีการศึกษา 2564
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล
ตาแหน่ง
ความต้องการพัฒนาการเรียนการสอน
1 ครู
2. ครู
3. ครู
4. ครู
5 ครู
6 ครู
7 ครู
8 ครู
9 ครู
10 ครู
11 ครู
12 ครู
13 ครู
14 ครู
15 ครู
16 ครู
17 ครู
18 ครู
19 ครู
20 ครู
21 ครู
22 ครู
23 ครู
ตารางที่ 1
10
ประเมินความต้องการในการพัฒนาการศึกษาของครู
ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่ต้องการให้สถานศึกษา จัดการศึกษาโดย
ยึดนักเรียนเป็นสาคัญ ครูจะต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอน เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ และ
สร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยหลักการดังกล่าว โรงเรียนตระหนักถึงความจาเป็นที่ต้องพัฒนาทั้งตัวครู และ
ผู้เรียน ให้มีศักยภาพทั้งด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และกระบวนการสร้างความรู้ จึงพยายามจัด
ประสบการณ์ให้ครูได้ศึกษาในรูปแบต่างๆ ทั้งด้านเอกสารฝึกอบรม การประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เพื่อปรับแนวคิดให้เกิดความเข้าใจต่อการนาไปปฏิบัติ มีการนาผลจากการศึกษา ทดลองปฏิบัติกับนักเรียน
และแก้ปัญหาร่วมกัน โรงเรียนได้สอบถามครูเรื่องที่เกี่ยวกับความต้องการพัฒนาด้านต่างๆ ได้ข้อสรุป ซึ่งเป็น
ความต้องการพัฒนา
ดังนี้
1. การจัดการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. การประเมินผลตามสภาพจริง
3. การวิจัยในชั้นเรียน
4. การสอนโดยโครงงาน
5. การสอนและประเมินตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
6. การใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
7. การสอนการคิดวิเคราะห์
8. การใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
9. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยเพื่อกาหนดจุดที่จะพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ย ( NT/O-NET)
ป.3 , ป.6 , ม.3 ปีการศึกษา 2563
กลุ่มสาระ/วิชา/ด้าน ชั้น ป. 3 ชั้น ป. 6 ชั้น ม.3
ด้านภาษา - -
ด้านคิดคานวณ - -
ด้านเหตุผล - -
ภาษาไทย -
คณิตศาสตร์ -
วิทยาศาสตร์ -
ภาษาอังกฤษ -
ตารางที่ 2
11
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกชั้นเรียน ปีการศึกษา 2563
ชั้น
ค่าเฉลี่ยร้อยละรายกลุ่มสาระการเรียนรู้
ไทย คณิต วิทยฯ สังคมฯ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงาน อังกฤษ ประวัติฯ เฉลี่ย
ป.1
ป.2
ป.3
ป.4
ป.5
ป.6
ม.1
ม.2
ม.3
เฉลี่ย
ร้อยละของจานวนนักเรียนที่ซ้าชั้น
ปีการศึกษา 2563
ชั้น/ห้อง
จานวน
นักเรียนเข้า
สอบ
จานวน
นักเรียน
ซ้าชั้น
คิดเป็น
ร้อยละ
สาเหตุที่ซ้าชั้น
เวลาเรียน
ไม่พอ
ไม่ผ่านเกณฑ์
ผลการอ่าน คิด
วิเคราะห์ เขียน
ไม่ผ่านเกณฑ์
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
ไม่ผ่าน
เกณฑ์การ
สอบปลายปี
ป.1
ป.2
ป.3
ป.4
ป.5
ป.6
ม.1
ม.2
ม.3
รวม
ตารางที่ 3
12
วิเคราะห์การไม่ผ่านเกณฑ์ผลการเรียนรู้คาดหวังรายปี กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง
ๆ แยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2563
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ระดับชั้น รวม หมาย
เหตุ
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
ภาษาอังกฤษ
วิเคราะห์ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน
ปีการศึกษา 2563
ชั้นเรียน จานวน
นักเรียน
ผลการประเมิน หมายเหตุ
ไม่ผ่าน ปรับปรุง ดี ดีเยี่ยม
ป.1
ป.2
ป.3
ป.4
ป.5
ป.6
ม. 1
ม. 2
ม.3
รวม
ตารางที่ 4
ตารางที่ 5
13
ผลการลาดับความสาคัญของปัญหาจากตัวบ่งชี้แต่ละด้าน
ปีการศึกษา 2563
ปัญหาด้านคุณภาพ ด้านความต้องการ
ผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม
ทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ
คุณลักษณะของนักเรียนที่ยัง
ต้องพัฒนาต่อเนื่อง คือ
1. ความสามารถทางทักษะ
ภาษาไทย เรื่องการอ่าน
และการเขียน
2. ความสามารถทาง
คณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการแก้
โจทย์ปัญหา
4. ความสามารถและทักษะใน
การใช้ภาษาอังกฤษ
5. ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
6. ทักษะการแสวงหาความรู้
การมีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน
7. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ครูมีความต้องการที่จะพัฒนาการสอนให้ได้ตาม
เกณฑ์มาตรฐาน โดยเสริมจุดเด่นและแก้ไขจุด
ด้อย นอกจากนี้ครูยังต้องการพัฒนาทักษะการ
สอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ในรูปแบบต่างๆ
ประเด็นสาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ความ
ต้องการในการจัดการเรียนการสอน โดยสื่อการ
สอนเทคโนโลยีให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน
การจัดแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการให้
ความรู้แก่นักเรียน นอกจากนี้ ครูยังมีความ
ต้องการการศึกษา และฝึกฝนเรื่องการวิจัยในชั้น
เรียนเพื่อนาไปแก้ปัญหาข้อบกพร่องของนักเรียน
ตารางที่ 6
14
กิจกรรมนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564
นอกจากกิจกรรมการนิเทศเพื่อตอบสนองต่อจุดที่ต้องการพัฒนา ดังรายละเอียดข้างต้นแล้ว
คณะกรรมการนิเทศยังได้กาหนดกิจกรรมเสริม เพื่อให้การนิเทศภายในโรงเรียนบรรลุเป้าหมาย จึงได้มีการ
กาหนดกิจกรรมอีก 5 กิจกรรม ดังนี้
1. การประชุมก่อนเปิดภาคเรียน
2. การเยี่ยมชั้นเรียน
3. การสังเกตการสอน
4. การสอนซ่อมเสริม
5. การศึกษาเอกสารทางวิชาการ
6. การให้คาปรึกษา
7. การประชุมทางวิชาการ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน ให้ครูสามารถทาการสอนได้ทันทีในวันเปิดเรียนวันแรก
2. เพื่อประเมินผลการดาเนินงานในปีหรือภาคเรียนที่ผ่านมา
3. เพื่อวางแผน/โครงการที่จะดาเนินการในปีหรือภาคเรียนต่อไป
เป้าหมาย
1. โรงเรียนมีความพร้อมในการจัดการศึกษาในปีหรือภาคเรียนต่อไป
2. ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้ในทันทีในวันเปิดทาการของปีการศึกษา
3. แผนงาน / โครงการ พร้อมการดาเนินงาน
กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน
1. เตรียมการประชุม
1.1 วางแผนการประชุม
1.2 จัดสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก
1.3 เตรียมเอกสารการประชุม
1.4 เตรียมบุคลากร
1. กิจกรรมประชุมก่อนเปิดภาคเรียน
15
2. จัดประชุม
ดาเนินการประชุมตามหัวข้อการประชุม ดังนี้
2.1 การประเมินผลในรอบปี/ภาคเรียน ที่ผ่านมา
2.2 ปัญหา อุปสรรค การดาเนินงานในปี / ภาคเรียนที่ผ่านมา
2.3 โครงการที่จะดาเนินการในปี/ภาคเรียน ต่อไป
2.4 การจัดครูเข้าชั้น/จัดรายวิชา
2.5 งาน/โครงการเร่งด่วนที่ต้องจัดทา
ระยะเวลา ตลอดปีการศึกษา
สื่อและเครื่องมือ
- แผนกาหนดการประชุม
- เอกสารต่างๆ เช่น โครงการ หลักสูตร แผนการสอน ฯลฯ
- สมุดบันทึกการประชุม
การประเมินผล
- ติดตามความพร้อมในการปฏิบัติงานในวันเปิดทาการเรียนการสอน
ผู้ปฏิบัติ
คณะกรรมการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564
1. นายรังสรรค์ สุทารัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
2. นายประจักษ์ ยืนยั่ง รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
3. ................................. กรรมการ
4. ................................. กรรมการ
5. ................................. กรรมการ
6. ................................. กรรมการ
7. ................................. กรรมการ
8. ................................. กรรมการ
9. ................................. กรรมการ
10. ................................. กรรมการ
11. ................................. กรรมการ
(ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม 1 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุชื่อ)
12. น.ส.นริสรา ทวีโคตร ครู กรรมการและเลขานุการ
16
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสารวจปัญหาและความต้องการของครู
2. เพื่อให้คาปรึกษาและคาแนะนาแก่ครู
3. เพื่อร่วมกันพัฒนางานของนักเรียนให้เอื้อต่อการเรียนการสอน
เป้าหมาย
1. ผู้บริหาร/ครูที่ได้รับการมอบหมาย เยี่ยมชั้นเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง
2. สภาพ บรรยากาศทั้งในและนอกห้องเรียนเอื้อต่อกี่เรียนการสอน
3. ครูและนักเรียนปฏิบัติงานตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมและขั้นตอนดาเนินงาน
1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการเยี่ยมชั้นเรียน
2. กาหนดปฏิทินการเยี่ยมชั้นเรียน
3. ดาเนินการเยี่ยมชั้นเรียน
4. สรุปผล พัฒนา ปรับปรุงแก้ไข
ระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1/25624 สิงหาคม 2564
ภาคเรียนที่ 2/2564 พฤศจิกายน 2564 – มกราคม 2565
สื่อและเครื่องมือ
แบบบันทึกการเยี่ยมชั้นเรียน
การประเมินผล
- ประเมินผลจากบันทึกการเยี่ยมชั้นเรียน
- การสังเกต สอบถาม โดยการเยี่ยมชั้นเรียนอย่างจริงจัง
ผู้ปฏิบัติ
- ผู้บริหารโรงเรียน - ครูวิชาการโรงเรียน
- คณะกรรมการนิเทศ
2. การเยี่ยมชั้นเรียน
17
วัตถุประสงค์
1. เพื่อนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมาปรับปรุงพฤติกรรมการการสอน
2. เพื่อเสริมประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนการสอน
3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการร่วมมือในการทางาน
เป้าหมาย
1. คณะกรรมการนิเทศสังเกตการสอนครูแต่ละท่าน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
2. ครูทุกคนมีการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน
- ประชุมวางแผนเพื่อกาหนดหัวข้อการสังเกตการสอน
- ชี้แจงทาความเข้าใจถึงความจาเป็นที่ต้องมีการสังเกตการสอน
- กาหนดปฏิทินและบุคลากรเพื่อสังเกตการสอน
- ดาเนินการสังเกตการสอน
- ประเมินผล
ระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1/2564. กรกฎาคม - สิงหาคม 2564
ภาคเรียนที่ 2/2564 ธันวาคม 2564 – มกราคม 2565
ประเมินผล
สังเกตการสอน และพิจารณาความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
3. การสังเกตการสอน
18
ผู้ปฏิบัติ
ผู้นิเทศ ผู้รับการนิเทศการสอน ระยะเวลา
ครูวิชาการ/หัวหน้าสายชั้น
19
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่ขาดเรียนและเรียนอ่อน
2. เพื่อลดอัตราการตกซ้าชั้น
3. เพื่อเสริมนักเรียนที่เรียนดีให้ดียิ่งขึ้น
เป้าหมาย
1. นักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมมีพัฒนาการทางด้านการเรียนดีขึ้น
ขั้นตอนและวิธีดาเนินงาน
1. คณะครูร่วมกันวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
2. จัดทา/จัดหาสื่อเพื่อใช้สอนซ่อมเสริม
3. ดาเนินการซ่อมเสริมตามตารางกาหนด
4. สรุปผลการสอนซ่อมเสริม
ระยะเวลา
เดือน สิงหาคม 2564 – เดือน มกราคม 2565
สื่อและเครื่องมือ
1.แบบฝึกตามรายตัวชี้วัดที่นักเรียนมีผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์
2.ข้อทดสอบ O – net ปีการศึกษาต่าง ๆ
ประเมินผล
สังเกตการสอน และพิจารณาความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ผู้ปฏิบัติ
คณะครูทุกคน
4. การสอนซ่อมเสริม
20
แผนนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564
กิจกรรมนิเทศ การประชุมก่อนเปิดภาคเรียน
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอน ระยะเวลา สื่อ /เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ
ประเมินผล
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ครูรับทราบ
นโยบายและแนวทาง
ปฏิบัติงานวิชาการของ
โรงเรียน
2.เพื่อให้บุคลากรของ
โรงเรียนปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
โดยเฉพาะการยึดเด็กเป็น
สาคัญ
3.เพื่อทราบปัญหาอุปสรรค
และหาแนวทางแก้ปัญหา
เป้าหมาย
1.โรงเรียนจัดการประชุมก่อน
เปิดภาคเรียนเพื่อเตรียม
ความพร้อมทุกภาคเรียน
2.ครูทุกคนจัดทาเอกสารและ
มีความพร้อมทุกด้านก่อนเปิด
ภาคเรียน
1.เตรียมการประชุม
1.1 วางแผน
1.2 จัดสถานที่
1.3 เตรียมเอกสาร
การประชุม
2. จัดประชุม
2.1 ชี้แจงนโยบาย
และ
แนวทางการปฏิบัติ
งานด้านวิชาการ
2.2 ร่วมกันสรุป
ปัญหาอุปสรรคในการ
ปฏิบัติงาน
2.3 ร่วมกันพิจารณา
แนวทางแก้ปัญหา
โดยเฉพาะเรื่องการ
สอนโดยยึดเด็กเป็น
สาคัญและเทคนิคอื่นๆ
2.4 ชี้แจงแนะนางาน
วิชาการ
- การจัดชั้นเรียน
- การจัดครูเข้าสอน
แทน
- การจัดทาแผนการ
สอน
- การจัดทาปฏิทินการ
ปฏิบัติงาน
ภาคเรียน
ที่ 1
พ.ค. 2564
ภาคเรียน
ที่ 2
พ.ย. 2564
เอกสารการ
ประชุม
เครื่องมือเครื่องใช้
ที่จาเป็น
ผู้อานวยการ 1.สอบถาม
โดยใช้แบบ
สอบถาม
2.ตรวจเอกสารที่
ปฏิบัติประจา
3.ติดตามการจัด
ตารางเรียนและ
การจัดครูเข้าสอน
21
แผนนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564
กิจกรรมนิเทศ การเยี่ยมชั้นเรียน
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
วิธีการ/ขั้นตอน ระยะเวลา สื่อ เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ
ประเมินผล
วัตถุประสงค์
1.เพื่อสารวจปัญหา
และความต้องการ
ของครู
2.เพื่อให้คาปรึกษา
แนะนาการ
ปฏิบัติงานแก่ครู
3.เพื่อให้ครูวิเคราะห์
การทางานของ
ตนเองได้
4.เพื่อกระตุ้นให้ครู
ปรับปรุงห้องเรียน
ตามเกณฑ์มาตรฐาน
เป้าหมาย
เยี่ยมชั้นเรียนภาค
เรียนละ 1 ครั้ง/
ห้องเรียน
1.สร้างข้อตกลงในการ
เยี่ยมชั้น เรียน
2.สร้างความคุ้นเคยและ
เจตคติที่ ดีในการนิเทศ
3.วางแผนการเยี่ยมชั้น
เรียน ร่วมกับครูในเรื่อง
ต่างๆ กาหนดข้อตกลง
3.1 กาหนดการเยี่ยมชั้น
เรียนของแต่ละภาคเรียน
3.2 กาหนดจุดมุ่งหมาย
ในการ เยี่ยมชั้นเรียน
- สารวจปัญหาความ
ต้องการ
- ดูเอกสารประจา
ห้องเรียน
- พูดคุยกับครู นักเรียน
- การจัดบรรยากาศใน
ห้องเรียน
4.เยี่ยมชั้นเรียนตามที่
กาหนด
5. สรุปผลการเยี่ยมชั้น
เรียน
มิ.ย. 2564
พ.ย. 2564
- แบบสารวจ
- แบบสอบถาม
-บันทึกการ
เยี่ยมชั้นเรียน
คณะกรรมการ
นิเทศ
1.สอบถาม
ความพึงพอใจ
ครู นักเรียน
2.ติดตาม
ประเมินการ
ทางานของครู
3.สังเกต
พฤติกรรมของ
นักเรียน
4.สังเกตการจัด
บรรยากาศ
ห้องเรียน
22
แผนนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564
กิจกรรมนิเทศ การสอนซ่อมเสริม
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
วิธีการ/ขั้นตอน ระยะเวลา สื่อ
เครื่องมือ
ผู้ปฏิบัติ วิธีการ
ประเมินผล
วัตถุประสงค์
1.เพื่อสอนซ่อมเสริม
นักเรียนที่ขาดเรียน
และเรียนอ่อน
2.เพื่อเสริมนักเรียนที่
เรียนดีให้ดียิ่งขึ้น
เป้าหมาย
นักเรียนที่ได้รับ
การสอนซ่อมเสริมมี
พัฒนาการทางด้าน
การเรียนดีขึ้น
1.0 ปี
ก
า
ร
ศึ
ก
ษ
า
1.1 ล
1.คณะครูร่วมกัน
วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของ
นักเรียน
2.จัดทา/จัดหาสื่อเพื่อใช้
สอนซ่อมเสริม
3.ดาเนินการซ่อมเสริม
ตามตารางกาหนด
4.สรุปผลการสอนซ่อม
เสริม
ส.ค.2564 ถึง
ม.ค. 2565
1.แบบฝึก
ตามราย
ตัวชี้วัดที่
นักเรียนมีผล
การเรียนต่า
กว่าเกณฑ์
2.ข้อทดสอบ
O – net ปี
การศึกษา
ต่าง ๆ
ครูวิชาการ/
ครูประจาชั้น/
วิชา
1.สังเกต
พฤติกรรมการ
สอนของครู
2.พิจารณา
ความก้าวหน้า
ด้านผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
ของนักเรียน
23
แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564
กิจกรรมนิเทศ สังเกตการสอน
วัตถุประสงค์/
เป้าหมาย
วิธีการ/ขั้นตอนดาเนินงาน ระยะเวลา สื่อ
เครื่องมือ
ผู้ปฏิบัติ วิธีการ
ประเมินผล
วัตถุประสงค์
1.เพื่อนาข้อมูลที่ได้
จากการสังเกตมา
ปรับปรุงพฤติกรรม
การการสอน
2.เพื่อเสริม
ประสิทธิภาพการจัด
กระบวนการเรียน
การสอน
3.เพื่อสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดีใน
การร่วมมือในการ
ทางาน
1.สร้างข้อตกลงและเจตคติ
ที่ดีในการสังเกตการสอน
2.กาหนดปฏิทินดาเนินงาน
และมอบหมายบุคลากร
ผู้ร่วมนิเทศ
3. ดาเนินการนิเทศ
4. ประเมินผล
ส.ค. 2564.
ธ.ค. 2564
ถึง ม.ค.2565
- แบบ
สังเกตการ
สอน
ผู้บริหารและ
คณะกรรมการ
นิเทศ
1 สังเกต
2. ตรวจ
แผนการสอน
3.สอบถาม
24
แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564
กิจกรรมนิเทศ การศึกษาเอกสารทางวิชาการ
วัตถุประสงค์/
เป้าหมาย
วิธีการ/ขั้นตอน
ดาเนินงาน
ระยะเวลา สื่อ
เครื่องมือ
ผู้ปฏิบัติ วิธีการ
ประเมินผล
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้บุคลากรใน
โรงเรียนได้รับความรู้
และประสบการณ์
จากการศึกษา
เอกสารทางวิชาการ
2.เพื่อให้บุคลากรมี
วิสัยทัศน์กว้างไกล
3.เพื่อเพิ่มพูน
ประสบการณ์และ
เพิ่มประสิทธิภาพการ
ทางาน
เป้าหมาย
1.มอบหมายครูศึกษา
เอกสารทางวิชาการ
คนละ 1 เรื่อง/ เดือน
2. ครูทุกคนนา
ความรู้ที่ได้รับมา
ปรับปรุงการทางาน
ให้มีประสิทธิภาพ
สูงสุด
1.สร้างข้อตกลงใน
การศึกษาเอกสารทาง
วิชาการ
2.สร้างความคุ้นเคยและ
เจตคติที่ดีในการนิเทศ
3.กาหนดจุดมุ่งหมายใน
การศึกษาตาราและ
เอกสารทางวิชาการ
1) ครูทุกคนศึกษา
เอกสารทางวิชาการ
คนละ 1 เรื่อง /
เดือน
2) สรุปสาระสาคัญ
เตรียมนาเสนอที่
ประชุมครู
ประจาเดือน คน /
ครั้ง
3) วิเคราะห์สรุปผล
การศึกษาเอกสาร
ทางวิชาการ
พ.ค. 2564
พ.ค. 2564
พ.ค. 2564
พ.ค. 2564
ถึง ก.พ.2565
พ.ค. 2564
ถึง ก.พ.2563
มี.ค 2565
- เอกสาร
ตารา
- เอกสาร
ทางวิชาการ
คณะกรรมการ
นิเทศ
1สอบถาม
ความพึงพอใจ
ของการศึกษา
เอกสารทาง
วิชาการ
2. ติดตามการ
ทางานของครู
25
แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564
กิจกรรมนิเทศ การให้คาปรึกษา
วัตถุประสงค์/
เป้าหมาย
วิธีการ/ขั้นตอน
ดาเนินงาน
ระยะเวลา สื่อ
เครื่องมือ
ผู้ปฏิบัติ วิธีการ
ประเมินผล
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ครู
ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. เพื่อช่วยในการแนะ
แนวทางการปฏิบัติงาน
และแก้ไขปัญหาการ
ปฏิบัติงานในหน้าที่
3.เพื่อเป็นการสร้างขวัญ
และกาลังใจในการ
ปฏิบัติงานของบุคลากร
ในโรงเรียน
เป้าหมาย
1.ครูทุกคนได้รับการให้
คาปรึกษา
2.ครูทุกคนสามารถ
ปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
3. บุคลากรทุกคนใน
โรงเรียนมีขวัญและ
กาลังใจที่ดีในการ
ปฏิบัติงาน
1.จัดกิจกรรมสร้าง
ความคุ้นเคยกับคณะครูใน
โรงเรียน
2.ดาเนินการให้คาปรึกษา
2.1 สนทนา ซักถาม
ปัญหาการปฏิบัติงานและ
การจัดการเรียนการสอน
2.2 ให้คาแนะนาและ
แก้ไขปัญหา
2.3 สาธิต/ให้คาแนะนา
การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน
3. บันทึกรายละเอียดการให้
คาปรึกษา
4. ติดตามประเมินผลการให้
คาแนะนาปรึกษา
5. สรุปรายงานผลการให้
คาปรึกษา
20 พ.ค. 64
ตลอดปี
การศึกษา
“
“
“
“
“
มี.ค. 65
1.แบบบันทึก
การให้
คาปรึกษา
2. แบบบันทึก
การติดต่อกับ
ผู้ปกครอง
ผู้อานวยการ
คณะกรรม
การนิเทศ
1. ตรวจสอบจาก
สมุดบันทึก
การให้คาปรึกษา
2. บันทึกการเยี่ยม
ชั้นเรียน
27
ปฏิทินการปฏิบัติงานตามแผนการดาเนินการนิเทศภายใน
กิจกรรมการให้คาปรึกษา โรงเรียนร่มเกล้า
กิจกรรม ว/ด/ป ที่
ปฏิบัติ
ผู้ปฏิบัติ หมายเหตุ
1. การจัดทาแผนการนิเทศเพื่อ
การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและ
ความต้องการ
2. การจัดกิจกรรมสร้างความคุ้นเคย
ด้วยการเยี่ยมชั้นเรียน
3. การให้คาแนะนาในการจัดห้องเรียน
ตามมาตรฐานงานธุรการ
4. การให้คาแนะนาการลงคะแนนใน
สมุดบันทึกการผ่านจุดประสงค์
5. การให้คาแนะนาการสอนซ่อมเสริม
และทาหลักฐานบันทึกการสอนซ่อม
เสริม
6. แนะนาการบันทึกการตรวจสมุดงาน
นักเรียน และการตรวจสุขภาพ
นักเรียน
7. แนะนาการจัดทาแบบกรอกคะแนน
การสอบปลายภาคเรียน การคิด
คะแนน
8. แนะนาวิธีการสอนและการใช้สื่อการ
สอน
9. แนะนาการใช้ห้องปฏิบัติการทาง
วิทยาศาสตร์ ทางภาษา ห้อง
คอมพิวเตอร์
10. แนะนาการจัดทาหลักฐานการ
ทดสอบปลายภาค การสรุปแผนงาน
โครงการ
11. สรุปผลการให้คาปรึกษา
15 พ.ค. 64
16 พ.ค. 64
มิ.ย. 64
มิ.ย. 64
มิ.ย. 64
มิ.ย. 64
ก.ค. 64
ก.ค. 64
ก.ค. 64
ส.ค. 64
มี.ค. 64
ผู้อานวยการ
คณะกรรมการนิเทศ
การให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล
ดาเนินการเมื่อไปเยี่ยมชั้นเรียนเมื่อครู
หรือบุคลากรในโรงเรียนมีข้อสงสัย
ต้องการคาชี้แนะหรือมีปัญหาในการ
ปฏิบัติงานหรือเรื่องส่วนตัว
28
แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564
กิจกรรมนิเทศ การประชุมทางวิชาการ
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
วิธีการ/ขั้นตอน
ดาเนินงาน
ระยะเวลา สื่อ
เครื่องมือ
ผู้ปฏิบัติ วิธีการ
ประเมินผล
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ครูมีความรู้
ความเข้าและพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน การวัดผล
ประเมินผล
2.เพื่อเพิ่มพูนความรู้
ความเข้าใจเทคนิค
วิธีการจัดการเรียนการ
สอนและแนวทางในการ
ปฏิบัติงานแก่คณะครูใน
โรงเรียน
เป้าหมาย
1.จัดให้มีการประชุมเชิง
วิชาการเดือนละ 1 ครั้ง
2.ให้ครูมีความรู้ความ
เข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตร
การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน การวัดผล เพื่อ
นาไปพัฒนาการเรียน
การสอนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
คณะทางานฝ่ายวิชาการและ
งานนิเทศภายในโรงเรียน
จัดให้มีกิจกรรมประชุมเชิง
วิชาการ ดังนี้
1.เตรียมเอกสาร วาระการ
ประชุม
2.เตรียมข้อมูล สาระที่ต้อง
นาเสนอ
3.บันทึกการประชุม
3.1เลือกผู้นาสนทนาทาง
วิชาการประจาเดือน
3.2 กาหนดเรื่องที่จะ
สนทนา
3.3 ประเมินผลการ
ประชุม
พ.ค. 2564 –
มี.ค. 2565
1.สมุดบันทึก
การประชุม
เชิงวิชาการ
2.รายงานผล
การประชุม
ผู้อานวยการ 1. สังเกตการ
เข้าร่วม
ประชุม
2. สังเกตการ
ซักถาม การ
ตอบคาถาม
3. การตรวจ
รายงานการ
ประชุม
29
ภาคผนวก
30
1. มีการประชุมของผู้ปฏิบัติงานและบันทึกเพื่อประเมินโครงการใช่หรือไม่
มี
ไม่มี เพราะ………………………………………………………………………………………
2. ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้นเพียงใด
มีความรู้ความเข้าใจดี
ไม่แน่ใจ เพราะ…………………………………………………………………………………….
3. การปฏิบัติงานสาเร็จตามเวลาของโครงการหรือไม่
สาเร็จตามเวลาที่กาหนด
ไม่เป็นไปตามเวลา ข้อกาหนด เพราะ……………………………………………………………
4. ผลการปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ทุกข้อของโครงการหรือไม่
ครบทุกข้อ
ไม่ครบทุกข้อ ข้อที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ คือ………………………………………………………
5. โครงการนี้ส่งผลประโยชน์แก่นักเรียนเพียงใด
เกิดประโยชน์มาก
ไม่เกิดประโยชน์ เพราะ……………………………………………………………………………..
6. ผลของโครงการทั้งปริมาณและคุณภาพเป็นที่น่าพอใจของทุกฝ่ายหรือไม่
เป็นที่น่าพอใจ
ไม่น่าพอใจ เพราะ…………………………………………………………………………………..
7. ผู้ร่วมปฏิบัติงานตามโครงการส่วนมากมีความเห็นอย่างไร
ต้องการให้มีโครงการนี้อีก
ไม่ต้องการให้มีโครงการนี้อีก เพราะ………………………………………………………………..
8. ผู้นิเทศมีความเห็นต่อโครงการอย่างไร
ต้องการให้มีโครงการนี้อีก
ไม่ต้องการให้มีโครงการนี้อีก เพราะ……………………………………………………………….
9. ผู้รับการนิเทศมีความเห็นต่อโครงการอย่างไร
ให้ความสนใจการดาเนินการตลอด
ให้ความสนใจบางขณะ เพราะ…………………………………………………………………….
ไม่ให้ความสนใจ เพราะ……………………………………………………………………………
10. ผู้บริหารโรงเรียนให้ความสนใจในการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียนมากน้อย เพียงใด
ให้ความสนใจในการดาเนินการโดยตลอด
ให้ความสนใจบางขณะ เพราะ………………………………………………………………….
ไม่ให้ความสนใจ เพราะ…………………………………………………………………………
แบบประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
31
11. กระบวนการทางานส่งผลต่อความสาเร็จของโครงงานอย่างไร
มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ เพราะ…………………………………………………………………….
12. งบประมาณและสิ่งอานวยความสะดวกที่ได้รับจากโรงเรียนเหมาะสมเพียงใด
เหมาะสม
ไม่เหมาะสม เพราะ……………………………………………………………………………….
13. สื่อ และเครื่องมือ วิธีการนิเทศถูกนามาใช้บ้างหรือไม่
ใช้
ไม่ใช้ เพราะ……………………………………………………………………………………….
32
แบบบันทึกการตรวจเยี่ยมชั้นเรียน
โรงเรียน ร่มเกล้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร
ชั้น.................................................
วันที่ ............. เดือน........................... พ.ศ. ……….. (ครั้งที่….. /2564 )
รายการ
การดาเนินการ
หมายเหตุ
ปฏิบัติแล้ว
หรือเป็นปัจจุบัน
กาลังปฏิบัติ
หรือไม่เป็นปัจจุบัน
ยังไม่ปฏิบัติ
1. ความสะอาด เป็นระเบียบของห้องเรียน
2. น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
3. จัดแสดงสาระการเรียนรู้ 8 สาระ
4. เอกสารงานธุรการ ปพ..ต่างๆ
5. ผลิตสื่อ/ใช้สื่อการสอน
6. ระเบียนสะสม บัตรสุขภาพ
7. บันทึกการสอนซ่อมเสริม
8. แฟ้มสะสมงานนักเรียน
9. บันทึกน้าหนักส่วนสูงของนักเรียน
10. ตารางสอน
11. มุมวิชาการ (ส่งเสริมการอ่าน)
12. ป้ายชั้นเรียน
13. ป้ายครูประจาชั้น
14. ชื่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน
15. สถิติการมาเรียนของนักเรียน
16. ข้อตกลงประจาห้องเรียน
17. เครื่องหมายแสดง 3 สถาบัน
18. มุมแก้วน้า แปรงสีฟัน
19. วัน เดือน ปี
20 มุมสบาย หรือมุมพักผ่อน
ลงชื่อ………………………….……………...ผู้รายงาน
(.........................................................)
ตาแหน่ง...................................................
33
แบบสังเกตพฤติกรรมการสอนของครู
โรงเรียน ร่มเกล้า
ชื่อ……………………………………………ชั้น……………………จานวนนักเรียน…………….คน
ครั้งที่ 1 วันที่…………..เดือน…………………พ.ศ………….กลุ่ม/วิชา……………………………….
ครั้งที่ 2 วันที่…………..เดือน…………………พ.ศ………….กลุ่ม/วิชา……………………………….
รายการพฤติกรรมที่สังเกต
พฤติกรรมการสอนของครู
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ทา ไม่ทา ทา ไม่ทา
การเตรียมการสอน
1. จัดทาแผนการสอน ตามขั้นตอนอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
2. เตรียมสื่อการสอนสอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหา
3. แบบประเมินผลการเรียนสอดคล้องกับจุดประสงค์ และเนื้อหา
4. นักเรียนมีส่วนร่วมในการเตรียมการสอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
5. บอกจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนสอน
6. จัดกิจกรรมได้สอดคล้องกับเนื้อหาที่สอน
7. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างทั่วถึง
8. มอบหมายงานให้นักเรียนทาตามความสามารถ
9. ส่งเสริมให้นักเรียนทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
10.มีการส่งเสริมนักเรียนที่เรียนช้า และส่งเสริมนักเรียนที่เรียนเร็ว
การใช้สื่อการสอน
11. ใช้สื่อได้สอดคล้องกับจุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม
12. สื่อที่ใช้ชัดเจน และเร้าความสนใจของนักเรียน
13. นักเรียนได้ศึกษาและใช้สื่อการสอนอย่างใกล้ชิด
ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………….ผู้นิเทศ
(...............................................)
34
แบบสารวจความต้องการพัฒนาของครู โรงเรียน ร่มเกล้า
ชื่อ......................................................
รายการความต้องการพัฒนา ระดับความต้องการ
3 2 1
1. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับหลักสูตร
1.1 การจัดทาแผนการสอน โดยมีองค์ประกอบครบถ้วน
1.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ
1.3 การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
1.4 การพัฒนาหลักสูตร
1.5 การสอนและประเมินตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
1.6 อื่น ๆ...........................................................................
2. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ
2.1 การทาผลงานทางวิชาการ
2.2 การสอนโดยโครงงาน
2.3 การทาวิจัยในชั้นเรียน
2.4 การสอนการคิดวิเคราะห์
2.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2.6 การใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
2.7 การศึกษาดูงาน
2.8 อื่นๆ............................................................................
3. การพัฒนาโรงเรียน
3.1 พัฒนาอาคารสถานที่ และภูมิทัศน์
3.2 พัฒนาด้านแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
3.3 พัฒนาด้านพื้นฐานทักษะอาชีพ
3.4 อื่นๆ...............................................................................
4. การพัฒนานักเรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1.2 สมรรถนะทางการเรียน
1.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1.4 ด้านสุขภาพอนามัย
1.5 อื่นๆ...............................................................................
5. การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
5.1 การศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น
5.2 การบริการวิชาการแก่ชุมชน
5.3 ........................................................................................
35
แบบสรุปและประเมินความต้องการพัฒนาของครู
โรงเรียนร่มเกล้า
รายการความต้องการพัฒนา ระดับความต้องการ คะแนน
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
ลาดับ
ที่
3 2 1
1. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับหลักสูตร
1.1 การจัดทาแผนการสอน โดยมีองค์ประกอบครบถ้วน
1.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ
1.3 การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
1.4 การพัฒนาหลักสูตร
1.5 การสอนและประเมินตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
1.6 อื่น ๆ...........................................................................
2. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ
2.1 การทาผลงานทางวิชาการ
2.2 การสอนโดยโครงงาน
2.3 การทาวิจัยในชั้นเรียน
2.4 การสอนการคิดวิเคราะห์
2.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2.6 การใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
2.7 การศึกษาดูงาน
2.8 อื่นๆ............................................................................
3. การพัฒนาโรงเรียน
3.1 พัฒนาอาคารสถานที่ และภูมิทัศน์
3.2 พัฒนาด้านแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
3.3 พัฒนาด้านพื้นฐานทักษะอาชีพ
3.4 อื่นๆ...............................................................................
4. การพัฒนานักเรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1.2 สมรรถนะทางการเรียน
1.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1.4 ด้านสุขภาพอนามัย
1.5 อื่นๆ.........................................................................
5. การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
5.1 การศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น
5.2 การบริการวิชาการแก่ชุมชน
5.3 ....................................................................................
36
แบบประเมินผล การนิเทศภายใน
กิจกรรมประชุมเชิงวิชาการ
โรงเรียนร่มเกล้า
รายการ คะแนน ข้อเสนอแนะ
5 4 3 2 1
1. ครูมีการพัฒนางานในหน้าที่เพิ่มขึ้น
2. จานวนครั้งของการประชุมเชิงวิชาการ
3. ครูให้ความร่วมมือ และสนใจการประชุม
4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น
5. ครูแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน
รวม
ลงชื่อ…………………………………………………ผู้ประเมิน
(……………………………………………….)
ตาแหน่ง……………………………………………
วันที่……….เดือน…………………….พ.ศ…………..
37
ปฏิทินปฏิบัติงานนิเทศภายใน
“60 วันสู่ความสาเร็จ NT /O–Net เป็นเลิศ”
โรงเรียน ร่มเกล้า
ที่ วัน เดือน ปี รายการปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ
1 15 พ.ย. 2564 ประชุมชี้แจง จัดทาปฏิทินปฏิบัติงาน ภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
-กาหนดเรื่องที่จะนิเทศ
-กาหนดบุคคลออกนิเทศ/ผู้รับการนิเทศ
-กาหนดแนวทาง/วิธีการนิเทศ
-จัดทาเครื่องมือ/สื่อที่ใช้นิเทศ
-แนวทางสรุปและเสนอผลการนิเทศ
ผู้บริหารและ
คณะครู
2 19 พ.ย.2564 นาแผนยกระดับมาวิเคราะห์ตามราย
มาตรฐานและตัวชี้วัด
-สรุปผลการวิเคราะห์
-นาผลมาสร้างแนวทาง/เครื่องมือเพื่อ
พัฒนารายตัวชี้วัด
-ดาเนินการพัฒนาตามรายตัวชี้วัด
-สรุปผล
ครูวิชาการ/
ครูประจาวิชา
3 1 ธ.ค… 2564
เป็นต้นไป
สอนเต็มกาลังตามตัวชี้วัด
-วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์รายมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด
-จัดทาแผนการสอนแก้ปัญหาตัวชี้วัดที่
ผลสัมฤทธิ์ต่า
-สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลให้
สอดคล้องกับตัวชี้วัด
ครูประจาวิชา
4 ทุกวันทาการ สอนซ่อมเสริม
-จัดหาข้อสอบที่สอดคล้องกับ สพฐ./
สทศ.
-จัดติวแนวข้อสอบรายมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด
-รายงานผลการสอนซ่อมเสริม
ครูประจาวิชา
38
คาสั่งโรงเรียนร่มเกล้า
ที่ /2564
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564
--------------------------------------------
ด้วยโรงเรียนได้ดาเนินงานตามโครงการนิเทศการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามแผนปฏิบัติการ
ประจาปี ปีการศึกษา 2564 เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพภายในให้ ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนและผู้ที่มีส่วน
เกี่ยวข้องมีความมั่นใจในคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน จึงแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน ปี
การศึกษา 2564 ดังต้อไปนี้
1. นายรังสรรค์ สุทารัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
2. นายประจักษ์ ยืนยั่ง รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
3. ................................. กรรมการ
4. ................................. กรรมการ
5. ................................. กรรมการ
6. ................................. กรรมการ
7. ................................. กรรมการ
8. ................................. กรรมการ
9. ................................. กรรมการ
10. ................................. กรรมการ
11. ................................. กรรมการ
(ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม 1 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุชื่อ)
12. น.ส.นริสรา ทวีโคตร ครู กรรมการและเลขานุการ
ให้มีหน้าที่ ปฏิบัติตามแผนการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564
สั่ง ณ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2564
( นายรังสรรค์ สุทารัมย์ )
ผู้อานวยการโรงเรียนร่มเกล้า

More Related Content

What's hot

โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้Suhaiming Lotanyong
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
โครงการนักธุรกิจน้อย
โครงการนักธุรกิจน้อยโครงการนักธุรกิจน้อย
โครงการนักธุรกิจน้อยratchadaphun
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...Teacher Sophonnawit
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 

What's hot (20)

โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
โครงการนักธุรกิจน้อย
โครงการนักธุรกิจน้อยโครงการนักธุรกิจน้อย
โครงการนักธุรกิจน้อย
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
Bio pat2 mar60
Bio pat2 mar60Bio pat2 mar60
Bio pat2 mar60
 
reading news
reading newsreading news
reading news
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 

Similar to แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า

แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศจุลี สร้อยญานะ
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
แผนพัฒนาการศึกษา4
แผนพัฒนาการศึกษา4แผนพัฒนาการศึกษา4
แผนพัฒนาการศึกษา4Prachyanun Nilsook
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงwarijung2012
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 

Similar to แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า (20)

แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 
2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
Scbf
ScbfScbf
Scbf
 
แผนพัฒนาการศึกษา4
แผนพัฒนาการศึกษา4แผนพัฒนาการศึกษา4
แผนพัฒนาการศึกษา4
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 

แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า

  • 1. แผนนิเทศ แผนนิเทศภายใน ภายในส สถาน ถานศึ ศึกษา กษา ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนคุณภาพของชุมชน (ONE TAMBON ONE SCHOOL) โรงเรียนร่มเกล้า ตาบลหนองแคน อาเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ http:// www.romklaomuk.ac.th
  • 2. 2 คานา การนิเทศภายในโรงเรียน เป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนาครูผู้สอน ให้สามารถจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนที่มีคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียน ให้มีลักษณะอันพึงประสงค์ ตามเป้าหมายของหลักสูตร จากนโยบายการการนิเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โรงเรียนจึงมี ภารกิจที่จะทาให้นโยบายดังกล่าวบรรลุผล ซึ่งได้ดาเนินการประเมินมาตรฐานโรงเรียนด้านการเรียนการสอน มาตรฐานด้านคุณภาพนักเรียน และนาข้อมูลในส่วนที่ยังบกพร่องมาแก้ไข โดยนามาวางแผนการนิเทศ แผนการนิเทศภายในโรงเรียนฉบับนี้ จะเป็นแนวทางที่จะทาให้โรงเรียนสามารถดาเนินงานตามแผน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และเจตนารมณ์ของการนิเทศ ขอขอบคุณ คณะกรรมการนิเทศภายใน และผู้ที่เกี่ยวข้องที่ร่วมกันวางแผนกาหนดกรอบงาน เพื่อ พัฒนาคุณภาพของครู และผู้เรียนต่อไป กลุ่มวิชาการ งานนิเทศการศึกษา โรงเรียนร่มเกล้า
  • 3. 3 สารบัญ เรื่อง หน้า ความสาคัญและความเป็นมา วัตถุประสงค์ของการนิเทศภายใน กระบวนการนิเทศภายใน บทบาทของผู้บริหาร สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวางแผนการนิเทศภายใน กิจกรรมการนิเทศภายใน ประชุมก่อนเปิดภาคเรียน การเยี่ยมชั้นเรียน การสังเกตการสอน การสอนซ่อมเสริม การศึกษาเอกสารทางวิชาการ การให้คาปรึกษา การประชุมทางวิชาการ ภาคผนวก แบบประเมินสาหรับงานนิเทศภายใน คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2562
  • 4. 4 แผนนิเทศภายในโรงเรียนร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 ความสาคัญและความเป็นมา จากนโยบายการนิเทศภายใน การใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพผุ้เรียน ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งต้องการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน การนิเทศ ภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการที่ผู้นิเทศในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้บริหาร ครู วิชาการ และครู –อาจารย์ ที่ผู้บริหารมอบหมายดาเนินการโดยใช้ภาวะผู้นาทาให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ ประสานงานและใช้ศักยภาพการทางานอย่างเต็มที่ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนางานของสถานศึกษา โดยส่วนรวม ให้เป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการศึกษา นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มีเจตนารมณ์อย่างชัดเจนในเรื่องกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยยึดนักเรียนเป็นสาคัญ จะต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ให้เด็กได้คิดและปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง จึงต้องมีการพัฒนาครูให้ สอดคล้องกับหลักการ ดังกล่าว แนวคิดการนิเทศภายใน 1. การนิเทศภายใน เป็นการร่วมมือกันของบุคลากรในโรงเรียน ในการปรับปรุงแก้ไขหรือ พัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ 2. กลวิธีการนิเทศภายในมีหลายวิธี การเลือกกลวิธีที่เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันปัญหาและ สถานการณ์ของโรงเรียนจะช่วยให้การดาเนินการนิเทศประสบผลสาเร็จดียิ่งขึ้น 3. คุณสมบัติด้านมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความรู้ความสามารถ ทางวิชาการและความเข้าใจ แนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้นิเทศการศึกษา 4. การนิเทศที่พึงประสงค์ คือ การนิเทศระหว่างครูด้วยกันอันจะส่งผลให้ สามารถพัฒนาตนเอง และกลุ่มได้ 5. การจัดการนิเทศภายในโรงเรียนจัดทาได้หลายรูปแบบ การที่ผู้บริหารจะเลือกใช้รูปแบบใดนั้น ขึ้นอยู่กับขนาดของโรงเรียนและความสามารถของบุคลากรในโรงเรียนเป็นสาคัญ หลักการนิเทศภายใน 1. การปฏิบัติงานตามวิธีวิทยาศาสตร์ โดยดาเนินการอย่างมีระบบ ระเบียบ และครอบคลุมถึงวิธี การศึกษา สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการ การวางแผนการนิเทศ การปฏิบัติการนิเทศ การประเมินผล การนิเทศ ซึ่งควรจะมาจากการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผลอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นที่เชื่อถือได้ 2. การปฏิบัติงานตามวิถีประชาธิปไตย เคารพในความแตกต่างระหว่างบุคลให้เกียรติซึ่งกันและกัน เปิดใจกว้างยอมรับผลการประเมินตนเอง ยอมรับในเหตุและผลและปฏิบัติตามข้อตกลง ตลอดจนใช้ความรู้ ความสารถในการปฏิบัติงาน เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมาย
  • 5. 5 3. การปฏิบัติงานเพื่อพัฒนา สร้างสรรค์ โดยการแสวงหาความสามารถพิเศษของครูแต่ละบุคคล เปิดโอกาสให้ให้ได้แสดงออกและสนับสนุนส่งเสริม ความสารถเหล่านั้นอย่างเต็มที่ 4. การปฏิบัติตามกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วม เน้นความร่วมมือร่วมใจในการดาเนินงาน โดยยึดวัตถุประสงค์การทางานร่วมกัน การช่วยเหลือแบ่งปันประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ร่วมคิดร่วมพัฒนา ทั้งนี้เพื่อความสาเร็จของงานโดยส่วนรวม 5. การปฏิบัติงานเพื่อประสิทธิภาพ เน้นการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ รับผิดชอบ มีการควบคุม ติดตาม ผลการดาเนินงาน และผลผลิตอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามมาตรฐาน การศึกษา 6. การปฏิบัติงานโดยยึดวัตถุประสงค์ การดาเนินงานทุกครั้งต้องกาหนดวัตถุประสงค์ การทางาน อย่างชัดเจน ออกแบบการดาเนินงานอย่างเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ วัตถุประสงค์ของการนิเทศภายใน 1. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครูให้เกิดประสิทธิภาพ 2. เพื่อสร้างความมั่นใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมหลักสูตรแก่ครู 3. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น เป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ 1. นิเทศภายในอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2. นิเทศภายในโรงเรียนอย่างน้อยเดือนละ 2 กิจกรรม เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มทักษะทุกระดับชั้นให้สูงขึ้น 2. อัตราการซ้าชั้นของนักเรียนไม่มี จุดมุ่งหมายของการนิเทศภายใน 1. เพื่อให้สถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานหลักสูตรและเป็นไปตามแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 2. เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารและจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ 3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สังคมทันต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน 4. เพื่อให้บุคลากรในสถานศึกษา ได้พัฒนาเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน ตลอดจนความต้องการในวิชาชีพ 5. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนปฏิรูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทา ร่วม ตัดสินใจ และร่วมรับผิดชอบ ชื่นชมในผลงาน 6. เพื่อให้เกิดการประสานงานและความร่วมมือ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่าง ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ครู ผู้ปกครองนักเรียน กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและชุมชน
  • 6. 6 กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน 1. การประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนา 2. การวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยเพื่อกาหนดจุดที่จะพัฒนา 3. การหาแนวทางเลือกเพื่อพัฒนา 4. การลงมือปฏิบัติ 5. การประเมินผลและปรับปรุงแก้ไข 6. การเผยแพร่ ขยายผล 2. การวิเคราะห์ จุดเด่น จุดด้อยเพื่อ กาหนดจุดที่จะพัฒนา 3. วางแผนการนิเทศ 6. การเผยแพร่ ขยายผล 4. ปฏิบัติการตามแผน การนิเทศ 5. การประเมินผลและ ปรับปรุงแก้ไข 1. การประเมินความ ต้องการจาเป็นในการ พัฒนา
  • 7. 7 การนิเทศภายในโรงเรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารโรงเรียน ต้องมีการเตรียมการก่อนการนิเทศ และดาเนินการตามกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน ดังนี้ การเตรียมการก่อนการนิเทศภายในโรงเรียน 1. สร้างความเข้าใจร่วมกัน หากครูทุกคนมีความเข้าใจถูกต้อง ตรงกันเกี่ยวกับการนิเทศภายใน โรงเรียน จะทาให้ครูคลายความวิตกกังวลและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับผู้นิเทศ โดยมีเรื่องที่ต้องสร้างความ เข้าใจกับครูทุกคน มีดังนี้ 1.1 ความหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน 1.2 ความสาคัญและความจาเป็นของการจัดการนิเทศภายในโรงเรียน 1.3 จุดมุ่งหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน 1.4 เป้าหมายและตัวบ่งชี้ความสาเจของการนิเทศภายในโรงเรียน 1.5 กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน โดยให้บุคลากรในหน่วยงานมีส่วนร่วมในการ เสนอรายชื่อ เพื่อช่วยแก้ปัญหาการไม่ยอมรับผู้นิเทศได้ระดับหนึ่ง โดยคณะกรรมการประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ประธานกรรมการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กรรมการ ครูวิชาการโรงเรียน หรือผู้ที่ได้รับการคัดเลือกจากคณะครู กรรมการและเลขานุการ 3. ทาความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของผู้นิเทศ และผู้เข้ารับการนิเทศรวมทั้ง ผู้ที่เกี่ยวข้อง จะทาให้ผู้นิเทศสามารถปฏิบัติงานด้วยความสบายใจ ไม่อึดอัด ขณะเดียวกันก็ช่วยขจัดความรู้สึก ขัดแย้งของผู้รับการนิเทศที่มีต่อผู้นิเทศได้ด้วย 3.1 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน 3.1.1 กาหนดเป้าหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน เช่น - ส่งเสริมการปฏิบัติงานและความร่วมมือในการทางานเป็นหมู่คณะ โดยใช้กระบวน การกลุ่มในการปฏิบัติงาน - ส่งเสริมให้ครูรักงานวิชาการ ทางานวิชาการอย่างสม่าเสมอเคารพ ในหลักการและเหตุผลของการปรับปรุงคุณภาพของงาน - ช่วยเหลือให้ครูปฏิบัติงานด้วยความสะดวก มีโอกาสเพิ่มพูนความรู้ ทักษะต่าง ๆ ที่ เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.2 ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียนและเรื่องอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ของครู 3.1.3 กระตุ้นให้ครูเกิดการพัฒนาตนเองอย่างเสมอ เช่น แจ้งข่าวสารความเคลื่อนไหวทาง ทางวิชาการ การไปเยี่ยมชมนิทรรศการของหน่วยงานต่าง ๆ ส่งเสริมให้อ่านวารสารทางวิชาการและการเขียน บทความ 3.1.4 ร่วมมือกับคณะครูดาเนินงานตามขั้นตอนของกระบวนการนิเทศภายใน 3.1.5 สร้างขวัญและกาลังใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ยกย่อง ชมเชยในที่ประชุม นาผลสาเร็จของการปฏิบัติงานมาแสดงให้ปรากฏแก่บุคคลอื่น แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการ ตามความถนัด และเปิดโอกาสให้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่
  • 8. 8 3.1.6 ติดตามประเมินผลและพัฒนาการดาเนินการนิเทศภายใน 3.2 บทบาทหน้าที่ของผู้รับการนิเทศ 3.2.1 ยอมรับบทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศโดยรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและให้ความ ร่วมมือ 3.2.2 ร่วมมือกับผู้นิเทศในการวิเคราะห์ปัญหาและกาหนดแนวทางการแก้ปัญหา 3.2.3 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับการมอบหมายด้วยความจริงใจ และใช้แนวทางที่ได้รับการนิเทศ ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน 4. ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการนิเทศให้แก่คณะกรรมการดาเนินการนิเทศ ภายใน เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดและความขัดแย้งในการนิเทศ ตลอดจนป้องกันมิให้ผู้รับการนิเทศ เกิดความสับสนและอาจไม่ศรัทธาผู้นิเทศและการนิเทศภายใน
  • 9. 9 การประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนาของครู ปีการศึกษา 2564 ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง ความต้องการพัฒนาการเรียนการสอน 1 ครู 2. ครู 3. ครู 4. ครู 5 ครู 6 ครู 7 ครู 8 ครู 9 ครู 10 ครู 11 ครู 12 ครู 13 ครู 14 ครู 15 ครู 16 ครู 17 ครู 18 ครู 19 ครู 20 ครู 21 ครู 22 ครู 23 ครู ตารางที่ 1
  • 10. 10 ประเมินความต้องการในการพัฒนาการศึกษาของครู ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่ต้องการให้สถานศึกษา จัดการศึกษาโดย ยึดนักเรียนเป็นสาคัญ ครูจะต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอน เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ และ สร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยหลักการดังกล่าว โรงเรียนตระหนักถึงความจาเป็นที่ต้องพัฒนาทั้งตัวครู และ ผู้เรียน ให้มีศักยภาพทั้งด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และกระบวนการสร้างความรู้ จึงพยายามจัด ประสบการณ์ให้ครูได้ศึกษาในรูปแบต่างๆ ทั้งด้านเอกสารฝึกอบรม การประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อปรับแนวคิดให้เกิดความเข้าใจต่อการนาไปปฏิบัติ มีการนาผลจากการศึกษา ทดลองปฏิบัติกับนักเรียน และแก้ปัญหาร่วมกัน โรงเรียนได้สอบถามครูเรื่องที่เกี่ยวกับความต้องการพัฒนาด้านต่างๆ ได้ข้อสรุป ซึ่งเป็น ความต้องการพัฒนา ดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. การประเมินผลตามสภาพจริง 3. การวิจัยในชั้นเรียน 4. การสอนโดยโครงงาน 5. การสอนและประเมินตามมาตรฐานและตัวชี้วัด 6. การใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 7. การสอนการคิดวิเคราะห์ 8. การใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น 9. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยเพื่อกาหนดจุดที่จะพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ย ( NT/O-NET) ป.3 , ป.6 , ม.3 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระ/วิชา/ด้าน ชั้น ป. 3 ชั้น ป. 6 ชั้น ม.3 ด้านภาษา - - ด้านคิดคานวณ - - ด้านเหตุผล - - ภาษาไทย - คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - ภาษาอังกฤษ - ตารางที่ 2
  • 11. 11 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกชั้นเรียน ปีการศึกษา 2563 ชั้น ค่าเฉลี่ยร้อยละรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไทย คณิต วิทยฯ สังคมฯ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงาน อังกฤษ ประวัติฯ เฉลี่ย ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 เฉลี่ย ร้อยละของจานวนนักเรียนที่ซ้าชั้น ปีการศึกษา 2563 ชั้น/ห้อง จานวน นักเรียนเข้า สอบ จานวน นักเรียน ซ้าชั้น คิดเป็น ร้อยละ สาเหตุที่ซ้าชั้น เวลาเรียน ไม่พอ ไม่ผ่านเกณฑ์ ผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน ไม่ผ่านเกณฑ์ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ไม่ผ่าน เกณฑ์การ สอบปลายปี ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม ตารางที่ 3
  • 12. 12 วิเคราะห์การไม่ผ่านเกณฑ์ผลการเรียนรู้คาดหวังรายปี กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ แยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้น รวม หมาย เหตุ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ ภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ปีการศึกษา 2563 ชั้นเรียน จานวน นักเรียน ผลการประเมิน หมายเหตุ ไม่ผ่าน ปรับปรุง ดี ดีเยี่ยม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม. 1 ม. 2 ม.3 รวม ตารางที่ 4 ตารางที่ 5
  • 13. 13 ผลการลาดับความสาคัญของปัญหาจากตัวบ่งชี้แต่ละด้าน ปีการศึกษา 2563 ปัญหาด้านคุณภาพ ด้านความต้องการ ผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม ทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ คุณลักษณะของนักเรียนที่ยัง ต้องพัฒนาต่อเนื่อง คือ 1. ความสามารถทางทักษะ ภาษาไทย เรื่องการอ่าน และการเขียน 2. ความสามารถทาง คณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการแก้ โจทย์ปัญหา 4. ความสามารถและทักษะใน การใช้ภาษาอังกฤษ 5. ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 6. ทักษะการแสวงหาความรู้ การมีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน 7. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ครูมีความต้องการที่จะพัฒนาการสอนให้ได้ตาม เกณฑ์มาตรฐาน โดยเสริมจุดเด่นและแก้ไขจุด ด้อย นอกจากนี้ครูยังต้องการพัฒนาทักษะการ สอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ในรูปแบบต่างๆ ประเด็นสาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ความ ต้องการในการจัดการเรียนการสอน โดยสื่อการ สอนเทคโนโลยีให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน การจัดแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการให้ ความรู้แก่นักเรียน นอกจากนี้ ครูยังมีความ ต้องการการศึกษา และฝึกฝนเรื่องการวิจัยในชั้น เรียนเพื่อนาไปแก้ปัญหาข้อบกพร่องของนักเรียน ตารางที่ 6
  • 14. 14 กิจกรรมนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564 นอกจากกิจกรรมการนิเทศเพื่อตอบสนองต่อจุดที่ต้องการพัฒนา ดังรายละเอียดข้างต้นแล้ว คณะกรรมการนิเทศยังได้กาหนดกิจกรรมเสริม เพื่อให้การนิเทศภายในโรงเรียนบรรลุเป้าหมาย จึงได้มีการ กาหนดกิจกรรมอีก 5 กิจกรรม ดังนี้ 1. การประชุมก่อนเปิดภาคเรียน 2. การเยี่ยมชั้นเรียน 3. การสังเกตการสอน 4. การสอนซ่อมเสริม 5. การศึกษาเอกสารทางวิชาการ 6. การให้คาปรึกษา 7. การประชุมทางวิชาการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน ให้ครูสามารถทาการสอนได้ทันทีในวันเปิดเรียนวันแรก 2. เพื่อประเมินผลการดาเนินงานในปีหรือภาคเรียนที่ผ่านมา 3. เพื่อวางแผน/โครงการที่จะดาเนินการในปีหรือภาคเรียนต่อไป เป้าหมาย 1. โรงเรียนมีความพร้อมในการจัดการศึกษาในปีหรือภาคเรียนต่อไป 2. ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้ในทันทีในวันเปิดทาการของปีการศึกษา 3. แผนงาน / โครงการ พร้อมการดาเนินงาน กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน 1. เตรียมการประชุม 1.1 วางแผนการประชุม 1.2 จัดสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก 1.3 เตรียมเอกสารการประชุม 1.4 เตรียมบุคลากร 1. กิจกรรมประชุมก่อนเปิดภาคเรียน
  • 15. 15 2. จัดประชุม ดาเนินการประชุมตามหัวข้อการประชุม ดังนี้ 2.1 การประเมินผลในรอบปี/ภาคเรียน ที่ผ่านมา 2.2 ปัญหา อุปสรรค การดาเนินงานในปี / ภาคเรียนที่ผ่านมา 2.3 โครงการที่จะดาเนินการในปี/ภาคเรียน ต่อไป 2.4 การจัดครูเข้าชั้น/จัดรายวิชา 2.5 งาน/โครงการเร่งด่วนที่ต้องจัดทา ระยะเวลา ตลอดปีการศึกษา สื่อและเครื่องมือ - แผนกาหนดการประชุม - เอกสารต่างๆ เช่น โครงการ หลักสูตร แผนการสอน ฯลฯ - สมุดบันทึกการประชุม การประเมินผล - ติดตามความพร้อมในการปฏิบัติงานในวันเปิดทาการเรียนการสอน ผู้ปฏิบัติ คณะกรรมการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564 1. นายรังสรรค์ สุทารัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 2. นายประจักษ์ ยืนยั่ง รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 3. ................................. กรรมการ 4. ................................. กรรมการ 5. ................................. กรรมการ 6. ................................. กรรมการ 7. ................................. กรรมการ 8. ................................. กรรมการ 9. ................................. กรรมการ 10. ................................. กรรมการ 11. ................................. กรรมการ (ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม 1 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุชื่อ) 12. น.ส.นริสรา ทวีโคตร ครู กรรมการและเลขานุการ
  • 16. 16 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสารวจปัญหาและความต้องการของครู 2. เพื่อให้คาปรึกษาและคาแนะนาแก่ครู 3. เพื่อร่วมกันพัฒนางานของนักเรียนให้เอื้อต่อการเรียนการสอน เป้าหมาย 1. ผู้บริหาร/ครูที่ได้รับการมอบหมาย เยี่ยมชั้นเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง 2. สภาพ บรรยากาศทั้งในและนอกห้องเรียนเอื้อต่อกี่เรียนการสอน 3. ครูและนักเรียนปฏิบัติงานตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมและขั้นตอนดาเนินงาน 1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการเยี่ยมชั้นเรียน 2. กาหนดปฏิทินการเยี่ยมชั้นเรียน 3. ดาเนินการเยี่ยมชั้นเรียน 4. สรุปผล พัฒนา ปรับปรุงแก้ไข ระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1/25624 สิงหาคม 2564 ภาคเรียนที่ 2/2564 พฤศจิกายน 2564 – มกราคม 2565 สื่อและเครื่องมือ แบบบันทึกการเยี่ยมชั้นเรียน การประเมินผล - ประเมินผลจากบันทึกการเยี่ยมชั้นเรียน - การสังเกต สอบถาม โดยการเยี่ยมชั้นเรียนอย่างจริงจัง ผู้ปฏิบัติ - ผู้บริหารโรงเรียน - ครูวิชาการโรงเรียน - คณะกรรมการนิเทศ 2. การเยี่ยมชั้นเรียน
  • 17. 17 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมาปรับปรุงพฤติกรรมการการสอน 2. เพื่อเสริมประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนการสอน 3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการร่วมมือในการทางาน เป้าหมาย 1. คณะกรรมการนิเทศสังเกตการสอนครูแต่ละท่าน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 2. ครูทุกคนมีการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน - ประชุมวางแผนเพื่อกาหนดหัวข้อการสังเกตการสอน - ชี้แจงทาความเข้าใจถึงความจาเป็นที่ต้องมีการสังเกตการสอน - กาหนดปฏิทินและบุคลากรเพื่อสังเกตการสอน - ดาเนินการสังเกตการสอน - ประเมินผล ระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1/2564. กรกฎาคม - สิงหาคม 2564 ภาคเรียนที่ 2/2564 ธันวาคม 2564 – มกราคม 2565 ประเมินผล สังเกตการสอน และพิจารณาความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 3. การสังเกตการสอน
  • 19. 19 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่ขาดเรียนและเรียนอ่อน 2. เพื่อลดอัตราการตกซ้าชั้น 3. เพื่อเสริมนักเรียนที่เรียนดีให้ดียิ่งขึ้น เป้าหมาย 1. นักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมมีพัฒนาการทางด้านการเรียนดีขึ้น ขั้นตอนและวิธีดาเนินงาน 1. คณะครูร่วมกันวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 2. จัดทา/จัดหาสื่อเพื่อใช้สอนซ่อมเสริม 3. ดาเนินการซ่อมเสริมตามตารางกาหนด 4. สรุปผลการสอนซ่อมเสริม ระยะเวลา เดือน สิงหาคม 2564 – เดือน มกราคม 2565 สื่อและเครื่องมือ 1.แบบฝึกตามรายตัวชี้วัดที่นักเรียนมีผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ 2.ข้อทดสอบ O – net ปีการศึกษาต่าง ๆ ประเมินผล สังเกตการสอน และพิจารณาความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ผู้ปฏิบัติ คณะครูทุกคน 4. การสอนซ่อมเสริม
  • 20. 20 แผนนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศ การประชุมก่อนเปิดภาคเรียน วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอน ระยะเวลา สื่อ /เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ ประเมินผล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ครูรับทราบ นโยบายและแนวทาง ปฏิบัติงานวิชาการของ โรงเรียน 2.เพื่อให้บุคลากรของ โรงเรียนปฏิบัติงานได้ถูกต้อง โดยเฉพาะการยึดเด็กเป็น สาคัญ 3.เพื่อทราบปัญหาอุปสรรค และหาแนวทางแก้ปัญหา เป้าหมาย 1.โรงเรียนจัดการประชุมก่อน เปิดภาคเรียนเพื่อเตรียม ความพร้อมทุกภาคเรียน 2.ครูทุกคนจัดทาเอกสารและ มีความพร้อมทุกด้านก่อนเปิด ภาคเรียน 1.เตรียมการประชุม 1.1 วางแผน 1.2 จัดสถานที่ 1.3 เตรียมเอกสาร การประชุม 2. จัดประชุม 2.1 ชี้แจงนโยบาย และ แนวทางการปฏิบัติ งานด้านวิชาการ 2.2 ร่วมกันสรุป ปัญหาอุปสรรคในการ ปฏิบัติงาน 2.3 ร่วมกันพิจารณา แนวทางแก้ปัญหา โดยเฉพาะเรื่องการ สอนโดยยึดเด็กเป็น สาคัญและเทคนิคอื่นๆ 2.4 ชี้แจงแนะนางาน วิชาการ - การจัดชั้นเรียน - การจัดครูเข้าสอน แทน - การจัดทาแผนการ สอน - การจัดทาปฏิทินการ ปฏิบัติงาน ภาคเรียน ที่ 1 พ.ค. 2564 ภาคเรียน ที่ 2 พ.ย. 2564 เอกสารการ ประชุม เครื่องมือเครื่องใช้ ที่จาเป็น ผู้อานวยการ 1.สอบถาม โดยใช้แบบ สอบถาม 2.ตรวจเอกสารที่ ปฏิบัติประจา 3.ติดตามการจัด ตารางเรียนและ การจัดครูเข้าสอน
  • 21. 21 แผนนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศ การเยี่ยมชั้นเรียน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอน ระยะเวลา สื่อ เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ ประเมินผล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสารวจปัญหา และความต้องการ ของครู 2.เพื่อให้คาปรึกษา แนะนาการ ปฏิบัติงานแก่ครู 3.เพื่อให้ครูวิเคราะห์ การทางานของ ตนเองได้ 4.เพื่อกระตุ้นให้ครู ปรับปรุงห้องเรียน ตามเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมาย เยี่ยมชั้นเรียนภาค เรียนละ 1 ครั้ง/ ห้องเรียน 1.สร้างข้อตกลงในการ เยี่ยมชั้น เรียน 2.สร้างความคุ้นเคยและ เจตคติที่ ดีในการนิเทศ 3.วางแผนการเยี่ยมชั้น เรียน ร่วมกับครูในเรื่อง ต่างๆ กาหนดข้อตกลง 3.1 กาหนดการเยี่ยมชั้น เรียนของแต่ละภาคเรียน 3.2 กาหนดจุดมุ่งหมาย ในการ เยี่ยมชั้นเรียน - สารวจปัญหาความ ต้องการ - ดูเอกสารประจา ห้องเรียน - พูดคุยกับครู นักเรียน - การจัดบรรยากาศใน ห้องเรียน 4.เยี่ยมชั้นเรียนตามที่ กาหนด 5. สรุปผลการเยี่ยมชั้น เรียน มิ.ย. 2564 พ.ย. 2564 - แบบสารวจ - แบบสอบถาม -บันทึกการ เยี่ยมชั้นเรียน คณะกรรมการ นิเทศ 1.สอบถาม ความพึงพอใจ ครู นักเรียน 2.ติดตาม ประเมินการ ทางานของครู 3.สังเกต พฤติกรรมของ นักเรียน 4.สังเกตการจัด บรรยากาศ ห้องเรียน
  • 22. 22 แผนนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศ การสอนซ่อมเสริม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอน ระยะเวลา สื่อ เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ ประเมินผล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสอนซ่อมเสริม นักเรียนที่ขาดเรียน และเรียนอ่อน 2.เพื่อเสริมนักเรียนที่ เรียนดีให้ดียิ่งขึ้น เป้าหมาย นักเรียนที่ได้รับ การสอนซ่อมเสริมมี พัฒนาการทางด้าน การเรียนดีขึ้น 1.0 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 1.1 ล 1.คณะครูร่วมกัน วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของ นักเรียน 2.จัดทา/จัดหาสื่อเพื่อใช้ สอนซ่อมเสริม 3.ดาเนินการซ่อมเสริม ตามตารางกาหนด 4.สรุปผลการสอนซ่อม เสริม ส.ค.2564 ถึง ม.ค. 2565 1.แบบฝึก ตามราย ตัวชี้วัดที่ นักเรียนมีผล การเรียนต่า กว่าเกณฑ์ 2.ข้อทดสอบ O – net ปี การศึกษา ต่าง ๆ ครูวิชาการ/ ครูประจาชั้น/ วิชา 1.สังเกต พฤติกรรมการ สอนของครู 2.พิจารณา ความก้าวหน้า ด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ของนักเรียน
  • 23. 23 แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศ สังเกตการสอน วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอนดาเนินงาน ระยะเวลา สื่อ เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ ประเมินผล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อนาข้อมูลที่ได้ จากการสังเกตมา ปรับปรุงพฤติกรรม การการสอน 2.เพื่อเสริม ประสิทธิภาพการจัด กระบวนการเรียน การสอน 3.เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีใน การร่วมมือในการ ทางาน 1.สร้างข้อตกลงและเจตคติ ที่ดีในการสังเกตการสอน 2.กาหนดปฏิทินดาเนินงาน และมอบหมายบุคลากร ผู้ร่วมนิเทศ 3. ดาเนินการนิเทศ 4. ประเมินผล ส.ค. 2564. ธ.ค. 2564 ถึง ม.ค.2565 - แบบ สังเกตการ สอน ผู้บริหารและ คณะกรรมการ นิเทศ 1 สังเกต 2. ตรวจ แผนการสอน 3.สอบถาม
  • 24. 24 แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศ การศึกษาเอกสารทางวิชาการ วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอน ดาเนินงาน ระยะเวลา สื่อ เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ ประเมินผล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้บุคลากรใน โรงเรียนได้รับความรู้ และประสบการณ์ จากการศึกษา เอกสารทางวิชาการ 2.เพื่อให้บุคลากรมี วิสัยทัศน์กว้างไกล 3.เพื่อเพิ่มพูน ประสบการณ์และ เพิ่มประสิทธิภาพการ ทางาน เป้าหมาย 1.มอบหมายครูศึกษา เอกสารทางวิชาการ คนละ 1 เรื่อง/ เดือน 2. ครูทุกคนนา ความรู้ที่ได้รับมา ปรับปรุงการทางาน ให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด 1.สร้างข้อตกลงใน การศึกษาเอกสารทาง วิชาการ 2.สร้างความคุ้นเคยและ เจตคติที่ดีในการนิเทศ 3.กาหนดจุดมุ่งหมายใน การศึกษาตาราและ เอกสารทางวิชาการ 1) ครูทุกคนศึกษา เอกสารทางวิชาการ คนละ 1 เรื่อง / เดือน 2) สรุปสาระสาคัญ เตรียมนาเสนอที่ ประชุมครู ประจาเดือน คน / ครั้ง 3) วิเคราะห์สรุปผล การศึกษาเอกสาร ทางวิชาการ พ.ค. 2564 พ.ค. 2564 พ.ค. 2564 พ.ค. 2564 ถึง ก.พ.2565 พ.ค. 2564 ถึง ก.พ.2563 มี.ค 2565 - เอกสาร ตารา - เอกสาร ทางวิชาการ คณะกรรมการ นิเทศ 1สอบถาม ความพึงพอใจ ของการศึกษา เอกสารทาง วิชาการ 2. ติดตามการ ทางานของครู
  • 25. 25 แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศ การให้คาปรึกษา วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอน ดาเนินงาน ระยะเวลา สื่อ เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ ประเมินผล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ครู ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. เพื่อช่วยในการแนะ แนวทางการปฏิบัติงาน และแก้ไขปัญหาการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ 3.เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกาลังใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร ในโรงเรียน เป้าหมาย 1.ครูทุกคนได้รับการให้ คาปรึกษา 2.ครูทุกคนสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. บุคลากรทุกคนใน โรงเรียนมีขวัญและ กาลังใจที่ดีในการ ปฏิบัติงาน 1.จัดกิจกรรมสร้าง ความคุ้นเคยกับคณะครูใน โรงเรียน 2.ดาเนินการให้คาปรึกษา 2.1 สนทนา ซักถาม ปัญหาการปฏิบัติงานและ การจัดการเรียนการสอน 2.2 ให้คาแนะนาและ แก้ไขปัญหา 2.3 สาธิต/ให้คาแนะนา การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน 3. บันทึกรายละเอียดการให้ คาปรึกษา 4. ติดตามประเมินผลการให้ คาแนะนาปรึกษา 5. สรุปรายงานผลการให้ คาปรึกษา 20 พ.ค. 64 ตลอดปี การศึกษา “ “ “ “ “ มี.ค. 65 1.แบบบันทึก การให้ คาปรึกษา 2. แบบบันทึก การติดต่อกับ ผู้ปกครอง ผู้อานวยการ คณะกรรม การนิเทศ 1. ตรวจสอบจาก สมุดบันทึก การให้คาปรึกษา 2. บันทึกการเยี่ยม ชั้นเรียน
  • 26.
  • 27. 27 ปฏิทินการปฏิบัติงานตามแผนการดาเนินการนิเทศภายใน กิจกรรมการให้คาปรึกษา โรงเรียนร่มเกล้า กิจกรรม ว/ด/ป ที่ ปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ หมายเหตุ 1. การจัดทาแผนการนิเทศเพื่อ การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและ ความต้องการ 2. การจัดกิจกรรมสร้างความคุ้นเคย ด้วยการเยี่ยมชั้นเรียน 3. การให้คาแนะนาในการจัดห้องเรียน ตามมาตรฐานงานธุรการ 4. การให้คาแนะนาการลงคะแนนใน สมุดบันทึกการผ่านจุดประสงค์ 5. การให้คาแนะนาการสอนซ่อมเสริม และทาหลักฐานบันทึกการสอนซ่อม เสริม 6. แนะนาการบันทึกการตรวจสมุดงาน นักเรียน และการตรวจสุขภาพ นักเรียน 7. แนะนาการจัดทาแบบกรอกคะแนน การสอบปลายภาคเรียน การคิด คะแนน 8. แนะนาวิธีการสอนและการใช้สื่อการ สอน 9. แนะนาการใช้ห้องปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์ ทางภาษา ห้อง คอมพิวเตอร์ 10. แนะนาการจัดทาหลักฐานการ ทดสอบปลายภาค การสรุปแผนงาน โครงการ 11. สรุปผลการให้คาปรึกษา 15 พ.ค. 64 16 พ.ค. 64 มิ.ย. 64 มิ.ย. 64 มิ.ย. 64 มิ.ย. 64 ก.ค. 64 ก.ค. 64 ก.ค. 64 ส.ค. 64 มี.ค. 64 ผู้อานวยการ คณะกรรมการนิเทศ การให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล ดาเนินการเมื่อไปเยี่ยมชั้นเรียนเมื่อครู หรือบุคลากรในโรงเรียนมีข้อสงสัย ต้องการคาชี้แนะหรือมีปัญหาในการ ปฏิบัติงานหรือเรื่องส่วนตัว
  • 28. 28 แผนการนิเทศภายในโรงเรียน ร่มเกล้า ปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศ การประชุมทางวิชาการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการ/ขั้นตอน ดาเนินงาน ระยะเวลา สื่อ เครื่องมือ ผู้ปฏิบัติ วิธีการ ประเมินผล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าและพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การวัดผล ประเมินผล 2.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจเทคนิค วิธีการจัดการเรียนการ สอนและแนวทางในการ ปฏิบัติงานแก่คณะครูใน โรงเรียน เป้าหมาย 1.จัดให้มีการประชุมเชิง วิชาการเดือนละ 1 ครั้ง 2.ให้ครูมีความรู้ความ เข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การวัดผล เพื่อ นาไปพัฒนาการเรียน การสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ คณะทางานฝ่ายวิชาการและ งานนิเทศภายในโรงเรียน จัดให้มีกิจกรรมประชุมเชิง วิชาการ ดังนี้ 1.เตรียมเอกสาร วาระการ ประชุม 2.เตรียมข้อมูล สาระที่ต้อง นาเสนอ 3.บันทึกการประชุม 3.1เลือกผู้นาสนทนาทาง วิชาการประจาเดือน 3.2 กาหนดเรื่องที่จะ สนทนา 3.3 ประเมินผลการ ประชุม พ.ค. 2564 – มี.ค. 2565 1.สมุดบันทึก การประชุม เชิงวิชาการ 2.รายงานผล การประชุม ผู้อานวยการ 1. สังเกตการ เข้าร่วม ประชุม 2. สังเกตการ ซักถาม การ ตอบคาถาม 3. การตรวจ รายงานการ ประชุม
  • 30. 30 1. มีการประชุมของผู้ปฏิบัติงานและบันทึกเพื่อประเมินโครงการใช่หรือไม่ มี ไม่มี เพราะ……………………………………………………………………………………… 2. ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้นเพียงใด มีความรู้ความเข้าใจดี ไม่แน่ใจ เพราะ……………………………………………………………………………………. 3. การปฏิบัติงานสาเร็จตามเวลาของโครงการหรือไม่ สาเร็จตามเวลาที่กาหนด ไม่เป็นไปตามเวลา ข้อกาหนด เพราะ…………………………………………………………… 4. ผลการปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ทุกข้อของโครงการหรือไม่ ครบทุกข้อ ไม่ครบทุกข้อ ข้อที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ คือ……………………………………………………… 5. โครงการนี้ส่งผลประโยชน์แก่นักเรียนเพียงใด เกิดประโยชน์มาก ไม่เกิดประโยชน์ เพราะ…………………………………………………………………………….. 6. ผลของโครงการทั้งปริมาณและคุณภาพเป็นที่น่าพอใจของทุกฝ่ายหรือไม่ เป็นที่น่าพอใจ ไม่น่าพอใจ เพราะ………………………………………………………………………………….. 7. ผู้ร่วมปฏิบัติงานตามโครงการส่วนมากมีความเห็นอย่างไร ต้องการให้มีโครงการนี้อีก ไม่ต้องการให้มีโครงการนี้อีก เพราะ……………………………………………………………….. 8. ผู้นิเทศมีความเห็นต่อโครงการอย่างไร ต้องการให้มีโครงการนี้อีก ไม่ต้องการให้มีโครงการนี้อีก เพราะ………………………………………………………………. 9. ผู้รับการนิเทศมีความเห็นต่อโครงการอย่างไร ให้ความสนใจการดาเนินการตลอด ให้ความสนใจบางขณะ เพราะ……………………………………………………………………. ไม่ให้ความสนใจ เพราะ…………………………………………………………………………… 10. ผู้บริหารโรงเรียนให้ความสนใจในการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียนมากน้อย เพียงใด ให้ความสนใจในการดาเนินการโดยตลอด ให้ความสนใจบางขณะ เพราะ…………………………………………………………………. ไม่ให้ความสนใจ เพราะ………………………………………………………………………… แบบประเมินโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
  • 31. 31 11. กระบวนการทางานส่งผลต่อความสาเร็จของโครงงานอย่างไร มีประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ เพราะ……………………………………………………………………. 12. งบประมาณและสิ่งอานวยความสะดวกที่ได้รับจากโรงเรียนเหมาะสมเพียงใด เหมาะสม ไม่เหมาะสม เพราะ………………………………………………………………………………. 13. สื่อ และเครื่องมือ วิธีการนิเทศถูกนามาใช้บ้างหรือไม่ ใช้ ไม่ใช้ เพราะ……………………………………………………………………………………….
  • 32. 32 แบบบันทึกการตรวจเยี่ยมชั้นเรียน โรงเรียน ร่มเกล้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ชั้น................................................. วันที่ ............. เดือน........................... พ.ศ. ……….. (ครั้งที่….. /2564 ) รายการ การดาเนินการ หมายเหตุ ปฏิบัติแล้ว หรือเป็นปัจจุบัน กาลังปฏิบัติ หรือไม่เป็นปัจจุบัน ยังไม่ปฏิบัติ 1. ความสะอาด เป็นระเบียบของห้องเรียน 2. น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน 3. จัดแสดงสาระการเรียนรู้ 8 สาระ 4. เอกสารงานธุรการ ปพ..ต่างๆ 5. ผลิตสื่อ/ใช้สื่อการสอน 6. ระเบียนสะสม บัตรสุขภาพ 7. บันทึกการสอนซ่อมเสริม 8. แฟ้มสะสมงานนักเรียน 9. บันทึกน้าหนักส่วนสูงของนักเรียน 10. ตารางสอน 11. มุมวิชาการ (ส่งเสริมการอ่าน) 12. ป้ายชั้นเรียน 13. ป้ายครูประจาชั้น 14. ชื่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน 15. สถิติการมาเรียนของนักเรียน 16. ข้อตกลงประจาห้องเรียน 17. เครื่องหมายแสดง 3 สถาบัน 18. มุมแก้วน้า แปรงสีฟัน 19. วัน เดือน ปี 20 มุมสบาย หรือมุมพักผ่อน ลงชื่อ………………………….……………...ผู้รายงาน (.........................................................) ตาแหน่ง...................................................
  • 33. 33 แบบสังเกตพฤติกรรมการสอนของครู โรงเรียน ร่มเกล้า ชื่อ……………………………………………ชั้น……………………จานวนนักเรียน…………….คน ครั้งที่ 1 วันที่…………..เดือน…………………พ.ศ………….กลุ่ม/วิชา………………………………. ครั้งที่ 2 วันที่…………..เดือน…………………พ.ศ………….กลุ่ม/วิชา………………………………. รายการพฤติกรรมที่สังเกต พฤติกรรมการสอนของครู ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ทา ไม่ทา ทา ไม่ทา การเตรียมการสอน 1. จัดทาแผนการสอน ตามขั้นตอนอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง 2. เตรียมสื่อการสอนสอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหา 3. แบบประเมินผลการเรียนสอดคล้องกับจุดประสงค์ และเนื้อหา 4. นักเรียนมีส่วนร่วมในการเตรียมการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 5. บอกจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนสอน 6. จัดกิจกรรมได้สอดคล้องกับเนื้อหาที่สอน 7. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างทั่วถึง 8. มอบหมายงานให้นักเรียนทาตามความสามารถ 9. ส่งเสริมให้นักเรียนทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม 10.มีการส่งเสริมนักเรียนที่เรียนช้า และส่งเสริมนักเรียนที่เรียนเร็ว การใช้สื่อการสอน 11. ใช้สื่อได้สอดคล้องกับจุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม 12. สื่อที่ใช้ชัดเจน และเร้าความสนใจของนักเรียน 13. นักเรียนได้ศึกษาและใช้สื่อการสอนอย่างใกล้ชิด ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….ผู้นิเทศ (...............................................)
  • 34. 34 แบบสารวจความต้องการพัฒนาของครู โรงเรียน ร่มเกล้า ชื่อ...................................................... รายการความต้องการพัฒนา ระดับความต้องการ 3 2 1 1. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับหลักสูตร 1.1 การจัดทาแผนการสอน โดยมีองค์ประกอบครบถ้วน 1.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ 1.3 การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 1.4 การพัฒนาหลักสูตร 1.5 การสอนและประเมินตามมาตรฐานและตัวชี้วัด 1.6 อื่น ๆ........................................................................... 2. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ 2.1 การทาผลงานทางวิชาการ 2.2 การสอนโดยโครงงาน 2.3 การทาวิจัยในชั้นเรียน 2.4 การสอนการคิดวิเคราะห์ 2.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 2.6 การใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 2.7 การศึกษาดูงาน 2.8 อื่นๆ............................................................................ 3. การพัฒนาโรงเรียน 3.1 พัฒนาอาคารสถานที่ และภูมิทัศน์ 3.2 พัฒนาด้านแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน 3.3 พัฒนาด้านพื้นฐานทักษะอาชีพ 3.4 อื่นๆ............................................................................... 4. การพัฒนานักเรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.2 สมรรถนะทางการเรียน 1.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1.4 ด้านสุขภาพอนามัย 1.5 อื่นๆ............................................................................... 5. การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 5.1 การศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 5.2 การบริการวิชาการแก่ชุมชน 5.3 ........................................................................................
  • 35. 35 แบบสรุปและประเมินความต้องการพัฒนาของครู โรงเรียนร่มเกล้า รายการความต้องการพัฒนา ระดับความต้องการ คะแนน รวม เฉลี่ย ร้อยละ ลาดับ ที่ 3 2 1 1. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับหลักสูตร 1.1 การจัดทาแผนการสอน โดยมีองค์ประกอบครบถ้วน 1.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ 1.3 การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 1.4 การพัฒนาหลักสูตร 1.5 การสอนและประเมินตามมาตรฐานและตัวชี้วัด 1.6 อื่น ๆ........................................................................... 2. การพัฒนาตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ 2.1 การทาผลงานทางวิชาการ 2.2 การสอนโดยโครงงาน 2.3 การทาวิจัยในชั้นเรียน 2.4 การสอนการคิดวิเคราะห์ 2.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 2.6 การใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 2.7 การศึกษาดูงาน 2.8 อื่นๆ............................................................................ 3. การพัฒนาโรงเรียน 3.1 พัฒนาอาคารสถานที่ และภูมิทัศน์ 3.2 พัฒนาด้านแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน 3.3 พัฒนาด้านพื้นฐานทักษะอาชีพ 3.4 อื่นๆ............................................................................... 4. การพัฒนานักเรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.2 สมรรถนะทางการเรียน 1.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1.4 ด้านสุขภาพอนามัย 1.5 อื่นๆ......................................................................... 5. การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 5.1 การศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 5.2 การบริการวิชาการแก่ชุมชน 5.3 ....................................................................................
  • 36. 36 แบบประเมินผล การนิเทศภายใน กิจกรรมประชุมเชิงวิชาการ โรงเรียนร่มเกล้า รายการ คะแนน ข้อเสนอแนะ 5 4 3 2 1 1. ครูมีการพัฒนางานในหน้าที่เพิ่มขึ้น 2. จานวนครั้งของการประชุมเชิงวิชาการ 3. ครูให้ความร่วมมือ และสนใจการประชุม 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น 5. ครูแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน รวม ลงชื่อ…………………………………………………ผู้ประเมิน (……………………………………………….) ตาแหน่ง…………………………………………… วันที่……….เดือน…………………….พ.ศ…………..
  • 37. 37 ปฏิทินปฏิบัติงานนิเทศภายใน “60 วันสู่ความสาเร็จ NT /O–Net เป็นเลิศ” โรงเรียน ร่มเกล้า ที่ วัน เดือน ปี รายการปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 15 พ.ย. 2564 ประชุมชี้แจง จัดทาปฏิทินปฏิบัติงาน ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 -กาหนดเรื่องที่จะนิเทศ -กาหนดบุคคลออกนิเทศ/ผู้รับการนิเทศ -กาหนดแนวทาง/วิธีการนิเทศ -จัดทาเครื่องมือ/สื่อที่ใช้นิเทศ -แนวทางสรุปและเสนอผลการนิเทศ ผู้บริหารและ คณะครู 2 19 พ.ย.2564 นาแผนยกระดับมาวิเคราะห์ตามราย มาตรฐานและตัวชี้วัด -สรุปผลการวิเคราะห์ -นาผลมาสร้างแนวทาง/เครื่องมือเพื่อ พัฒนารายตัวชี้วัด -ดาเนินการพัฒนาตามรายตัวชี้วัด -สรุปผล ครูวิชาการ/ ครูประจาวิชา 3 1 ธ.ค… 2564 เป็นต้นไป สอนเต็มกาลังตามตัวชี้วัด -วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์รายมาตรฐานและ ตัวชี้วัด -จัดทาแผนการสอนแก้ปัญหาตัวชี้วัดที่ ผลสัมฤทธิ์ต่า -สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลให้ สอดคล้องกับตัวชี้วัด ครูประจาวิชา 4 ทุกวันทาการ สอนซ่อมเสริม -จัดหาข้อสอบที่สอดคล้องกับ สพฐ./ สทศ. -จัดติวแนวข้อสอบรายมาตรฐานและ ตัวชี้วัด -รายงานผลการสอนซ่อมเสริม ครูประจาวิชา
  • 38. 38 คาสั่งโรงเรียนร่มเกล้า ที่ /2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564 -------------------------------------------- ด้วยโรงเรียนได้ดาเนินงานตามโครงการนิเทศการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามแผนปฏิบัติการ ประจาปี ปีการศึกษา 2564 เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพภายในให้ ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนและผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องมีความมั่นใจในคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน จึงแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน ปี การศึกษา 2564 ดังต้อไปนี้ 1. นายรังสรรค์ สุทารัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 2. นายประจักษ์ ยืนยั่ง รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 3. ................................. กรรมการ 4. ................................. กรรมการ 5. ................................. กรรมการ 6. ................................. กรรมการ 7. ................................. กรรมการ 8. ................................. กรรมการ 9. ................................. กรรมการ 10. ................................. กรรมการ 11. ................................. กรรมการ (ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม 1 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุชื่อ) 12. น.ส.นริสรา ทวีโคตร ครู กรรมการและเลขานุการ ให้มีหน้าที่ ปฏิบัติตามแผนการนิเทศภายใน ปีการศึกษา 2564 สั่ง ณ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ( นายรังสรรค์ สุทารัมย์ ) ผู้อานวยการโรงเรียนร่มเกล้า