SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
หนังสือเรียน​รายวิชาพื้นฐาน​
สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปที่​2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด​สาระภูมิศาสตร์​(ฉบับปรับปรุง​พ.ศ.​2560)
กลุมสาระการเรียนรู้สังคม​ศึกษา​ศาสนา​​และ​วัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกน​กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน​พุทธศักราช​2551
ป. 2
ผู้เรียบเรียง
สมพร อ่อนน้อม พธ.บ. (เกียรตินิยม), นศ.บ.
กุสุมาวดี ชัยชูโชติ ศ.บ., ศ.ม.
พงษ์ศักดิ์ แคล้วเครือ ศศ.บ. (เกียรตินิยม), ร.ม.
จุลพงษ์ อุดมพรพิบูล วท.บ., วท.ม.
บุญรัตน์ รอดตา ศษ.บ
ผู้ตรวจ
รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล กศ.บ., กศ.ม., M.A., Ph.D.
ดร.สิริรัตน์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์ ศศ.บ., กศ.ม., วท.ด.
สายพิณ ตันสิริ กศ.บ., ค.ม.
บรรณาธิการ
สุระ ดามาพงษ์ กศ.บ., กศ.ม.
ประจวบ ตรีภักดิ์ พธ.บ., สส.ม.
นฤชภรณ์ กมลนฤเมธ ศศ.บ.
หนังสือเรียน​รายวิชาพื้นฐาน​
สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปที่ 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
กลุมสาระการเรียนรูสังคม​ศึกษา ศาสนา​และ​วัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกน​กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ป. 2
ผู้เรียบเรียง
สมพร อ่อนน้อม
กุสุมาวดี ชัยชูโชติ
พงษ์ศักดิ์ แคล้วเครือ
จุลพงษ์ อุดมพรพิบูล
บุญรัตน์ รอดตา
ผูตรวจ
รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล
ดร.สิริรัตน์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์
สายพิณ ตันสิริ
บรรณาธิการ
สุระ ดามาพงษ์
ประจวบ ตรีภักดิ์
นฤชภรณ์ กมลนฤเมธ
ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2562
พิมพ์ครั้งที่ 1
จำ�นวน 30,000 เล่ม
ISBN 978-974-18-7477-4
พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์วัฒนาพานิช จำ�กัด นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผู้จัดการ
	 สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย
	 หามละเมิด ทำ�​ซ้ำ� ดัดแปลง เผยแพร
	 สวน​หนึ่ง​สวน​ใด เวนแต​จะ​ได​รับ​อนุญาต
B
คํานํา
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2
เลมนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีเปาหมายให้นักเรียนและครูใช้เปนสื่อ
ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่หลักสูตร
กําหนด พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะตามที่ต้องการทั้งด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปญหา
การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค
เพื่อให้สามารถอยูรวมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกได้อยางมีความสุข
ในการจัดทําหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเลมนี้ คณะผู้จัดทําซึ่งเปนผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา
และการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ได้ศึกษาหลักสูตรอยางลึกซึ้ง ทั้งด้านวิสัยทัศน หลักการ จุดหมาย
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้ง
เอกสารหลักสูตรอื่น ๆ แล้วจึงออกแบบหนวยการเรียนรู้ แตละหนวยการเรียนรู้ประกอบด้วย
ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู้ ประโยชนจากการเรียนรู้ คําถามนํา เนื้อหาสาระแตละเรื่อง
แตละหัวข้อ คําสําคัญ เรื่องนารู้ แหลงสืบค้นความรู้ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ บทสรุป กิจกรรม
เสนอแนะ การประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน คําถามทบทวน และท้ายเลมยังมีบรรณานุกรมและ
อภิธานศัพท ซึ่งองคประกอบของหนังสือเรียนเหลานี้จะชวยสงเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
อยางครบถ้วนตามหลักสูตร
การเสนอเนื้อหา กิจกรรม และองคประกอบอื่น ๆ ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเลมนี้มุงเน้น
ผู้เรียนเปนสำคัญ โดยคำนึงถึงศักยภาพของนักเรียน เน้นการเรียนรู้แบบองครวมบนพื้นฐานของ
การบูรณาการแนวคิดทางการเรียนรู้อยางหลากหลาย จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเน้นให้นักเรียน
สร้างองคความรู้ด้วยตนเอง มุงพัฒนาการคิด และพัฒนาการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการ
ทางสมองของนักเรียน อันจะชวยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อยางสมบูรณและสามารถนำไปประยุกต
ใช้ในชีวิตประจำวันได้
หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลมนี้ จะชวยพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนตามหลักสูตรได้เปนอยางดี
คณะผูจัดทำ
1. ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู แสดงขอบขายเนื้อหา
ในหนวยการเรียนรู้
3. คําถามนํา เปนคําถามที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิด
ความสนใจต้องการที่จะค้นหาคําตอบ
6. บทสรุป เปนการสรุปเนื้อหาหลังจากจบเนื้อหาและ
กิจกรรมของแตละหนวยการเรียนรู้
7. กิจกรรมเสนอแนะ เปนกิจกรรมบูรณาการทักษะ
ที่รวบรวมหลักการและความคิดรวบยอดในเรื่องตาง ๆ
ที่นักเรียนได้เรียนรู้มาไปประยุกตในการปฏิบัติกิจกรรม
8. การประยุกต์ใชในชีวิตประจําวัน เปนตัวอยางสถานการณ
การประยุกตใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้นักเรียนนําไป
ประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน ซึ่งมีกิจกรรมหรือคําถาม
ให้นักเรียนทํา
9. คําถามทบทวน เปนคําถามแบบอัตนัยที่มุงถาม
เพื่อทบทวนผลการเรียนรู้ของนักเรียน
2. ประโยชน์จากการเรียนรู สรุปประโยชนที่ได้จาก
การเรียนรู้ในหนวยการเรียนรู้เปนประเด็นสั้น ๆ
5. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู เปนกิจกรรมที่กําหนดให้ทํา
เมื่อจบเนื้อหาที่แบงให้เหมาะสมสําหรับการเรียนแตละ
ครั้ง เปนกิจกรรมที่หลากหลาย ใช้แนวคิดทฤษฎีตาง ๆ
ให้สอดคล้องกับเนื้อหา เหมาะสมกับวัย สะดวกในการ
ปฏิบัติ กระตุ้นให้นักเรียนได้คิด และสงเสริมการศึกษา
ค้นคว้า
4. เนื้อหา แบงเปนหัวเรื่องหลัก หัวเรื่องรอง และหัวข้อยอย ตรงตามตัวชี้วัดชั้นป มีกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้แทรก
เปนชวง ๆ เนื้อหาบางตอนอาจนําเสนอด้วยภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ แผนที่ความคิด และประกอบด้วยสวนอื่น ๆ ดังนี้
4.1 คําสําคัญ ระบุคําสําคัญที่แทรกอยูในเนื้อหาโดยการเน้นสีของคําไว้ตางจากตัวพื้น คําสําคัญนี้จะใช้ตัวเน้น
เฉพาะคําที่ปรากฏคําแรกในเนื้อหา ไมเน้นคําที่เปนหัวข้อ
4.2 ภาพประกอบ พร้อมคําบรรยายสอดคล้องกับเนื้อหา
4.3 แผนภูมิ ตาราง แผนที่ แผนที่ความคิด สอดคล้องกับเนื้อหา
4.4 เรื่องนารู เปนความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องที่ได้ศึกษาในหนวยการเรียนรู้นั้น ๆ โดยคัดสรรเฉพาะเรื่องที่นักเรียน
ควรรู้
10. ทายเลม ประกอบด้วยบรรณานุกรมและอภิธานศัพท
10.1 บรรณานุกรม เปนรายชื่อหนังสือ เอกสาร เว็บไซต ที่ใช้ประกอบการเขียน
10.2 อภิธานศัพท์ เปนการนําคําสําคัญที่แทรกอยูในเนื้อหามาอธิบายและจัดเรียงตามลําดับตัวอักษรเพื่อสะดวก
ในการค้นคว้า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลมนี้
ได้ออกแบบเปนหนวยการเรียนรู้ แตละหนวยการเรียนรู้ประกอบด้วย
คําชี้แจง
สารบัญ
หนวยการเรียนรูที่ 1 พระพุทธ..................1
1. ความสำคัญของพระพุทธศาสนา............2
2. พุทธประวัติ .....................................4
3. ชาดก.............................................9
Jบทสรุป................................................13
Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................14
Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............14
Jคำถามทบทวน......................................14
หนวยการเรียนรูที่ 2 พระธรรม............... 15
1. พระรัตนตรัย ................................. 16
2. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ............ 17
3. พุทธศาสนสุภาษิต ........................... 23
4. การกระทำความดีของตนเองและบุคคล
ในครอบครัวและโรงเรียน………………. 24
5. ศาสดาและคัมภีร์ของศาสนาตาง ๆ....... 27
Jบทสรุป................................................29
Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................30
Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............30
Jคำถามทบทวน......................................30
หนวยการเรียนรูที่ 3 พระสงฆ์ ................ 31
1. พุทธสาวก ..................................... 32
2. ชาวพุทธตัวอยาง............................. 35
Jบทสรุป................................................39
Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................39
Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............40
Jคำถามทบทวน......................................40
หนวยการเรียนรูที่ 4 การปฏิบัติตนดี ........ 41
1. มารยาทชาวพุทธ............................. 42
2. ศาสนพิธี....................................... 47
3. การทำจิตใจใหผองใสบริสุทธิ์……………….50
Jบทสรุป................................................55
Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................56
Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............56
Jคำถามทบทวน......................................56
หนวยการเรียนรูที่ 5 พลเมืองดี............... 57
1. การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ............... 58
2. มารยาทไทย................................... 60
3. ความสัมพันธ์ระหวางตัวเราและสมาชิก
ในครอบครัวกับชุมชน ...................... 62
Jบทสรุป................................................63
Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................63
Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............64
Jคำถามทบทวน......................................64
หนวยการเรียนรูที่ 6 สิทธิ เสรีภาพ.......... 65
1. สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล................ 66
2. การยอมรับความแตกตางของบุคคล...... 68
3. บทบาทและอำนาจในการตัดสินใจ........ 70
Jบทสรุป................................................71
Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................71
Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............72
Jคำถามทบทวน......................................72
หนวยการเรียนรูที่ 7 การซื้อและการขาย ... 73
1. ทรัพยากรที่นำมาใชในการผลิตสินคา
และบริการ .................................... 74
2. การแลกเปลี่ยนและซื้อขายสินคา
และบริการ .................................... 78
3. ผูซื้อและผูขาย................................ 79
Jบทสรุป................................................81
Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................82
Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............82
Jคำถามทบทวน......................................82
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 8 รายได้และรายจ่ายของ
ตนเองและครอบครัว.…83
1. รายได้ที่สุจริตและการใช้จ่ายที่เหมาะสม....84
2. รายได้และรายจ่ายของครอบครัว.......... 85
3. รายได้และรายจ่ายของตนเอง.............. 87
4. รายการของรายรับและรายจ่ายที่เหมาะสม
	 และไม่เหมาะสม.............................. 89
5. การออม......................................... 90
J	บทสรุป.................................................92
J	กิจกรรม​เสนอแนะ.................................92
J	การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน9��������������92
J	คำ�​ถาม​ทบทวน9��������������������������������������92
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 9 เวลาและการศึกษา
	 ประวัติตนเองและ
	 ครอบครัว................ 93
1.	อดีต ปัจจุบัน และอนาคต.................. 94
2. วันสำ�คัญ9��������������������������������������� 95
3.	การศึกษาประวัติตนเองและครอบครัว.... 97
4. เส้นเวลา...................................... 100
J	บทสรุป...............................................101
J	กิจกรรม​เสนอแนะ...............................102
J	การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������102
J	คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������102
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 10 วิถีชีวิตของคน
	 ในชุมชน............. 103
1.	การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคน
	 ในชุมชน...................................... 104
2. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
	 ที่มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน............ 108
J	บทสรุป...............................................109
J	กิจกรรม​เสนอแนะ...............................110
J	การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������110
J	คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������110
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 11 ชาติ​ไทย.............. 111
1. ตัวอย่างบุคคลสำ�คัญในท้องถิ่น1���������� 112
2. ตัวอย่างบุคคลสำ�คัญของชาติไทย1������� 113
3. วัฒนธรรมและประเพณีไทย.............. 115
4. ภูมิปัญญาไทย............................... 117
J	บทสรุป...............................................120
J	กิจกรรม​เสนอแนะ...............................120
J	การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������120
J	คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������120
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 12 เครื่องมือ
ทางภูมิศาสตร์....... 121
1.	แผนผัง……………………………………122
2.	แผนที่......................................... 124
3. รูปถ่าย......................................... 126
4. ลูกโลก........................................ 127
J	บทสรุป...............................................129
J	กิจกรรม​เสนอแนะ...............................129
J	การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������130
J	คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������130
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 13 ปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติ....... 131
1.	การเกิดฤดู.................................... 132
2.	กลางวัน กลางคืน........................... 133
3.	น้ำ�ขึ้น น้ำ�ลง3�������������������������������� 135
4.	ข้างขึ้น ข้างแรม............................. 136
5.	สุริยุปราคา จันทรุปราคา.................. 137
J	บทสรุป...............................................139
J	กิจกรรม​เสนอแนะ...............................139
J	การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������140
J	คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������140
หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 14 สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ..141
1.	สิ่งแวดล้อม................................... 142
2. ทรัพยากรธรรมชาติ......................... 144
3.	การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน....... 147
J	บทสรุป...............................................148
J	กิจกรรม​เสนอแนะ...............................149
J	การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������149
J	คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������149
v	บรรณานุกรม................................ 150
v	อภิธาน​ศัพท.................................. 151
พระพุทธ
หน่วยการเรียนรู้ที่
1
ประโยชนจากการเรียนรู คำ�ถามนำ�
	 1.	เห็นความสำ�คัญของศาสนาและปฏิบัติ
ตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
	 2.	ปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดำ�เนินชีวิต
และข้อคิดที่ได้จากพุทธประวัติและชาดก
	 ศาสนาทุกศาสนามีความส�ำคัญต่อผู้ที่
นับถือ ลองส�ำรวจดูว่าการนับถือศาสนา
มีผลดีต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม
อย่างไร
ด้านวัฒนธรรมและประเพณี
ด้านนิสัยใจคอ
ด้านวิถีชีวิต
ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา
วานรินทชาดก:
พญาลิงเจ้าปัญญา
วรุณชาดก:
ชายหนุ่มผู้เกียจคร้าน
ชาดก
ประสูติ
เหตุการณ์หลังประสูติ
พุทธประวัติ
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้
	 พระพุทธศาสนาก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่บุคคลที่ปฏิบัติตนตามหลักธรรม
และก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคมส่วนรวม เราจึงควรเรียนรู้เกี่ยวกับพระพุทธ-
ศาสนาทั้งในเรื่องความส�ำคัญ พุทธประวัติ และชาดก
พระพุทธ
หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2   2
1.	 ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา
การไหว้เป็นวัฒนธรรมที่เกิดจากพระพุทธศาสนา
1.1 ด้านวัฒนธรรมและประเพณี
	 การด�ำเนินชีวิตของคนไทยมีความผูกพันเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธ-
ศาสนามาช้านาน จนกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกิดเอกลักษณ์
ของชาติไทย
	 เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะที่คนส่วนใหญ่มีเหมือนกัน มีร่วมกัน
การที่พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกิดเอกลักษณ์ของชาติไทยนั้นพิจารณาได้
จากด้านต่าง ๆ ดังนี้
	 1.	ด้านวัฒนธรรม เช่น การไหว้ การกราบ เป็นการแสดงความ
เคารพนอบน้อมต่อพระรัตนตรัยของชาวพุทธ และเป็นการแสดงความ
เคารพต่อกันของคนไทย
หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2    3
ประเพณีแห่เทียนพรรษา
ชาวพุทธร่วมประกอบพิธีกรรม
ทางพระพุทธศาสนา
1.2 ด้านนิสัยใจคอ
1.3 ด้านวิถีชีวิต
	 2.	ด้านประเพณี เช่น การบวช การแห่เทียนพรรษา การตักบาตร
เทโวโรหณะ เป็นประเพณี
ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธ-
ศาสนาทั้งสิ้น
	 ประเทศไทยได้ชื่อว่า สยามเมืองยิ้ม ในสายตาของชาวต่างชาติ
เพราะคนไทยเป็นคนอารมณ์ดี ยิ้มง่าย และมีความเป็นมิตรกับคนทั่วไป
เนื่องจากได้น�ำหลักค�ำสอนของพระพุทธศาสนามาปฏิบัติตนจนกลาย
เป็นเอกลักษณ์ของคนไทย
	 การด�ำเนินชีวิตของคนไทยที่
นับถือพระพุทธศาสนามีพิธีกรรม
ทางพระพุทธศาสนาสอดแทรกอยู่
ด้วยเสมอ เช่น การแต่งงาน การ
ขึ้นบ้านใหม่ จะนิมนต์พระสงฆ์มา
ประกอบพิธีกรรมที่บ้าน การปฏิบัตินี้
ได้เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยใน
ปัจจุบัน
หนังสือ	เรียนรายวิชาพื้นฐาน	สังคมศึกษา	ฯ	ป. 24
	 พุทธประวัติ	 คือ	 ประวัติของพระพุทธเจ้า	 เริ่มตั้งแต่ประสูติ
ตรัสรู้	 จนถึงเสด็จปรินิพพาน	 ชาวพุทธควรศึกษาพุทธประวัติให้เข้าใจ	
เพื่อจะได้เกิดศรัทธาในคุณของพระพุทธเจ้า	 และน�ามาเป็นแบบอย่าง
ในการด�าเนินชีวิต
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
สอบถามพระสงฆ์	 พ่อแม่	 หรือผู้รู้ว่า	 ชุมชนของนักเรียนมี
ประเพณีและวัฒนธรรมใดบ้างที่เกิดจากการนับถือพระพุทธศาสนา	
บันทึกผล	แล้วผลัดกันนำ	เสนอหน้าชั้นเรียน
2.		พุทธประวัติ
	 เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ	 กษัตริย์
เมืองกบิลพัสดุ์กับพระนางสิริ-
มหามายา
	 เมื่อพระนางสิริมหามายาทรง
พระครรภ์จวนประสูติ	 พระนาง
ได้เสด็จไปประสูติยังเมืองเทวทหะ	
ถิ่นก�าเนิดของพระนางตามโบราณ
ราชประเพณี	ครั้นเสด็จถึงลุมพินีวัน
ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์กับ														
เมืองเทวทหะ	 พระนางได้ประสูติ
2.1	ประสูติ
พระนางสิริมหามายาประสูติ
พระราชโอรสที่ลุมพินีวัน
หนังสือ	เรียนรายวิชาพื้นฐาน	สังคมศึกษา	ฯ	ป. 2 5
อสิตดาบสมาเข้าเฝาพระราชโอรส
พระราชโอรสที่นั่น	ตรงกับวันขึ้น	15	ค�่า	เดือน	6	ก่อนพุทธศักราช	80	ปี	
หลังจากนั้นพระนางได้เสด็จกลับเมืองกบิลพัสดุ์พร้อมพระราชโอรส
	 หลังประสูติได้	3	วัน	อสิตดาบสซึ่งเป็นที่นับถือของพระเจ้าสุทโธทนะ	
เมื่อทราบข่าวก็มาเข้าเฝ้า	 และท�านายพระลักษณะของพระราชโอรสว่า	
ถ้าอยู่ครองเรือนจะได้เป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่	ถ้าเสด็จออกผนวชจะได้
เป็นศาสดาเอกของโลก
	 หลังจากประสูติได้	 5	 วัน	 พระเจ้าสุทโธทนะได้เชิญพราหมณ์	
108	 คน	 มาร่วมพิธีขนานพระนามพระราชโอรส	 พราหมณ์	 8	 คน
ที่ได้รับเลือกให้เป็นผู้แทนพราหมณ์ทั้งหมดได้ท�านายพระลักษณะของ
พระราชโอรสอีกครั้งหนึ่ง	พราหมณ์	7	คนแรก	เมื่อตรวจดูพระลักษณะ
ของพระราชโอรสต่างก็ชูนิ้วขึ้น	2	นิ้ว	แล้วท�านายว่า	ถ้าพระราชโอรส
อยู่ครองเรือนจะได้เป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่	 ถ้าเสด็จออกผนวชจะได้
เป็นศาสดาเอกของโลก	 มีเพียงโกณฑัญญพราหมณ์คนเดียวเท่านั้น
ที่ชูนิ้วเดียว	 แล้วท�านายว่า	 พระราชโอรสจะเสด็จออกผนวชและ
จะได้เป็นศาสดาเอกของโลก
หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2   6
	 ครั้นท�ำนายพระลักษณะเสร็จแล้ว พราหมณ์ทั้ง 8 คนได้ร่วมกัน
ขนานพระนามพระราชโอรสว่า สิทธัตถะ แปลว่า ส�ำเร็จตามที่ต้องการ
	 เมื่อประสูติได้ 7 วัน พระราชมารดาสิ้นพระชนม์ พระเจ้าสุทโธทนะ
ทรงมอบให้พระนางมหาปชาบดี
โคตมี พระขนิษฐา (น้องสาว)
ของพระนางสิริมหามายาท�ำหน้าที่
ดูแลพระราชโอรสต่อมา
2.2 เหตุการณ์หลังประสูติ
พระนางมหาปชาบดีโคตมี
ดูแลพระราชโอรสด้วยความรัก
	 1.	แรกนาขวัญ วันหนึ่งเป็นวันพระราชพิธีวัปปมงคลแรกนาขวัญ
พระเจ้าสุทโธทนะเสด็จไปทรงแรกนาขวัญ ในงานพระราชพิธีนั้น               
ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสเสด็จไปด้วย ครั้นถึงเวลาแรกนาขวัญ
พระพี่เลี้ยงต่างพากันออกไปดูพระราชพิธีกันหมด ปล่อยให้พระราชโอรส
อยู่เพียงล�ำพังพระองค์เดียวใต้ต้นหว้า ขณะนั้นบรรยากาศเงียบสงัด
พระราชโอรสจึงทรงนั่งขัดสมาธิ ก�ำหนดลมหายใจเข้า–ออก จนได้บรรลุ
ปฐมฌาน วันนั้นแม้พระอาทิตย์จะบ่ายคล้อยไปแล้ว ร่มเงาของต้นไม้
อื่นได้ทอดไปตามแสงพระอาทิตย์ แต่ร่มเงาของต้นหว้าที่พระราชโอรส
ประทับนั่งอยู่นั้นกลับหยุดตรงอยู่เหมือนเวลาเที่ยง  เมื่อพระพี่เลี้ยงกลับ
มาเห็นปาฏิหาริย์นั้น จึงรีบไปกราบทูลพระเจ้าสุทโธทนะ พระเจ้าสุทโธทนะ
หนังสือ	เรียนรายวิชาพื้นฐาน	สังคมศึกษา	ฯ	ป. 2 7
เจ้าชายสิทธัตถะอภิเษกสมรสกับ
เจ้าหญิงยโสธรา (พิมพา)
เมื่อทรงสดับก็เสด็จมาโดยเร็ว	 ครั้นทรงเห็นความอัศจรรย์เช่นนั้น	
จึงทรงยกพระหัตถ์ถวายอภิวาทแด่พระราชโอรส
2.	การศึกษา	เมื่อมีพระชนมายุ	8	พรรษา	ทรงได้รับการศึกษา
ในส�านักของครูวิศวามิตร	 ด้วยสติปัญญาและความเพียรพยายาม	
พระราชโอรสจึงทรงเรียนจบศิลปศาสตร์	18	ประการ	ในเวลาอันรวดเร็ว
3.	การอภิเษกสมรส	 เมื่อมีพระชนมายุ	 16	 พรรษา	 พระเจ้า
สุทโธทนะโปรดเกล้าฯ	 ให้สร้างปราสาท	3	 องค์	ส�าหรับเป็นที่ประทับ
ใน	3	ฤดู	คือ	ฤดูร้อน	ฤดูฝน	
และฤดูหนาว	จากนั้นได้ตรัสขอ
เจ้าหญิงยโสธรา	 (พิมพา)	
พระราชธิดาของพระเจ้าสุปป-
พุทธะกับพระนางอมิตา	 แห่ง
เมืองเทวทหะมาอภิเษกเป็น
พระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ
4.	การเห็นเทวทูต	 4	 เมื่อมีพระชนมายุ	 29	 พรรษา	 ได้เสด็จ
ประพาสนอกพระราชวัง	ทรงเห็นคนแก่	คนเจ็บ	คนตาย	และสมณะ	
พระองค์ทรงสลดพระทัยที่ทรงเห็นคนแก่	คนเจ็บ	และคนตาย	แต่ทรง
พอพระทัยที่ทรงเห็นสมณะ	 จากนั้นพระองค์ได้น�าสิ่งที่ทรงเห็นมา
หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2   8
เจ้าชายสิทธัตถะทรงอธิษฐานเป็นนักบวชที่ริมฝั่งแม่น้ำ�อโนมา
พิจารณาไตร่ตรอง ทรงพบว่าชีวิตนี้มีแต่ความทุกข์ ท�ำอย่างไรจึงจะพ้น
จากทุกข์ได้ พระองค์จึงทรงคิดหาหนทางที่จะช่วยมนุษย์ให้หลุดพ้นจาก
ทุกข์ เราเรียกสิ่งที่เจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็น คือ คนแก่ คนเจ็บ
คนตาย และสมณะว่า เทวทูต 4
	 5.	การออกผนวช  เจ้าชายสิทธัตถะทรงครองเรือนกับพระนางยโสธรา
จนกระทั่งมีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางยโสธราได้ประสูติพระโอรส
พระนามว่า ราหุล แต่ด้วยพระประสงค์ที่จะหาหนทางช่วยชาวโลกให้พ้น
จากทุกข์ พระองค์จึงทรงตัดสินพระทัยแน่วแน่ที่จะเสด็จออกผนวช
ในกลางดึกของคืนที่พระนางยโสธราประสูติพระโอรส พระองค์ได้ทรง
ม้ากัณฐกะ มีนายฉันนะมหาดเล็กตามเสด็จออกจากพระราชวัง
	 เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จถึงฝั่งแม่น�้ำอโนมาก็ทรงใช้พระขรรค์
ตัดพระเมาลี (จุกผม) ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงมาครองผ้ากาสาวพัสตร์
แล้วทรงอธิษฐานเป็นนักบวช
	 หลังจากที่เสด็จออกผนวชแล้ว พระสิทธัตถะได้บ�ำเพ็ญเพียรด้วย
วิธีการต่าง ๆ เป็นระยะเวลา 6 ปี จนกระทั่งพระชนมายุ 35 พรรษา
ก็ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
หนังสือ	เรียนรายวิชาพื้นฐาน	สังคมศึกษา	ฯ	ป. 2 9
3.		ชาดก
3.1	วรุณชาดก:	ชายหนุ่มผู้เกียจคร้าน
	 ชาดก	คือ	เรื่องราวของพระโพธิสัตว์ในชาติต่าง	ๆ	ก่อนที่จะประสูติ
และตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย	 ในชั้นนี้จะได้เรียนชาดก	 2	
เรื่อง	ดังนี้
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษาพุทธประวัติในบทเรียน	และตั้งคำ	ถามคนละ	3	ข้อ	ผลัดกัน
ถาม–ตอบสลับไปมา
	 ในสมัยพุทธกาล	พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเชตวัน	เมืองสาวัตถี	
ได้มีชาวบ้าน	30	คน	มาขอบวชเป็นพระภิกษุเพื่อปฏิบัติธรรม	พระภิกษุ	
29	รูป	ได้ตั้งใจปฏิบัติธรรมจนส�าเร็จเป็นพระอรหันต์ในเวลาอันรวดเร็ว	
ส่วนพระติสสะมีนิสัยเกียจคร้าน	ไม่ตั้งใจปฏิบัติธรรม	จึงยังไม่ส�าเร็จเป็น
พระอรหันต์	 เมื่อพระติสสะเห็นพระภิกษุรูปอื่นส�าเร็จเป็นพระอรหันต์
ก็อยากส�าเร็จบ้าง	จึงเร่งปฏิบัติธรรม	ไม่ยอมหลับยอมนอน	ตกดึกเผลอ
หลับกลิ้งตกลงมากระดูกขาแตก	เมื่อพระพุทธเจ้าทรงทราบ	จึงทรงเล่า
เรื่องในอดีตชาติของพระองค์ว่า
	 ในอดีตกาล	เมื่อพระโพธิสัตว์เกิดเป็นอาจารย์เปิดส�านักสอนศิษย์
ประมาณ	500	คน	วันหนึ่งศิษย์ทั้งหลายพากันไปเก็บฟนในป่า	มีศิษย์
ผู้เกียจคร้านคนหนึ่งมองเห็นต้นกุ่มบกต้นหนึ่งเข้าใจว่าเป็นต้นไม้แห้ง
หมายตาไว้ว่าจะเก็บไปท�าฟน	 จึงคิดว่านอนพักก่อนดีกว่า	 ตื่นขึ้นมา
หนังสือ	เรียนรายวิชาพื้นฐาน	สังคมศึกษา	ฯ	ป. 210
ค่อยปีนขึ้นหักกิ่งเอาไปท�าฟน	 จึงปูผ้านอนที่โคนต้นกุ่มบกนั้นอย่าง														
สุขสบาย
	 ฝ่ายเพื่อน	ๆ	เมื่อเก็บฟนได้แล้วก็แบกกลับส�านัก	เพื่อนคนหนึ่ง
เดินมาเห็นศิษย์ผู้เกียจคร้านนอนหลับอยู่	ด้วยความเป็นห่วงจึงปลุกให้ตื่น
ศิษยผู้เกียจคร้านนอนหลับใต้ต้นกุ่มบก
	 ศิษย์ผู้เกียจคร้านเมื่อตื่นขึ้นมาก็รีบปีนขึ้นต้นกุ่มบกเพื่อหักกิ่งไป
ท�าฟน	เขาเหนี่ยวกิ่งลงมาตรงหน้าแล้วหักเต็มแรง	ปลายไม้ที่เหลือได้ดีด
ถูกตาข้างหนึ่งบอด	เขาต้องใช้มือข้างหนึ่งปิดตาไว้	และใช้มืออีกข้างหนึ่ง
หักกิ่งไม้สด	เมื่อลงมาจากต้นกุ่มบกแล้วรีบมัดฟนแบกกลับส�านัก	เขาได้
น�าฟนไปวางไว้บนมัดฟนไม้แห้งที่ศิษย์คนอื่น	ๆ	วางกองไว้ก่อนแล้ว
	 เย็นวันนั้นมีคนมาเชิญให้ไปท�าพิธีพราหมณ์ที่บ้านของเขาใน
วันรุ่งขึ้น	อาจารย์จึงบอกศิษย์ทั้งหลายว่า	“วันพรุ่งนี้พวกเธอต้องไปท�า
พิธีพราหมณ์ที่หมู่บ้าน	แต่ต้องรับประทานอาหารเช้าก่อนจะออกเดินทาง”	
หลังจากนั้นอาจารย์ก็สั่งคนรับใช้ให้ต้มข้าวต้มแต่เช้ามืด
	 คนรับใช้ลุกขึ้นต้มข้าวต้ม	 แต่เพราะความมืดจึงหยิบฟนกิ่งไม้สด
มาก่อไฟ	แม้จะพยายามอย่างไรไฟก็ไม่ติด
หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2    11
3.2 วานรินทชาดก: พญาลิงเจ้าปัญญา
	 ศิษย์ที่จะเดินทางไปท�ำพิธีพราหมณ์ ซึ่งรอรับประทานอาหารเช้าอยู่
ได้เล่าให้อาจารย์ฟังถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาจารย์ได้กล่าวต�ำหนิ
ศิษย์ผู้เกียจคร้านว่า ความผิดในครั้งนี้เป็นเพราะการกระท�ำของคนโง่
แล้วกล่าวค�ำที่เป็นคติสอนใจบทหนึ่งว่า
	 “งานใดมีความจ�ำเป็นรีบด่วนต้องท�ำเสียก่อน คนใดเก็บงานนั้นไว้
กระท�ำในภายหลัง คนนั้นย่อมประสบกับความเดือดร้อนเสียหาย”
	 ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี
พระองค์ทรงได้ยินพระภิกษุสนทนากันถึงเรื่องที่พระเทวทัตพยายาม
จะท�ำร้ายพระองค์ด้วยวิธีต่าง ๆ แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ พระองค์
จึงทรงเล่าอดีตชาติเมื่อครั้งเกิดเป็นพญาลิงว่า
	 ในอดีตกาล เมื่อพระโพธิสัตว์เกิดเป็นพญาลิงชื่อ วานรินทร์    
มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง อาศัยอยู่ในป่าตามล�ำพัง
	 ใกล้กับป่ามีแม่น�้ำใหญ่ไหลผ่านและมีเกาะอยู่เกาะหนึ่งเต็มไปด้วย
ต้นไม้น้อยใหญ่ บางวันพญาลิงจะไปหากินที่เกาะนั้น โดยกระโดดเหยียบ
ก้อนหินกลางน�้ำข้ามไปมาระหว่างฝั่งแม่น�้ำกับเกาะ
	 เกาะแห่งนี้มีจระเข้ใหญ่ 2 ตัวผัวเมียอาศัยอยู่ เมื่อจระเข้ตัวเมีย
เห็นพญาลิงก็อยากกินหัวใจของพญาลิง จึงบอกกับจระเข้ตัวผู้คู่ของตน
	 จระเข้ตัวผู้คิดหาวิธีอยู่นาน เมื่อคิดได้จึงไปนอนนิ่งอยู่บนก้อนหิน
กลางแม่น�้ำที่พญาลิงกระโดดข้ามไปมา
	 พญาลิงเมื่อมาถึงริมฝั่งแม่น�้ำเห็นก้อนหินมีลักษณะผิดปกติ
จึงท�ำทีพูดว่า “ก้อนหิน วันนี้ท�ำไมจึงดูใหญ่โตจริง และท�ำไมไม่
ทักทายเรา”
หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2   12
	 จระเข้คิดว่า วันก่อน ๆ ก้อนหินคงจะพูดทักทายกับพญาลิง             
เป็นแน่ จึงเอ่ยขึ้นว่า “เจ้าลิงมีอะไรหรือ”
	 เสียงตอบจากจระเข้ท�ำให้พญาลิงรู้ทันทีว่า อันตรายจะมาถึงตัว
จึงพยายามรวบรวมสติ ย้อนถามไปว่า “เจ้าเป็นใคร ต้องการอะไร”
	 “ข้าเป็นจระเข้ ต้องการหัวใจของเจ้า” จระเข้ตอบ “เพื่อนเอ๋ยเรา
ยินดีให้หัวใจแก่เจ้า เจ้าจงอ้าปากรองับเราในเวลาที่เรากระโดดถึงตัว”   
พญาลิงกล่าวอย่างใช้ปัญญา
	 “ตกลง” จระเข้รับค�ำ พร้อมอ้าปากรอ แต่เป็นธรรมชาติของจระเข้
เมื่ออ้าปากตาจะปิด พญาลิงเห็นดังนั้นจึงกระโดดเหยียบหัวจระเข้แล้ว
กระโจนขึ้นไปอยู่บนชายฝั่งได้
	 จระเข้รู้สึกอัศจรรย์ในสติปัญญาของพญาลิง จึงกล่าวสรรเสริญ
พญาลิงว่า “ท่านพญาลิง คุณธรรม 4 ประการ คือ สัจจะ ทมะ ธิติ
และจาคะ มีแก่บุคคลใด บุคคลนั้นย่อมพ้นภัยจากศัตรูได้ ดังเช่น
พญาลิงเจ้าปัญญาคิดหาทางเอาตัวรอดจากจระเข้
หนังสือ	เรียนรายวิชาพื้นฐาน	สังคมศึกษา	ฯ	ป. 2 13
	 คนไทยผูกพันกับพระพุทธศาสนามาช้านาน	วัฒนธรรม	ประเพณี
นิสัยใจคอ	 ตลอดจนวิถีชีวิตของคนไทยล้วนมีพระพุทธศาสนาเป็น
พื้นฐาน
	 พุทธประวัติ	คือ	ประวัติของพระพุทธเจ้าผู้ก่อตั้งพระพุทธศาสนา	
การศึกษาพุทธประวัติท�าให้ได้แบบอย่างในการด�าเนินชีวิต
	 ชาดก	คือ	เรื่องราวของพระพุทธเจ้าในชาติต่าง	ๆ	ขณะที่ทรงเป็น
พระโพธิสัตว์	 พระองค์ทรงน�ามาเล่าเพื่อให้ข้อคิดในเรื่องต่าง	 ๆ	 เช่น	
วรุณชาดกให้ข้อคิดเรื่องการเรียงล�าดับความส�าคัญของงาน	วานรินทชาดก
ให้ข้อคิดเรื่องคุณธรรม	4	ประการ	คือ	สัจจะ	ทมะ	ธิติ	และจาคะ
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
เขียนบรรยายว่าจะนำ	ข้อคิดจากวรุณชาดกและวานรินทชาดก
ไปประยุกต์ใช้อย่างไร
บทสรุป
ท่านมีสัจจะ	 เมื่อพูดว่าจะกระโดดมาหาเรา	 ท่านก็กระโดดจริง	 ท่านมี
ทมะ	คือพูดและท�าตามเหตุผลที่พิจารณาด้วยปัญญาว่า	ควรท�าอย่างไร
ให้พ้นภัยจากเรา	 ท่านมีธิติ	 คือมีความเพียรตั้งใจแน่วแน่	 และท่าน
มีจาคะ	คือยอมสละชีวิตให้แก่เราหากใครมีคุณธรรมครบ	4	ประการนี้	
ศัตรูแม้ยิ่งใหญ่เพียงใดก็ไม่อาจครอบง�าและท�าอันตรายได้เลย”
	 เมื่อกล่าวจบจระเข้ก็ว่ายน�้ากลับที่อยู่ของตน
หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2   14
คำ�ถามทบทวน
การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
1.	ถ้าต้องการปฏิบัติตนเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมที่เกิดจาก
	 การนับถือพระพุทธศาสนา นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร
2.	นักเรียนจะน�ำข้อคิดจากพุทธประวัติและชาดกไปปฏิบัติในชีวิต
	 ประจ�ำวันอย่างไร
1.	ประเทศไทยได้ชื่อว่า สยามเมืองยิ้ม ในสายตาของชาวต่างชาติ
	 เพราะคนไทยมีลักษณะนิสัยอย่างไร
2.	การศึกษาพุทธประวัติมีประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาอย่างไร
3.	เจ้าชายสิทธัตถะมีคุณลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไปอย่างไร
4.	ชายหนุ่มผู้เกียจคร้านในวรุณชาดกได้รับผลจากการกระท�ำของตน
	 อย่างไร
5.	ท�ำไมพญาลิงในวานรินทชาดกจึงรอดพ้นจากการเป็นอาหารของ
	 จระเข้
กิจกรรมเสนอแนะ
1.	ศึกษาเอกลักษณ์ของชาติไทยที่เกิดจากพระพุทธศาสนา รวบรวม
	 ข้อมูล แล้วน�ำมาเรียนรู้ร่วมกันหน้าชั้นเรียน
2.	แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความเหมาะสม แต่ละกลุ่มรวบรวมภาพ
	 พุทธประวัติ แล้วน�ำมาจัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ
	 กลุ่มละ 1 เหตุการณ์พร้อมตกแต่งให้สวยงาม

More Related Content

What's hot

การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKrujanppm2017
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R Suranaree University of Technology
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้kruruttika
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ Supaporn Khiewwan
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 

What's hot (20)

การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
บทที่ ๓
บทที่ ๓บทที่ ๓
บทที่ ๓
 

Similar to 1549867672 example

หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ Maejo University
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Librru Phrisit
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1bensee
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมjiratt
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 

Similar to 1549867672 example (20)

ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
Pali and Sanskrit in Thai
Pali   and   Sanskrit  in  ThaiPali   and   Sanskrit  in  Thai
Pali and Sanskrit in Thai
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
Media
MediaMedia
Media
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
1
11
1
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 

1549867672 example

  • 1. หนังสือเรียน​รายวิชาพื้นฐาน​ สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่​2 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด​สาระภูมิศาสตร์​(ฉบับปรับปรุง​พ.ศ.​2560) กลุมสาระการเรียนรู้สังคม​ศึกษา​ศาสนา​​และ​วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกน​กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน​พุทธศักราช​2551 ป. 2 ผู้เรียบเรียง สมพร อ่อนน้อม พธ.บ. (เกียรตินิยม), นศ.บ. กุสุมาวดี ชัยชูโชติ ศ.บ., ศ.ม. พงษ์ศักดิ์ แคล้วเครือ ศศ.บ. (เกียรตินิยม), ร.ม. จุลพงษ์ อุดมพรพิบูล วท.บ., วท.ม. บุญรัตน์ รอดตา ศษ.บ ผู้ตรวจ รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล กศ.บ., กศ.ม., M.A., Ph.D. ดร.สิริรัตน์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์ ศศ.บ., กศ.ม., วท.ด. สายพิณ ตันสิริ กศ.บ., ค.ม. บรรณาธิการ สุระ ดามาพงษ์ กศ.บ., กศ.ม. ประจวบ ตรีภักดิ์ พธ.บ., สส.ม. นฤชภรณ์ กมลนฤเมธ ศศ.บ.
  • 2. หนังสือเรียน​รายวิชาพื้นฐาน​ สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรียนรูสังคม​ศึกษา ศาสนา​และ​วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกน​กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ป. 2 ผู้เรียบเรียง สมพร อ่อนน้อม กุสุมาวดี ชัยชูโชติ พงษ์ศักดิ์ แคล้วเครือ จุลพงษ์ อุดมพรพิบูล บุญรัตน์ รอดตา ผูตรวจ รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล ดร.สิริรัตน์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์ สายพิณ ตันสิริ บรรณาธิการ สุระ ดามาพงษ์ ประจวบ ตรีภักดิ์ นฤชภรณ์ กมลนฤเมธ ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2562 พิมพ์ครั้งที่ 1 จำ�นวน 30,000 เล่ม ISBN 978-974-18-7477-4 พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์วัฒนาพานิช จำ�กัด นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผู้จัดการ สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามละเมิด ทำ�​ซ้ำ� ดัดแปลง เผยแพร สวน​หนึ่ง​สวน​ใด เวนแต​จะ​ได​รับ​อนุญาต B
  • 3. คํานํา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลมนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีเปาหมายให้นักเรียนและครูใช้เปนสื่อ ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่หลักสูตร กําหนด พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะตามที่ต้องการทั้งด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อให้สามารถอยูรวมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกได้อยางมีความสุข ในการจัดทําหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเลมนี้ คณะผู้จัดทําซึ่งเปนผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา และการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ได้ศึกษาหลักสูตรอยางลึกซึ้ง ทั้งด้านวิสัยทัศน หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้ง เอกสารหลักสูตรอื่น ๆ แล้วจึงออกแบบหนวยการเรียนรู้ แตละหนวยการเรียนรู้ประกอบด้วย ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู้ ประโยชนจากการเรียนรู้ คําถามนํา เนื้อหาสาระแตละเรื่อง แตละหัวข้อ คําสําคัญ เรื่องนารู้ แหลงสืบค้นความรู้ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ บทสรุป กิจกรรม เสนอแนะ การประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน คําถามทบทวน และท้ายเลมยังมีบรรณานุกรมและ อภิธานศัพท ซึ่งองคประกอบของหนังสือเรียนเหลานี้จะชวยสงเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อยางครบถ้วนตามหลักสูตร การเสนอเนื้อหา กิจกรรม และองคประกอบอื่น ๆ ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเลมนี้มุงเน้น ผู้เรียนเปนสำคัญ โดยคำนึงถึงศักยภาพของนักเรียน เน้นการเรียนรู้แบบองครวมบนพื้นฐานของ การบูรณาการแนวคิดทางการเรียนรู้อยางหลากหลาย จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเน้นให้นักเรียน สร้างองคความรู้ด้วยตนเอง มุงพัฒนาการคิด และพัฒนาการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการ ทางสมองของนักเรียน อันจะชวยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อยางสมบูรณและสามารถนำไปประยุกต ใช้ในชีวิตประจำวันได้ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลมนี้ จะชวยพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนตามหลักสูตรได้เปนอยางดี คณะผูจัดทำ
  • 4. 1. ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู แสดงขอบขายเนื้อหา ในหนวยการเรียนรู้ 3. คําถามนํา เปนคําถามที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิด ความสนใจต้องการที่จะค้นหาคําตอบ 6. บทสรุป เปนการสรุปเนื้อหาหลังจากจบเนื้อหาและ กิจกรรมของแตละหนวยการเรียนรู้ 7. กิจกรรมเสนอแนะ เปนกิจกรรมบูรณาการทักษะ ที่รวบรวมหลักการและความคิดรวบยอดในเรื่องตาง ๆ ที่นักเรียนได้เรียนรู้มาไปประยุกตในการปฏิบัติกิจกรรม 8. การประยุกต์ใชในชีวิตประจําวัน เปนตัวอยางสถานการณ การประยุกตใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้นักเรียนนําไป ประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน ซึ่งมีกิจกรรมหรือคําถาม ให้นักเรียนทํา 9. คําถามทบทวน เปนคําถามแบบอัตนัยที่มุงถาม เพื่อทบทวนผลการเรียนรู้ของนักเรียน 2. ประโยชน์จากการเรียนรู สรุปประโยชนที่ได้จาก การเรียนรู้ในหนวยการเรียนรู้เปนประเด็นสั้น ๆ 5. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู เปนกิจกรรมที่กําหนดให้ทํา เมื่อจบเนื้อหาที่แบงให้เหมาะสมสําหรับการเรียนแตละ ครั้ง เปนกิจกรรมที่หลากหลาย ใช้แนวคิดทฤษฎีตาง ๆ ให้สอดคล้องกับเนื้อหา เหมาะสมกับวัย สะดวกในการ ปฏิบัติ กระตุ้นให้นักเรียนได้คิด และสงเสริมการศึกษา ค้นคว้า 4. เนื้อหา แบงเปนหัวเรื่องหลัก หัวเรื่องรอง และหัวข้อยอย ตรงตามตัวชี้วัดชั้นป มีกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้แทรก เปนชวง ๆ เนื้อหาบางตอนอาจนําเสนอด้วยภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ แผนที่ความคิด และประกอบด้วยสวนอื่น ๆ ดังนี้ 4.1 คําสําคัญ ระบุคําสําคัญที่แทรกอยูในเนื้อหาโดยการเน้นสีของคําไว้ตางจากตัวพื้น คําสําคัญนี้จะใช้ตัวเน้น เฉพาะคําที่ปรากฏคําแรกในเนื้อหา ไมเน้นคําที่เปนหัวข้อ 4.2 ภาพประกอบ พร้อมคําบรรยายสอดคล้องกับเนื้อหา 4.3 แผนภูมิ ตาราง แผนที่ แผนที่ความคิด สอดคล้องกับเนื้อหา 4.4 เรื่องนารู เปนความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องที่ได้ศึกษาในหนวยการเรียนรู้นั้น ๆ โดยคัดสรรเฉพาะเรื่องที่นักเรียน ควรรู้ 10. ทายเลม ประกอบด้วยบรรณานุกรมและอภิธานศัพท 10.1 บรรณานุกรม เปนรายชื่อหนังสือ เอกสาร เว็บไซต ที่ใช้ประกอบการเขียน 10.2 อภิธานศัพท์ เปนการนําคําสําคัญที่แทรกอยูในเนื้อหามาอธิบายและจัดเรียงตามลําดับตัวอักษรเพื่อสะดวก ในการค้นคว้า หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลมนี้ ได้ออกแบบเปนหนวยการเรียนรู้ แตละหนวยการเรียนรู้ประกอบด้วย คําชี้แจง
  • 5. สารบัญ หนวยการเรียนรูที่ 1 พระพุทธ..................1 1. ความสำคัญของพระพุทธศาสนา............2 2. พุทธประวัติ .....................................4 3. ชาดก.............................................9 Jบทสรุป................................................13 Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................14 Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............14 Jคำถามทบทวน......................................14 หนวยการเรียนรูที่ 2 พระธรรม............... 15 1. พระรัตนตรัย ................................. 16 2. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ............ 17 3. พุทธศาสนสุภาษิต ........................... 23 4. การกระทำความดีของตนเองและบุคคล ในครอบครัวและโรงเรียน………………. 24 5. ศาสดาและคัมภีร์ของศาสนาตาง ๆ....... 27 Jบทสรุป................................................29 Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................30 Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............30 Jคำถามทบทวน......................................30 หนวยการเรียนรูที่ 3 พระสงฆ์ ................ 31 1. พุทธสาวก ..................................... 32 2. ชาวพุทธตัวอยาง............................. 35 Jบทสรุป................................................39 Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................39 Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............40 Jคำถามทบทวน......................................40 หนวยการเรียนรูที่ 4 การปฏิบัติตนดี ........ 41 1. มารยาทชาวพุทธ............................. 42 2. ศาสนพิธี....................................... 47 3. การทำจิตใจใหผองใสบริสุทธิ์……………….50 Jบทสรุป................................................55 Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................56 Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............56 Jคำถามทบทวน......................................56 หนวยการเรียนรูที่ 5 พลเมืองดี............... 57 1. การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ............... 58 2. มารยาทไทย................................... 60 3. ความสัมพันธ์ระหวางตัวเราและสมาชิก ในครอบครัวกับชุมชน ...................... 62 Jบทสรุป................................................63 Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................63 Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............64 Jคำถามทบทวน......................................64 หนวยการเรียนรูที่ 6 สิทธิ เสรีภาพ.......... 65 1. สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล................ 66 2. การยอมรับความแตกตางของบุคคล...... 68 3. บทบาทและอำนาจในการตัดสินใจ........ 70 Jบทสรุป................................................71 Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................71 Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............72 Jคำถามทบทวน......................................72 หนวยการเรียนรูที่ 7 การซื้อและการขาย ... 73 1. ทรัพยากรที่นำมาใชในการผลิตสินคา และบริการ .................................... 74 2. การแลกเปลี่ยนและซื้อขายสินคา และบริการ .................................... 78 3. ผูซื้อและผูขาย................................ 79 Jบทสรุป................................................81 Jกิจกรรมเสนอแนะ ................................82 Jการประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............82 Jคำถามทบทวน......................................82
  • 6. หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 8 รายได้และรายจ่ายของ ตนเองและครอบครัว.…83 1. รายได้ที่สุจริตและการใช้จ่ายที่เหมาะสม....84 2. รายได้และรายจ่ายของครอบครัว.......... 85 3. รายได้และรายจ่ายของตนเอง.............. 87 4. รายการของรายรับและรายจ่ายที่เหมาะสม และไม่เหมาะสม.............................. 89 5. การออม......................................... 90 J บทสรุป.................................................92 J กิจกรรม​เสนอแนะ.................................92 J การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน9��������������92 J คำ�​ถาม​ทบทวน9��������������������������������������92 หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 9 เวลาและการศึกษา ประวัติตนเองและ ครอบครัว................ 93 1. อดีต ปัจจุบัน และอนาคต.................. 94 2. วันสำ�คัญ9��������������������������������������� 95 3. การศึกษาประวัติตนเองและครอบครัว.... 97 4. เส้นเวลา...................................... 100 J บทสรุป...............................................101 J กิจกรรม​เสนอแนะ...............................102 J การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������102 J คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������102 หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 10 วิถีชีวิตของคน ในชุมชน............. 103 1. การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคน ในชุมชน...................................... 104 2. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ที่มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน............ 108 J บทสรุป...............................................109 J กิจกรรม​เสนอแนะ...............................110 J การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������110 J คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������110 หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 11 ชาติ​ไทย.............. 111 1. ตัวอย่างบุคคลสำ�คัญในท้องถิ่น1���������� 112 2. ตัวอย่างบุคคลสำ�คัญของชาติไทย1������� 113 3. วัฒนธรรมและประเพณีไทย.............. 115 4. ภูมิปัญญาไทย............................... 117 J บทสรุป...............................................120 J กิจกรรม​เสนอแนะ...............................120 J การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������120 J คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������120 หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 12 เครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์....... 121 1. แผนผัง……………………………………122 2. แผนที่......................................... 124 3. รูปถ่าย......................................... 126 4. ลูกโลก........................................ 127 J บทสรุป...............................................129 J กิจกรรม​เสนอแนะ...............................129 J การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������130 J คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������130 หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 13 ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ....... 131 1. การเกิดฤดู.................................... 132 2. กลางวัน กลางคืน........................... 133 3. น้ำ�ขึ้น น้ำ�ลง3�������������������������������� 135 4. ข้างขึ้น ข้างแรม............................. 136 5. สุริยุปราคา จันทรุปราคา.................. 137 J บทสรุป...............................................139 J กิจกรรม​เสนอแนะ...............................139 J การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������140 J คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������140 หนวย​การ​เรียนรู​ที่ 14 สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ..141 1. สิ่งแวดล้อม................................... 142 2. ทรัพยากรธรรมชาติ......................... 144 3. การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน....... 147 J บทสรุป...............................................148 J กิจกรรม​เสนอแนะ...............................149 J การ​ประยุกต​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�วัน1������������149 J คำ�​ถาม​ทบทวน1������������������������������������149 v บรรณานุกรม................................ 150 v อภิธาน​ศัพท.................................. 151
  • 7. พระพุทธ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประโยชนจากการเรียนรู คำ�ถามนำ� 1. เห็นความสำ�คัญของศาสนาและปฏิบัติ ตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ 2. ปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดำ�เนินชีวิต และข้อคิดที่ได้จากพุทธประวัติและชาดก ศาสนาทุกศาสนามีความส�ำคัญต่อผู้ที่ นับถือ ลองส�ำรวจดูว่าการนับถือศาสนา มีผลดีต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม อย่างไร ด้านวัฒนธรรมและประเพณี ด้านนิสัยใจคอ ด้านวิถีชีวิต ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา วานรินทชาดก: พญาลิงเจ้าปัญญา วรุณชาดก: ชายหนุ่มผู้เกียจคร้าน ชาดก ประสูติ เหตุการณ์หลังประสูติ พุทธประวัติ ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ พระพุทธศาสนาก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่บุคคลที่ปฏิบัติตนตามหลักธรรม และก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคมส่วนรวม เราจึงควรเรียนรู้เกี่ยวกับพระพุทธ- ศาสนาทั้งในเรื่องความส�ำคัญ พุทธประวัติ และชาดก พระพุทธ
  • 8. หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 2 1. ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา การไหว้เป็นวัฒนธรรมที่เกิดจากพระพุทธศาสนา 1.1 ด้านวัฒนธรรมและประเพณี การด�ำเนินชีวิตของคนไทยมีความผูกพันเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธ- ศาสนามาช้านาน จนกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกิดเอกลักษณ์ ของชาติไทย เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะที่คนส่วนใหญ่มีเหมือนกัน มีร่วมกัน การที่พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกิดเอกลักษณ์ของชาติไทยนั้นพิจารณาได้ จากด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านวัฒนธรรม เช่น การไหว้ การกราบ เป็นการแสดงความ เคารพนอบน้อมต่อพระรัตนตรัยของชาวพุทธ และเป็นการแสดงความ เคารพต่อกันของคนไทย
  • 9. หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 3 ประเพณีแห่เทียนพรรษา ชาวพุทธร่วมประกอบพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา 1.2 ด้านนิสัยใจคอ 1.3 ด้านวิถีชีวิต 2. ด้านประเพณี เช่น การบวช การแห่เทียนพรรษา การตักบาตร เทโวโรหณะ เป็นประเพณี ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธ- ศาสนาทั้งสิ้น ประเทศไทยได้ชื่อว่า สยามเมืองยิ้ม ในสายตาของชาวต่างชาติ เพราะคนไทยเป็นคนอารมณ์ดี ยิ้มง่าย และมีความเป็นมิตรกับคนทั่วไป เนื่องจากได้น�ำหลักค�ำสอนของพระพุทธศาสนามาปฏิบัติตนจนกลาย เป็นเอกลักษณ์ของคนไทย การด�ำเนินชีวิตของคนไทยที่ นับถือพระพุทธศาสนามีพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนาสอดแทรกอยู่ ด้วยเสมอ เช่น การแต่งงาน การ ขึ้นบ้านใหม่ จะนิมนต์พระสงฆ์มา ประกอบพิธีกรรมที่บ้าน การปฏิบัตินี้ ได้เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยใน ปัจจุบัน
  • 10. หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ฯ ป. 24 พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า เริ่มตั้งแต่ประสูติ ตรัสรู้ จนถึงเสด็จปรินิพพาน ชาวพุทธควรศึกษาพุทธประวัติให้เข้าใจ เพื่อจะได้เกิดศรัทธาในคุณของพระพุทธเจ้า และน�ามาเป็นแบบอย่าง ในการด�าเนินชีวิต กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ สอบถามพระสงฆ์ พ่อแม่ หรือผู้รู้ว่า ชุมชนของนักเรียนมี ประเพณีและวัฒนธรรมใดบ้างที่เกิดจากการนับถือพระพุทธศาสนา บันทึกผล แล้วผลัดกันนำ เสนอหน้าชั้นเรียน 2. พุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ เมืองกบิลพัสดุ์กับพระนางสิริ- มหามายา เมื่อพระนางสิริมหามายาทรง พระครรภ์จวนประสูติ พระนาง ได้เสด็จไปประสูติยังเมืองเทวทหะ ถิ่นก�าเนิดของพระนางตามโบราณ ราชประเพณี ครั้นเสด็จถึงลุมพินีวัน ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์กับ เมืองเทวทหะ พระนางได้ประสูติ 2.1 ประสูติ พระนางสิริมหามายาประสูติ พระราชโอรสที่ลุมพินีวัน
  • 11. หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ฯ ป. 2 5 อสิตดาบสมาเข้าเฝาพระราชโอรส พระราชโอรสที่นั่น ตรงกับวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 80 ปี หลังจากนั้นพระนางได้เสด็จกลับเมืองกบิลพัสดุ์พร้อมพระราชโอรส หลังประสูติได้ 3 วัน อสิตดาบสซึ่งเป็นที่นับถือของพระเจ้าสุทโธทนะ เมื่อทราบข่าวก็มาเข้าเฝ้า และท�านายพระลักษณะของพระราชโอรสว่า ถ้าอยู่ครองเรือนจะได้เป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ ถ้าเสด็จออกผนวชจะได้ เป็นศาสดาเอกของโลก หลังจากประสูติได้ 5 วัน พระเจ้าสุทโธทนะได้เชิญพราหมณ์ 108 คน มาร่วมพิธีขนานพระนามพระราชโอรส พราหมณ์ 8 คน ที่ได้รับเลือกให้เป็นผู้แทนพราหมณ์ทั้งหมดได้ท�านายพระลักษณะของ พระราชโอรสอีกครั้งหนึ่ง พราหมณ์ 7 คนแรก เมื่อตรวจดูพระลักษณะ ของพระราชโอรสต่างก็ชูนิ้วขึ้น 2 นิ้ว แล้วท�านายว่า ถ้าพระราชโอรส อยู่ครองเรือนจะได้เป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ ถ้าเสด็จออกผนวชจะได้ เป็นศาสดาเอกของโลก มีเพียงโกณฑัญญพราหมณ์คนเดียวเท่านั้น ที่ชูนิ้วเดียว แล้วท�านายว่า พระราชโอรสจะเสด็จออกผนวชและ จะได้เป็นศาสดาเอกของโลก
  • 12. หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 6 ครั้นท�ำนายพระลักษณะเสร็จแล้ว พราหมณ์ทั้ง 8 คนได้ร่วมกัน ขนานพระนามพระราชโอรสว่า สิทธัตถะ แปลว่า ส�ำเร็จตามที่ต้องการ เมื่อประสูติได้ 7 วัน พระราชมารดาสิ้นพระชนม์ พระเจ้าสุทโธทนะ ทรงมอบให้พระนางมหาปชาบดี โคตมี พระขนิษฐา (น้องสาว) ของพระนางสิริมหามายาท�ำหน้าที่ ดูแลพระราชโอรสต่อมา 2.2 เหตุการณ์หลังประสูติ พระนางมหาปชาบดีโคตมี ดูแลพระราชโอรสด้วยความรัก 1. แรกนาขวัญ วันหนึ่งเป็นวันพระราชพิธีวัปปมงคลแรกนาขวัญ พระเจ้าสุทโธทนะเสด็จไปทรงแรกนาขวัญ ในงานพระราชพิธีนั้น ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสเสด็จไปด้วย ครั้นถึงเวลาแรกนาขวัญ พระพี่เลี้ยงต่างพากันออกไปดูพระราชพิธีกันหมด ปล่อยให้พระราชโอรส อยู่เพียงล�ำพังพระองค์เดียวใต้ต้นหว้า ขณะนั้นบรรยากาศเงียบสงัด พระราชโอรสจึงทรงนั่งขัดสมาธิ ก�ำหนดลมหายใจเข้า–ออก จนได้บรรลุ ปฐมฌาน วันนั้นแม้พระอาทิตย์จะบ่ายคล้อยไปแล้ว ร่มเงาของต้นไม้ อื่นได้ทอดไปตามแสงพระอาทิตย์ แต่ร่มเงาของต้นหว้าที่พระราชโอรส ประทับนั่งอยู่นั้นกลับหยุดตรงอยู่เหมือนเวลาเที่ยง เมื่อพระพี่เลี้ยงกลับ มาเห็นปาฏิหาริย์นั้น จึงรีบไปกราบทูลพระเจ้าสุทโธทนะ พระเจ้าสุทโธทนะ
  • 13. หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ฯ ป. 2 7 เจ้าชายสิทธัตถะอภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงยโสธรา (พิมพา) เมื่อทรงสดับก็เสด็จมาโดยเร็ว ครั้นทรงเห็นความอัศจรรย์เช่นนั้น จึงทรงยกพระหัตถ์ถวายอภิวาทแด่พระราชโอรส 2. การศึกษา เมื่อมีพระชนมายุ 8 พรรษา ทรงได้รับการศึกษา ในส�านักของครูวิศวามิตร ด้วยสติปัญญาและความเพียรพยายาม พระราชโอรสจึงทรงเรียนจบศิลปศาสตร์ 18 ประการ ในเวลาอันรวดเร็ว 3. การอภิเษกสมรส เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา พระเจ้า สุทโธทนะโปรดเกล้าฯ ให้สร้างปราสาท 3 องค์ ส�าหรับเป็นที่ประทับ ใน 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว จากนั้นได้ตรัสขอ เจ้าหญิงยโสธรา (พิมพา) พระราชธิดาของพระเจ้าสุปป- พุทธะกับพระนางอมิตา แห่ง เมืองเทวทหะมาอภิเษกเป็น พระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ 4. การเห็นเทวทูต 4 เมื่อมีพระชนมายุ 29 พรรษา ได้เสด็จ ประพาสนอกพระราชวัง ทรงเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ พระองค์ทรงสลดพระทัยที่ทรงเห็นคนแก่ คนเจ็บ และคนตาย แต่ทรง พอพระทัยที่ทรงเห็นสมณะ จากนั้นพระองค์ได้น�าสิ่งที่ทรงเห็นมา
  • 14. หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 8 เจ้าชายสิทธัตถะทรงอธิษฐานเป็นนักบวชที่ริมฝั่งแม่น้ำ�อโนมา พิจารณาไตร่ตรอง ทรงพบว่าชีวิตนี้มีแต่ความทุกข์ ท�ำอย่างไรจึงจะพ้น จากทุกข์ได้ พระองค์จึงทรงคิดหาหนทางที่จะช่วยมนุษย์ให้หลุดพ้นจาก ทุกข์ เราเรียกสิ่งที่เจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็น คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะว่า เทวทูต 4 5. การออกผนวช  เจ้าชายสิทธัตถะทรงครองเรือนกับพระนางยโสธรา จนกระทั่งมีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางยโสธราได้ประสูติพระโอรส พระนามว่า ราหุล แต่ด้วยพระประสงค์ที่จะหาหนทางช่วยชาวโลกให้พ้น จากทุกข์ พระองค์จึงทรงตัดสินพระทัยแน่วแน่ที่จะเสด็จออกผนวช ในกลางดึกของคืนที่พระนางยโสธราประสูติพระโอรส พระองค์ได้ทรง ม้ากัณฐกะ มีนายฉันนะมหาดเล็กตามเสด็จออกจากพระราชวัง เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จถึงฝั่งแม่น�้ำอโนมาก็ทรงใช้พระขรรค์ ตัดพระเมาลี (จุกผม) ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงมาครองผ้ากาสาวพัสตร์ แล้วทรงอธิษฐานเป็นนักบวช หลังจากที่เสด็จออกผนวชแล้ว พระสิทธัตถะได้บ�ำเพ็ญเพียรด้วย วิธีการต่าง ๆ เป็นระยะเวลา 6 ปี จนกระทั่งพระชนมายุ 35 พรรษา ก็ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
  • 15. หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ฯ ป. 2 9 3. ชาดก 3.1 วรุณชาดก: ชายหนุ่มผู้เกียจคร้าน ชาดก คือ เรื่องราวของพระโพธิสัตว์ในชาติต่าง ๆ ก่อนที่จะประสูติ และตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย ในชั้นนี้จะได้เรียนชาดก 2 เรื่อง ดังนี้ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ศึกษาพุทธประวัติในบทเรียน และตั้งคำ ถามคนละ 3 ข้อ ผลัดกัน ถาม–ตอบสลับไปมา ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ได้มีชาวบ้าน 30 คน มาขอบวชเป็นพระภิกษุเพื่อปฏิบัติธรรม พระภิกษุ 29 รูป ได้ตั้งใจปฏิบัติธรรมจนส�าเร็จเป็นพระอรหันต์ในเวลาอันรวดเร็ว ส่วนพระติสสะมีนิสัยเกียจคร้าน ไม่ตั้งใจปฏิบัติธรรม จึงยังไม่ส�าเร็จเป็น พระอรหันต์ เมื่อพระติสสะเห็นพระภิกษุรูปอื่นส�าเร็จเป็นพระอรหันต์ ก็อยากส�าเร็จบ้าง จึงเร่งปฏิบัติธรรม ไม่ยอมหลับยอมนอน ตกดึกเผลอ หลับกลิ้งตกลงมากระดูกขาแตก เมื่อพระพุทธเจ้าทรงทราบ จึงทรงเล่า เรื่องในอดีตชาติของพระองค์ว่า ในอดีตกาล เมื่อพระโพธิสัตว์เกิดเป็นอาจารย์เปิดส�านักสอนศิษย์ ประมาณ 500 คน วันหนึ่งศิษย์ทั้งหลายพากันไปเก็บฟนในป่า มีศิษย์ ผู้เกียจคร้านคนหนึ่งมองเห็นต้นกุ่มบกต้นหนึ่งเข้าใจว่าเป็นต้นไม้แห้ง หมายตาไว้ว่าจะเก็บไปท�าฟน จึงคิดว่านอนพักก่อนดีกว่า ตื่นขึ้นมา
  • 16. หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ฯ ป. 210 ค่อยปีนขึ้นหักกิ่งเอาไปท�าฟน จึงปูผ้านอนที่โคนต้นกุ่มบกนั้นอย่าง สุขสบาย ฝ่ายเพื่อน ๆ เมื่อเก็บฟนได้แล้วก็แบกกลับส�านัก เพื่อนคนหนึ่ง เดินมาเห็นศิษย์ผู้เกียจคร้านนอนหลับอยู่ ด้วยความเป็นห่วงจึงปลุกให้ตื่น ศิษยผู้เกียจคร้านนอนหลับใต้ต้นกุ่มบก ศิษย์ผู้เกียจคร้านเมื่อตื่นขึ้นมาก็รีบปีนขึ้นต้นกุ่มบกเพื่อหักกิ่งไป ท�าฟน เขาเหนี่ยวกิ่งลงมาตรงหน้าแล้วหักเต็มแรง ปลายไม้ที่เหลือได้ดีด ถูกตาข้างหนึ่งบอด เขาต้องใช้มือข้างหนึ่งปิดตาไว้ และใช้มืออีกข้างหนึ่ง หักกิ่งไม้สด เมื่อลงมาจากต้นกุ่มบกแล้วรีบมัดฟนแบกกลับส�านัก เขาได้ น�าฟนไปวางไว้บนมัดฟนไม้แห้งที่ศิษย์คนอื่น ๆ วางกองไว้ก่อนแล้ว เย็นวันนั้นมีคนมาเชิญให้ไปท�าพิธีพราหมณ์ที่บ้านของเขาใน วันรุ่งขึ้น อาจารย์จึงบอกศิษย์ทั้งหลายว่า “วันพรุ่งนี้พวกเธอต้องไปท�า พิธีพราหมณ์ที่หมู่บ้าน แต่ต้องรับประทานอาหารเช้าก่อนจะออกเดินทาง” หลังจากนั้นอาจารย์ก็สั่งคนรับใช้ให้ต้มข้าวต้มแต่เช้ามืด คนรับใช้ลุกขึ้นต้มข้าวต้ม แต่เพราะความมืดจึงหยิบฟนกิ่งไม้สด มาก่อไฟ แม้จะพยายามอย่างไรไฟก็ไม่ติด
  • 17. หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 11 3.2 วานรินทชาดก: พญาลิงเจ้าปัญญา ศิษย์ที่จะเดินทางไปท�ำพิธีพราหมณ์ ซึ่งรอรับประทานอาหารเช้าอยู่ ได้เล่าให้อาจารย์ฟังถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาจารย์ได้กล่าวต�ำหนิ ศิษย์ผู้เกียจคร้านว่า ความผิดในครั้งนี้เป็นเพราะการกระท�ำของคนโง่ แล้วกล่าวค�ำที่เป็นคติสอนใจบทหนึ่งว่า “งานใดมีความจ�ำเป็นรีบด่วนต้องท�ำเสียก่อน คนใดเก็บงานนั้นไว้ กระท�ำในภายหลัง คนนั้นย่อมประสบกับความเดือดร้อนเสียหาย” ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี พระองค์ทรงได้ยินพระภิกษุสนทนากันถึงเรื่องที่พระเทวทัตพยายาม จะท�ำร้ายพระองค์ด้วยวิธีต่าง ๆ แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ พระองค์ จึงทรงเล่าอดีตชาติเมื่อครั้งเกิดเป็นพญาลิงว่า ในอดีตกาล เมื่อพระโพธิสัตว์เกิดเป็นพญาลิงชื่อ วานรินทร์ มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง อาศัยอยู่ในป่าตามล�ำพัง ใกล้กับป่ามีแม่น�้ำใหญ่ไหลผ่านและมีเกาะอยู่เกาะหนึ่งเต็มไปด้วย ต้นไม้น้อยใหญ่ บางวันพญาลิงจะไปหากินที่เกาะนั้น โดยกระโดดเหยียบ ก้อนหินกลางน�้ำข้ามไปมาระหว่างฝั่งแม่น�้ำกับเกาะ เกาะแห่งนี้มีจระเข้ใหญ่ 2 ตัวผัวเมียอาศัยอยู่ เมื่อจระเข้ตัวเมีย เห็นพญาลิงก็อยากกินหัวใจของพญาลิง จึงบอกกับจระเข้ตัวผู้คู่ของตน จระเข้ตัวผู้คิดหาวิธีอยู่นาน เมื่อคิดได้จึงไปนอนนิ่งอยู่บนก้อนหิน กลางแม่น�้ำที่พญาลิงกระโดดข้ามไปมา พญาลิงเมื่อมาถึงริมฝั่งแม่น�้ำเห็นก้อนหินมีลักษณะผิดปกติ จึงท�ำทีพูดว่า “ก้อนหิน วันนี้ท�ำไมจึงดูใหญ่โตจริง และท�ำไมไม่ ทักทายเรา”
  • 18. หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 12 จระเข้คิดว่า วันก่อน ๆ ก้อนหินคงจะพูดทักทายกับพญาลิง เป็นแน่ จึงเอ่ยขึ้นว่า “เจ้าลิงมีอะไรหรือ” เสียงตอบจากจระเข้ท�ำให้พญาลิงรู้ทันทีว่า อันตรายจะมาถึงตัว จึงพยายามรวบรวมสติ ย้อนถามไปว่า “เจ้าเป็นใคร ต้องการอะไร” “ข้าเป็นจระเข้ ต้องการหัวใจของเจ้า” จระเข้ตอบ “เพื่อนเอ๋ยเรา ยินดีให้หัวใจแก่เจ้า เจ้าจงอ้าปากรองับเราในเวลาที่เรากระโดดถึงตัว” พญาลิงกล่าวอย่างใช้ปัญญา “ตกลง” จระเข้รับค�ำ พร้อมอ้าปากรอ แต่เป็นธรรมชาติของจระเข้ เมื่ออ้าปากตาจะปิด พญาลิงเห็นดังนั้นจึงกระโดดเหยียบหัวจระเข้แล้ว กระโจนขึ้นไปอยู่บนชายฝั่งได้ จระเข้รู้สึกอัศจรรย์ในสติปัญญาของพญาลิง จึงกล่าวสรรเสริญ พญาลิงว่า “ท่านพญาลิง คุณธรรม 4 ประการ คือ สัจจะ ทมะ ธิติ และจาคะ มีแก่บุคคลใด บุคคลนั้นย่อมพ้นภัยจากศัตรูได้ ดังเช่น พญาลิงเจ้าปัญญาคิดหาทางเอาตัวรอดจากจระเข้
  • 19. หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ฯ ป. 2 13 คนไทยผูกพันกับพระพุทธศาสนามาช้านาน วัฒนธรรม ประเพณี นิสัยใจคอ ตลอดจนวิถีชีวิตของคนไทยล้วนมีพระพุทธศาสนาเป็น พื้นฐาน พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้าผู้ก่อตั้งพระพุทธศาสนา การศึกษาพุทธประวัติท�าให้ได้แบบอย่างในการด�าเนินชีวิต ชาดก คือ เรื่องราวของพระพุทธเจ้าในชาติต่าง ๆ ขณะที่ทรงเป็น พระโพธิสัตว์ พระองค์ทรงน�ามาเล่าเพื่อให้ข้อคิดในเรื่องต่าง ๆ เช่น วรุณชาดกให้ข้อคิดเรื่องการเรียงล�าดับความส�าคัญของงาน วานรินทชาดก ให้ข้อคิดเรื่องคุณธรรม 4 ประการ คือ สัจจะ ทมะ ธิติ และจาคะ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ เขียนบรรยายว่าจะนำ ข้อคิดจากวรุณชาดกและวานรินทชาดก ไปประยุกต์ใช้อย่างไร บทสรุป ท่านมีสัจจะ เมื่อพูดว่าจะกระโดดมาหาเรา ท่านก็กระโดดจริง ท่านมี ทมะ คือพูดและท�าตามเหตุผลที่พิจารณาด้วยปัญญาว่า ควรท�าอย่างไร ให้พ้นภัยจากเรา ท่านมีธิติ คือมีความเพียรตั้งใจแน่วแน่ และท่าน มีจาคะ คือยอมสละชีวิตให้แก่เราหากใครมีคุณธรรมครบ 4 ประการนี้ ศัตรูแม้ยิ่งใหญ่เพียงใดก็ไม่อาจครอบง�าและท�าอันตรายได้เลย” เมื่อกล่าวจบจระเข้ก็ว่ายน�้ากลับที่อยู่ของตน
  • 20. หนังสือ​เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 14 คำ�ถามทบทวน การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน 1. ถ้าต้องการปฏิบัติตนเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมที่เกิดจาก การนับถือพระพุทธศาสนา นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร 2. นักเรียนจะน�ำข้อคิดจากพุทธประวัติและชาดกไปปฏิบัติในชีวิต ประจ�ำวันอย่างไร 1. ประเทศไทยได้ชื่อว่า สยามเมืองยิ้ม ในสายตาของชาวต่างชาติ เพราะคนไทยมีลักษณะนิสัยอย่างไร 2. การศึกษาพุทธประวัติมีประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาอย่างไร 3. เจ้าชายสิทธัตถะมีคุณลักษณะแตกต่างจากคนทั่วไปอย่างไร 4. ชายหนุ่มผู้เกียจคร้านในวรุณชาดกได้รับผลจากการกระท�ำของตน อย่างไร 5. ท�ำไมพญาลิงในวานรินทชาดกจึงรอดพ้นจากการเป็นอาหารของ จระเข้ กิจกรรมเสนอแนะ 1. ศึกษาเอกลักษณ์ของชาติไทยที่เกิดจากพระพุทธศาสนา รวบรวม ข้อมูล แล้วน�ำมาเรียนรู้ร่วมกันหน้าชั้นเรียน 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความเหมาะสม แต่ละกลุ่มรวบรวมภาพ พุทธประวัติ แล้วน�ำมาจัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ กลุ่มละ 1 เหตุการณ์พร้อมตกแต่งให้สวยงาม