SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
2 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 
ก. ต่อมหมวกไตมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง 
ข. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม อยู่ใต้ไตทั้งสองข้าง 
ค. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว 
ง. ต่อมหมวกไตทาหน้าที่ควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 
2. ต่อมหมวกไตส่วนใดที่สามารถสร้างฮอร์โมนเพศได้ 
ก. อะดรีนัล เมดัลลา 
ข. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ 
ค. ทั้งข้อ ก และ ข 
ง. ไม่มีข้อถูกเพราะฮอร์โมนเพศไม่ได้สร้างจากต่อมหมวกไต 
3. การเกิดความเครียดหรือการตกใจ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนออกมาจากที่ใด 
ก. Hypothalamus 
ข. Adrenal cortex 
ค. Adrenal medulla 
ง. Adrenal-pancretic complex 
4. Epinephrine และ norepinephrine นอกจากจะเป็นฮอร์โมนแล้วยังทาหน้าที่ ใดได้อีก 
ก. เป็นตัวกระตุ้นการออสโมซิส 
ข. เป็นสารสื่อประสาท 
ค. เป็นส่วนประกอบของน้าเลือด 
ง. เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการหายใจระดับเซลล์ 
5. ข้อใดคือหน้าที่ของ Norephinephrine 
ก. เพิ่มแรงดันเลือด 
ข. เพิ่มปริมาณปัสสาวะ 
ค. เพิ่มการหลั่ง เอพิเนฟริน 
ง. เพิ่มการหายใจระดับเซลล์
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
3 
6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 
ก. เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กขยายตัว 
ข. นอร์เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กบีบตัว 
ค. นอร์เอพิเนฟรินเปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส 
ง. คอร์ติซอล (cortisol) ทาหน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด 
7. โรคเอดิสัน เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด 
ก. คอร์ติซอล 
ข. แอนโดรเจน 
ค. อัลโดสเตอร์โรน 
ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 
8. โรคคูชชิ่ง เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด 
ก. คอร์ติซอล 
ข. แอนโดรเจน 
ค. แอลโดสเตอร์โรน 
ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 
9. ข้อใดถูกต้อง 
ก. ไตมี 2 ข้าง อยู่เหนือต่อมหมวกไต 
ข. ไตมี 2 ข้าง ลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง 
ค. ไตมี 2 ข้าง รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว 
ง. ไตทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่อาการของโรค เอดิสัน 
ก. เบื่ออาหารน้าหนักลด (ผอมลง) อ่อนเพลีย 
ข. เหนื่อยง่าย อาจมีอาการท้องเสียบ่อย 
ค. ท้องอืดเฟ้อ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน 
ง. รับประทานอาหารได้มาก ใบหน้ากลมเหมือนพระจันทร์
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
4 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
ข้อที่ 
คาตอบ 
1 
ค 
2 
ก 
3 
ค 
4 
ข 
5 
ก 
6 
ง 
7 
ค 
8 
ก 
9 
ข 
10 
ง 
ถ้ายังตอบไม่ถูก 
ไม่ต้องเสียใจครับ 
เข้าไปศึกษาเนื้อหาในชุด การสอนกันก่อนนะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
5 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
เพื่อให้นักเรียนสามารถ 
1. บอกลักษณะของไตและต่อมหมวกไตได้ 
2. บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตได้ 
3. บอกผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน 
จากต่อมหมวกไตได้
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
6 
บัตรคาสั่งที่ 5.1 
ลักษณะของไต 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.1 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
7 
บัตรเนื้อหาที่ 5.1 
ลักษณะของไต 
โครงสร้างภายในของไต 
ที่มา:http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555) 
พี่ ๆ รู้ไหมว่าไตของคนเรา มีลักษณะ อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
8 
บัตรเนื้อหาที่ 5.1 
ลักษณะของไต 
ลักษณะของไต (Kidney) 
ไตเป็นอวัยวะสาคัญส่วนหนึ่งของระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งประกอบด้วย 
ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ 
ไตมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง อยู่ที่บริเวณบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง ใต้กระดูกซี่โครง 
และอยู่ 2 ข้างของกระดูกสันหลัง มีสีแดง เหมือนไตหมูสดๆ มีความยาวโดยวัด เส้นผ่าศูนย์กลางตามความยาวได้ประมาณ 11-12 เซนติเมตร และหนักข้างละ 150 กรัม 
ไตแต่ละข้างได้รับเลือดผ่านทางหลอดเลือดแดงใหญ่ ซึ่งออกจากหัวใจ เมื่อเลือดไหลผ่านไต 
จะมีการกรองผ่านหน่วยไตเล็กๆ ที่เรียกว่า เนฟรอน (Nephron) ซึ่งมีอยู่ข้างละ 1 ล้านหน่วย หน่วยไตเล็กๆ เหล่านี้ทาหน้าที่กรองของเสียจากเลือดผ่านทางท่อไต และเกิดเป็นน้าปัสสาวะ ขับออกจากร่างกายทางท่อปัสสาวะ ร่างกายสามารถดารงอยู่ได้ด้วยไตที่ปกติเพียง 1 ข้าง เพราะมีการปรับสมดุลได้ดีมาก ดังนั้นผู้ที่บริจาคไต 1 ข้างจึงสามารถมีชีวิตที่ปกติด้วยไตที่ เหลือเพียงข้างเดียวได้ 
ภาพแสดงตาแหน่งของไต ที่มา : http:// www.myfirstbrain.com586 × 329 (3 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
9 
ลักษณะโครงสร้างภายในของไต 
เมื่อนาไตมาผ่าตามยาว จะพบว่ามีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอกเรียกว่า คอร์เทกซ์ 
(cortex) ส่วนชั้นในเรียกว่า เมดัลลา (medulla) 
ชั้นคอร์เทกซ์ มีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ เมื่อขยายดูเป็นกลุ่มของหลอดเลือดฝอย 
เรียกว่า โกลเมอรูลัส (glomerulus) และถุงโบว์แมนส์แคปซูล (Bowman’s capsule) 
ทาหน้าที่เกี่ยวกับการกรองของเสียออกจากเลือดและท่อของหน่วยไตตอนต้นและตอนปลาย 
ชั้นเมดัลลา เป็นส่วนของหลอดเล็ก ๆ ที่ต่อมาจากชั้นคอร์เทกซ์ ท่อเหล่านี้รวมกัน 
อยู่เป็นหมู่รูปร่างคล้ายฝาชี เรียกว่า พิรามิด (renal pyramid) ปลายของปิรามิดเป็น 
ยอดแหลมนั้นคือที่รวมของหลอดเล็ก ๆ เรียกยอดแหลมนั้นว่า พาพิลลา (renal papilla) 
ซึ่งเปิดเข้าสู่ไมเนอร์เคลิกซ์ (minor calyx) หลาย ๆ ไมเนอร์เคลิกซ์รวมกันเป็น 
เมเจอร์เคลิกซ์ (major calyx) จากเมเจอร์เคลิกซ์นาไปสู่บริเวณที่มีลักษณะเป็นกรวย 
เรียกว่า กรวยไต (pelvis) ซึ่งเป็นที่ส่งน้าปัสสาวะลงไปสู่ท่อไต (ureter) นาไปสู่กระเพาะ 
ปัสสาวะอีกต่อหนึ่ง 
โครงสร้างภายในของไต 
ที่มา:http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
10 
หน้าที่ของไต 
หน้าที่ของไตมีหลายอย่าง ได้แก่ การปรับสมดุลน้าในร่างกาย การปรับสมดุล 
ของสารเกลือแร่และกรด-ด่างในร่างกาย การกาจัดของเสียออกจากร่างกาย การผลิต 
ฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย 
ไตกรองเลือดประมาณ 240 ลิตรต่อวัน และดูดกลับ 237.6 ลิตรต่อวัน 
ที่เหลืออีก 2.4 ลิตรกลายเป็นน้าปัสสาวะขับออกจากร่างกาย 
ไตเป็นอวัยวะที่สาคัญในการควบคุมการขับหรือเก็บน้าไว้ในร่างกาย เมื่อร่างกาย 
ขาดน้า เช่น อากาศร้อนจัด และเสียน้าไปทางเหงื่อมาก ร่างกายจะปรับสมดุลน้า 
โดยจะกระหายน้าและดื่มน้ามากขึ้น เพื่อเป็นการทดแทนน้าที่เสียไป ร่างกายจึงจะอยู่ในภาวะ 
สมดุล หรือเมื่อดื่มน้าเป็นจานวนที่มากเกินความต้องการ ไตก็จะทาหน้าที่ขับน้าส่วนเกินออก 
เช่นเดียวกัน แต่เมื่อใดที่ไตผิดปกติ ทาให้ร่างกายไม่สามารถปรับสมดุลน้าได้ จะเกิดภาวะ 
น้าเกินหรือภาวะขาดน้า ซึ่งถ้ารุนแรงมาก จะทาให้มีผลกระทบต่อสมอง จนมีอาการสับสน 
ซึม และชักได้ 
ภาพแสดงการกรองสารของหน่วยไต ที่มา : http:// www.myfirstbrain.com586 × 329 (3 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
11 
บัตรคาถามที่ 5.1 
ลักษณะของไต 
คาชี้แจง ให้นักเรียนนาตัวอักษรด้านล่างมาวางใน หน้าข้อความที่สัมพันธ์กัน 
ให้ถูกต้อง 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ไตชั้นนอก เรียกว่าอะไร 
2. ไตมีลักษณะอย่างไร 
3. ไตทาหน้าที่กรองเลือดประมาณเท่าใด 
4. กลุ่มของหลอดเลือดฝอย 
5. ไตชั้นใน เรียกว่าอะไร 
ก. คล้ายเมล็ดถั่วแดง 
ข. โกลเมอรูลัส 
ค. คอร์เทกซ์ 
ง. เมดัลลา 
จ. 240 ลิตรต่อวัน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
12 
บัตรเฉลยคาถามที่ 5.1 
ลักษณะของต่อมหมวกไต 
9vตอ 
1. ค 
2. ก 
3. จ 
4. ข 
5. ง 
ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
13 
บัตรคาสั่งที่ 5.2 
ลักษณะของต่อมหมวกไต 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
7. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
8. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
9. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.2 ใช้เวลา 20 นาที 
10. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
11. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
12. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
14 
บัตรเนื้อหาที่ 5.2 
ลักษณะของต่อมหมวกไต 
ลักษณะของต่อมหมวกไต 
ที่มา:http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555) 
พี่ ๆ รู้ไหมว่าต่อมหมวกไต มีลักษณะ อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
15 
บัตรเนื้อหาที่ 5.2 
ลักษณะของต่อมหมวกไต 
ลักษณะของต่อมหมวกไต (Adrenal gland) 
ต่อมหมวกไต เป็นต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) มี 2 ต่อม รูปร่างคล้าย 
รูปสามเหลี่ยม หรือรูปพระจันทร์เสี้ยว ตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง และอยู่สองข้าง 
ของสันหลัง มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปลายบนของไต ขนาดของต่อมหมวกไตสูง 3 – 5 เซนติเมตร กว้าง 2.5 - 3 เซนติเมตร และหนาประมาณ 1 เซนติเมตร หนัก 7 – 10 กรัม ผลิตฮอร์โมนสาคัญๆหลายชนิด จะอยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้าง มีหน้าที่ควบคุมการไหลเวียนของ โลหิตและ การหดตัวของเลือด ต่อมหมวกไตประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนเปลือก (cortex) 
เรียก ต่อมหมวกไตด้านนอก (Adrenal cortex) และส่วนใน (medulla) เรียก ต่อมหมวกไต ด้านใน (Adrenal medulla) และต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา (adrenal medulla) ซึ่งผลิตฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ต่างกัน 
ต่อมหมวกไตมีความสาคัญอย่างยิ่ง ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตจะไม่ สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ฮอร์โมนในกลุ่มนี้จะควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีน รักษาระดับสารน้าในร่างกายและช่วยให้ร่างกายต่อสู้กับความเครียดต่อเหตุการณ์ต่างๆทั้งใน ชีวิตประจาวันและยามฉุกเฉิน (fight or flight response) 
ภาพแสดงลักษณะของต่อมหมวกไต ที่มา : http://www. watchawan.blogspot.com 216 × 168 (3 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
16 
ลักษณะของต่อมหมวกไตด้านนอก ((Adrenal cortex)) 
ต่อมหมวกไตด้านนอก (Adrenal cortex) หรือส่วนเปลือก มีลักษณะค่อนข้าง 
หนาสีเหลือง เจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส (mesenchymas) ของชั้นมีโซเดิร์ม 
ของตัวอ่อน มีประมาณ 9 ใน 10 ของต่อมทั้งหมด มีบทบาทมากในร่างกาย ถ้าหน้าที่ของ 
ต่อมนี้เสียไป จะมีผลต่อคาร์โบไฮเดรต เมแทบอลิซึม (carbohydrate metabolism) 
และอิเล็กโทรไลต์ (electrolytes) และน้าของร่างกาย ส่วนนี้หลั่งฮอร์โมนซึ่งสัมพันธ์ 
อย่างใกล้ชิดกับฮอร์โมนเพศ และสารพวกสเตอรอยด์ (steroids) สร้างฮอร์โมนกลุ่ม 
สเตอรอยด์ ได้แก่ กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid) เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด 
ควบคุมเมแทบอลิซึมของน้าตาล ไขมัน ต่อต้านการอักเสบ อัลโดสเตอโรน (aldosterone) 
เพิ่มการดูดกลับของเกลือในไต และ เทสโทสเตอโรน เพิ่มลักษณะที่สองของร่างกาย 
เพศชายและการเติบโต 
ภาพแสดงลักษณะต่อมหมวกไตด้านนอก ที่มา : http://www. thaigoodview.com 500 × 500 (8 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
17 
ลักษณะต่อมหมวกไตด้านใน Adrenal medulla) 
ต่อมหมวกไตด้านใน (Adrenal medulla) มีลักษณะสีแดงคล้า มีประมาณ 
1 ใน 10 ของต่อมทั้งหมด เจริญมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเดียวกับเซลล์ประสาท 
เป็นทั้งต่อมไร้ท่อและเป็นส่วนของประสาทซิมพาเทติก จะทางานเมื่อเผชิญหน้ากับ 
ภาวะเครียด ตื่นเต้น ตกใจ กลัว หนีภัย เมื่อเจ็บปวดและ ออกกาลังกาย สร้างฮอร์โมน 
เอพิเนฟฟริน (Epinephrine) และนอร์เอพิเนฟฟริน (norepinephrine) ซึ่งเป็นฮอร์โมน 
ที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน มีหน้าที่เพิ่มระดับน้าตาลและกรดไขมันในเลือด 
เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม เพิ่มการเต้นของหัวใจ เพิ่มการบีบตัวของเส้นเลือด 
ภาพแสดงลักษณะต่อมหมวกไตด้านใน 
ที่มา : http://www. pibul.ac.th 946 × 344 (8 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
18 
บัตรคาถามที่ 5.2 
ลักษณะของต่อมหมวกไต 
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย ใน หน้าข้อความที่ถูกต้อง 
และทาเครื่องหมาย  ใน หน้าข้อความที่ผิด 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
6. ต่อมหมวกไตด้านใน เป็นต่อมไร้ท่อและส่วนของเซลล์ประสาท 
7. ต่อมหมวกไตด้านนอก มีประมาณ 1 ใน 10 ของต่อมทั้งหมด 
8. ต่อมหมวกไต มีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว อยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง 
9. ต่อมหมวกไตด้านใน มีลักษณะสีแดงคล้า เจริญมาจากเซลล์ชั้นมีโซเดิร์ม 
10. ต่อมหมวกไตด้านนอก มีลักษณะค่อนข้างหนาสีเหลือง เจริญมาจากเซลล์ ชั้นมีโซเดิร์ม
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
19 
บัตรเฉลยคาถามที่ 5.2 
ลักษณะของต่อมหมวกไต 
9vตอ 
1.  
2.  
3.  
4.  
5.  
ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
20 
บัตรคาสั่งที่ 5.3 
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.3 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
21 
บัตรเนื้อหาที่ 5.3 
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นนอก 
การสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอกต้องอาศัยฮอร์โมน ACTH 
จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามากระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex) 
สร้างฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ ได้แก่ 
1. กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid) ฮอร์โมนที่สาคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ 
คอร์ติซอล (cortisol) เป็นฮอร์โมนที่จาเป็น(essential hormone) ที่มีความสาคัญต่อชีวิต 
ทาหน้าที่ เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด โดยจะกระตุ้นเซลล์ตับให้เปลี่ยนกรดไขมันและ 
กรดอะมิโนบางตัวเป็นกลูโคส และเก็บสะสมไว้ในรูปของไกลโคเจน แล้วจะเปลี่ยนจาก 
ไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสเพื่อปล่อยเข้าสู่กระแสเลือดเมื่อต้องการเพิ่มระดับน้าตาล 
ในกระแสเลือดซึ่งเป็นขบวนการที่สาคัญ ควบคุมเมแทบอลิซึมของน้าตาล ไขมัน ต่อต้าน 
การอักเสบ 
2. ฮอร์โมนมิเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid) ฮอร์โมนที่สาคัญ 
ในกลุ่มนี้ได้แก่ อัลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ควบคุมความสมดุลของน้าและ 
แร่ธาตุในร่างกาย เพิ่มการดูดโซเดียมกลับสู่หน่วยไต ขับ K+ ออกจากท่อหน่วยไต 
ควบคุมความสมดุลของฟอสเฟต 
รู้ไหม ……ต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิดทาหน้าที่อะไร
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
22 
3. ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone ) ซึ่งสร้างปริมาณเพียงเล็กน้อย 
จะสร้างแอนโดรเจน (androgen) และเทสโทสเทอโรน (Testosterone) 
ในเพศชายทาหน้าที่เพิ่มลักษณะของร่างกายที่เป็นเพศชายและการเติบโต 
ส่วนในเพศหญิง เนื่องจากต่อมหมวกไตส่วนนอกนี้ผลิตแอนโดรเจน (androgen) 
ถ้ามีการผลิตฮอร์โมนนี้มากซึ่งอาจเกิดจากมีเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต จะทาให้เกิดลักษณะ 
ของเพศชายได้ คือมีพฤติกรรมคล้ายผู้ชาย มีการสร้างโปรตีนที่ทาให้ แขนขาใหญ่ มีหนวด 
เครา เสียงห้าว ไม่มีประจาเดือน มีขนขึ้นตามตัวและใบหน้า 
ภาพแสดงการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไตส่วนนอก 
ที่มา : http://www. vcharkarn.com 600 × 293 (8 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
23 
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตด้านใน 
ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla ) เป็นทั้งต่อมไร้ท่อ 
และเป็นส่วนของประสาทซิมพาเทติก จะทางานเมื่อเผชิญหน้ากับ ภาวะเครียด ตื่นเต้น 
ตกใจ กลัว หนีภัย เมื่อเจ็บปวดและออกกาลังกาย สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ 
1. ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) หรือ อะดรีนาลิน 
(adrenalin hormone ) 
2. ฮอร์โมนนอร์เอพิเนฟริน ( norepinephrine hormone ) หรือ 
นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin hormone ) 
ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) 
อวัยวะเป้าหมาย : ตับ หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก หัวใจ 
หน้าที่ : เปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือด 
ทาให้มีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทาให้ร่างกาย 
มีพลังมากขึ้น กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทาให้เลือดลาเลียงออกซิเจนและ 
กลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆ 
ขยายตัว หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณผิวหนังและช่องท้องหดตัว 
ภาพแสดงการควบคุมหลั่งฮอร์โมนของต่อมหมวกไต 
ที่มา : http://www. il.mahidol.ac.th 507 × 506 (30 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
24 
ฮอร์โมนนอร์เอพิเนฟริน ( norepinephrine hormone ) 
อวัยวะเป้าหมาย : ตับ หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก หัวใจ 
หน้าที่ : กระตุ้นให้เส้นเลือดมการบีบตัว ผลอื่นคล้ายๆ adrenalin แต่มีฤทธิ์น้อยกว่า เปลี่ยน ไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดทาให้ 
มีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทาให้ร่างกาย 
มีพลังมากขึ้นกระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทาให้เลือดลาเลียงออกซิเจนและกลูโคส 
ไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆ 
หดหรือบีบตัว 
ภาพแสดงการกระตุ้นเซลล์ประสาทซิมพาเทติกทาให้มีการหลั่งฮอร์โมนเอพิเนฟริน และนอร์เอพิเนฟรินจากต่อมหมวกไตส่วนใน 
ที่มา : http://www3.ipst.ac.th353 × 346 (30 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
25 
บัตรคาถามที่ 5.3 
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ต่อมหมวกไตส่วนใดที่สามารถสร้างฮอร์โมนเพศได้ 
ก. อะดรีนัล เมดัลลา 
ข. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ 
ค. ทั้งข้อ ก และ ข 
ง. ไม่มีข้อถูกเพราะฮอร์โมนเพศไม่ได้สร้างจากต่อมหมวกไต 
2. การเกิดความเครียดหรือการตกใจ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนออกมาจากที่ใด 
ก. Hypothalamus 
ข. Adrenal cortex 
ค. Adrenal medulla 
ง. Adrenal-pancretic complex 
3. Epinephrine และ norepinephrine นอกจากจะเป็นฮอร์โมนแล้วยังทาหน้าที่ ใดได้อีก 
ก. เป็นสารสื่อประสาท 
ข. เป็นตัวกระตุ้นการออสโมซิส 
ค. เป็นส่วนประกอบของน้าเลือด 
ง. เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการหายใจระดับเซลล์ 
4. ข้อใดคือหน้าที่ของ Norephinephrine 
ก. เพิ่มแรงดันเลือด 
ข. เพิ่มปริมาณปัสสาวะ 
ค. เพิ่มการหลั่ง เอพิเนฟริน 
ง. เพิ่มการหายใจระดับเซลล์ 
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 
ก. เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กขยายตัว 
ข. นอร์เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กบีบตัว 
ค. นอร์เอพิเนฟรินเปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส 
ง. คอร์ติซอล (cortisol) ทาหน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
26 
บัตรเฉลยคาถามที่ 5.3 
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
1.ก 
2.ค 
3.ก 
4.ก 
5.ง 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
27 
บัตรคาสั่งที่ 5.4 
ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.4 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
28 
บัตรเนื้อหาที่ 5.4 
ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
ความผิดปกติจากต่อมหมวกไตด้านนอก 
ต่อมหมวกไตด้านนอกเป็นต่อมหมวกไตที่มีความสาคัญมาก 
ถ้าต่อมหมวกไตด้านนอก ถูกทาลายจะไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ 
ทาให้เป็น โรคแอดดิสัน ( Addison’s disease ) ผู้ที่เป็นโรคนี้ร่างกายจะซูบผอม 
ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ 
โรคแอดดิสัน หมายถึง ภาวะพร่องฮอร์โมนสเตอรอยด์เรื้อรัง พบมากในคนอายุ 
30-50 ปี เป็นโรคที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง 
เกิดจากต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อยกว่าปกติ ตรงกันข้ามกับ 
โรคคุชชิงที่สร้างฮอร์โมนมากกว่าปกติ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากต่อมหมวกไตชั้นนอก 
ถูกทาลายหรือฝ่อ เนื่องมาจากปฏิกิริยาภูมิแพ้ต่อตัวเอง หรือ ออโตอิมมูน อาจพบร่วมกับ 
ต่อมไทรอยด์อักเสบ ต่อมพาราไทรอยด์ทางานน้อย เบาหวาน ผมร่วงเป็นหย่อม 
ไม่ทราบสาเหตุ เป็นต้น ส่วนน้อยอาจเกิดจากเป็นวัณโรคของต่อมหมวกไต หรือมะเร็ง 
ที่แพร่กระจายมาจากที่อื่น (เช่น ปอด, เต้านม) โรคติดเชื้อราของต่อมหมวกไต เป็นต้น 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าต่อมหมวกไตทางานผิดปกติ จะเกิดอะไรขึ้นต่อร่างกาย อยากรู้เชิญทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
29 
อาการของโรคแอดดิสัน 
มักจะค่อย ๆ เกิดขึ้นช้า ๆ ด้วยอาการเบื่ออาหารน้าหนักลด (ผอมลง) อ่อนเพลีย 
เหนื่อยง่าย อาจมีอาการท้องเสียบ่อย ท้องอืดเฟ้อ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ในผู้หญิงอาจมี 
อาการขาดประจาเดือน บางคนผิวหนังอาจมีรอยด่างขาวร่วมด้วย ผู้ป่วยมักมีความดันโลหิต 
ต่า ทาให้มีอาการหน้ามืด วิงเวียนเวลาลุกขึ้นเร็ว ๆ ผู้ป่วยอาจมีอารมณ์อ่อนไหว ซึมเศร้า 
หรือมีอาการของโรคจิต 
ผิวหนังจะมีสีดาคล้าที่บริเวณที่มีรอยถูไถ เช่น ข้อเข่า ข้อพับ ข้อศอก ใบหน้า 
หัวนม ลายมือ รอยแผลผ่าตัด เป็นต้น และบริเวณเยื่อเมือกในช่องปาก (เหงือก ริมฝีปาก 
กระพุ้งแก้ม ลิ้น) อาจมีรอยตกกระดา ๆ อาจพบภาวะซีด ความดันโลหิตต่า ขนรักแร้และ 
ขนในบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ร่วง ซึ่งจะเห็นชัดในผู้หญิง 
ถ้าไม่ได้รับการรักษา อาจมีภาวะน้าตาลในเลือดต่า ถ้าเป็นรุนแรง อาจเกิดภาวะ 
ต่อมหมวกไตไม่ทางานเฉียบพลัน (acute adrenal failure) ซึ่งอาจพบขณะเป็นโรคติดเชื้อ 
ได้รับบาดเจ็บ ขณะผ่าตัด หรือมีภาวะเครียดทางร่างกาย ทาให้มีไข้สูง ซึม ปวดท้อง คลื่นไส้ 
อาเจียน ความดันตก ช็อก ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงตายได้ 
การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคแอดดิสัน 
หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาลเพื่อวินิจฉัยโดยการตรวจเลือด 
ถ้าพบระดับคอร์ติซอลซึ่งเป็นฮอร์โมนสเตอรอยด์ต่า ระดับโซเดียมในเลือดต่า 
ระดับโพแทสเซียมในเลือดสูง ระดับน้าตาลในเลือดต่า การรักษา ให้กินสเตอรอยด์ 
เช่น ไฮโดรคอร์ติโซน (Hydrocortisone) วันละ 15-25 มิลลิกรัม แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง 
ซึ่งควรกินเป็นประจาทุกวันไปจนตลอดชีวิต หรืออาจปฏิบัติตามคาแนะนาของแพทย์ ดังนี้ 
1. ผู้ป่วยควรกินอาหารให้เค็มจัด เพราะต้องการเกลือโซเดียมมากขึ้น และควรกิน 
อาหารพวกโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต (แป้งและน้าตาล) ให้มาก ๆ ควรกินบ่อยมื้อกว่าปกติ 
2. โรคนี้มีทางรักษาให้มีชีวิตยืนยาวเช่นคนปกติ แต่ต้องกินยาทุกวัน อย่าได้ขาด 
3. ถ้าผู้ป่วยเป็นโรคติดเชื้อหรือมีอาการไม่สบายอื่น ๆ ควรรีบหาหมอ อาจต้องเพิ่ม 
ขนาดของยาไฮโดรคอร์ติโซน ในช่วงที่ไม่สบาย เพื่อป้องกันการเกิดภาวะต่อมหมวกไต 
ไม่ทางานเฉียบพลัน 
4. ผู้ป่วยควรพกสมุดหรือบัตรติดตัวเป็นประจา เขียนบอกถึงโรคที่เป็น และยาที่ใช้ 
รักษา หากเกิดภาวะต่อมหมวกไตไม่ทางานเฉียบพลันในเวลาใดเวลาหนึ่ง ผู้พบเห็นและ 
แพทย์จะได้ให้ความช่วยเหลือได้ถูกต้อง โดยให้น้าเกลือและฉีดไฮโดรคอร์ติโซน ขนาด 100 
มิลลิกรัม เข้าทางหลอดเลือดดาทันที
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
30 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ 
ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids ) ได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) 
เป็นฮอร์โมนที่จาเป็น (essential hormone) ที่มีความสาคัญต่อชีวิต 
ถ้าขาดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ซึ่งเป็นฮอร์โมนจาเป็นจะมีผลอย่างมากต่อเซลล์ของร่างกาย 
ความผิดปกติ : ถ้ามีฮอร์โมนกลุ่มนี้มากเกินไปจะทาให้เกิด โรคคูชชิง 
(Cushing’s syndrome) พบในผู้ป่วยที่มีเนื้องอกของต่อมหมวกไตส่วนนอกหรือได้รับ 
การรักษาด้วยยาหรือฮอร์โมนที่มีคอร์ติโคสเตรอยด์เป็นส่วนผสม เพื่อป้องกันอาการแพ้ 
อักเสบติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เกิดขึ้นได้ทั้งชายและหญิง 
อาการของโรคคูชชิง มีดังนี้ 
1. เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีนทาให้ระดับน้าตาล 
ในกระแสเลือดสูงขึ้น 
2. กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา 
3. อ้วน มีไขมันสะสมแกนกลางลาตัว ใบหน้ากลมคล้ายดวงจันทร์ 
หน้าท้องแตกลาย บริเวณต้นคอมีหนอกยื่นออกมา 
ภาพแสดงลักษณะใบหน้าของผู้ป่วยโรคคูชชิง 
ที่มา : http:// www.pibul.ac.th 300 × 304 (8 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
31 
ความผิดปกติจากฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ 
ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid) ฮอร์โมนที่สาคัญ 
ในกลุ่มนี้ได้แก่ อัลโดสเตอโรน (aldosterone)ทาหน้าที่ในการควบคุมความสมดุลของน้า 
และแร่ธาตุในร่างกาย 
ความผิดปกติ : ถ้าขาด อัลโดสเตอโรน (aldosterone) จะทาให้ร่างกาย 
สูญเสียน้าและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้ความดันเลือดในร่างกายลดลง 
จนอาจทาให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดต่า 
ผู้ป่วยโรคแอดติสัน 
ที่มา : รศ.นพ.วิทยา ศรีดามา คณะแพยทศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 200 × 186 
(20 พฤษภาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
32 
ความผิดปกติจากฮอร์โมนเพศ 
ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone ) ซึ่งสร้างปริมาณเพียงเล็กน้อยในต่อมหมวกไต เมื่อเปรียบเทียบกับที่สร้างจากอวัยวะเพศดังนั้น ในวัยผู้ใหญ่ เมื่อหลั่งฮอร์โมนนี้ออกมามาก 
จะไม่พบความผิดปกติ แต่ถ้ามีมากในวัยเด็ก ถ้าเป็นผู้ชาย จะทาให้เป็นหนุ่มเร็วกว่ากาหนด 
ส่วนในเพศหญิง เนื่องจากต่อมหมวกไต ส่วนนอกนี้ผลิตแอนโดรเจน (androgen) 
ถ้ามีการผลิตฮอร์โมนนี้มากซึ่งอาจเกิดจากมีเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต จะทาให้เกิดลักษณะของ เพศชายได้ คือมีพฤติกรรมคล้ายผู้ชาย มีการสร้างโปรตีนที่ทาให้แขนขาใหญ่ มีหนวดเครา เสียงห้าว ไม่มีประจาเดือน มีขนขึ้นตามตัวและใบหน้า 
ลักษณะของเพศหญิงที่ต่อมหมวกไตผลิตฮอร์โมนเพศมากกว่าปกติ 
ที่มา : http://www.pibul.ac.th 500 × 400 (8 เมษายน 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
33 
บัตรคาถามที่ 5.4 
ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามหรือเติมข้อความที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. โรคแอดดิสัน เกิดขึ้นจากสาเหตุใด 
………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. 
2. โรคคูชชิง และ โรคแอดดิสัน เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร 
………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. 
3. ในเพศหญิง ที่มีลักษณะคล้ายเพศชาย เกิดขึ้นจากสาเหตุใด 
………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถ้าขาด แอลโดสเตอโรน (aldosterone) จะมีผลอย่างไรต่อร่างกาย 
………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. 
5. โรคคูชชิง มีอาการอย่างไรบ้าง 
………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………..
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
34 
บัตรเฉลยคาถามที่ 5.4 
ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 
แนวคาตอบ 
1. โรคแอดดิสัน เกิดจากต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อยกว่าปกติ 
2. โรคคูชชิง แตกต่างจาก โรคแอดดิสัน คือ ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน 
กลูโคคอร์ติคอยด์ ซึ่งเป็นสเตอรอยด์ จะทาให้เกิดโรคแอดดิสัน 
แต่ถ้ามีกลูโคคอร์ติคอยด์มาก จะทาให้เกิดโรคคูชชิง 
3. ต่อมหมวกไตในเพศหญิงผลิตแอนโดรเจน (androgen) มากกว่าปกติ 
4. ถ้าขาด อัลโดสเตอโรน (aldosterone) จะทาให้ร่างกายสูญเสียน้าและโซเดียม ไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้ความดันเลือดในร่างกายลดลงจนอาจทาให้ผู้ป่วย ตายเพราะความดันเลือดต่า 
5. เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีนทาให้ระดับน้าตาล 
ในกระแสเลือดสูงขึ้น กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมัน ตามบริเวณแขนขา อ้วน มีไขมันสะสมแกนกลางลาตัว ใบหน้ากลมคล้าย 
ดวงจันทร์ หน้าท้องแตกลาย บริเวณต้นคอมีหนอกยื่นออกมา 
ปรบมือให้คนเก่งหน่อยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
35 
แบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 
ก. ต่อมหมวกไตมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง 
ข. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม อยู่ใต้ไตทั้งสองข้าง 
ค. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว 
ง. ต่อมหมวกไตทาหน้าที่ควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 
2. ข้อใดถูกต้อง 
ก. ไตมี 2 ข้าง อยู่เหนือต่อมหมวกไต 
ข. ไตมี 2 ข้าง ลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง 
ค. ไตมี 2 ข้าง รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว 
ง. ไตทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 
3. ต่อมหมวกไตส่วนใดที่สามารถสร้างฮอร์โมนเพศได้ 
ก. อะดรีนัล เมดัลลา 
ข. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ 
ค. ทั้งข้อ ก และ ข 
ง. ไม่มีข้อถูกเพราะฮอร์โมนเพศไม่ได้สร้างจากต่อมหมวกไต 
4. การเกิดความเครียดหรือการตกใจ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนออกมาจากที่ใด 
ก. Hypothalamus 
ข. Adrenal cortex 
ค. Adrenal medulla 
ง. Adrenal-pancretic complex 
5. Epinephrine และ norepinephrine นอกจากจะเป็นฮอร์โมนแล้วยังทาหน้าที่ ใดได้อีก 
ก. เป็นตัวกระตุ้นการออสโมซิส 
ข. เป็นสารสื่อประสาท 
ค. เป็นส่วนประกอบของน้าเลือด 
ง. เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการหายใจระดับเซลล์
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
36 
6. ข้อใดคือหน้าที่ของ Norephinephrine 
ก. เพิ่มแรงดันเลือด 
ข. เพิ่มปริมาณปัสสาวะ 
ค. เพิ่มการหลั่ง เอพิเนฟริน 
ง. เพิ่มการหายใจระดับเซลล์ 
7. โรคเอดิสัน เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด 
ก. คอร์ติซอล 
ข. แอนโดรเจน 
ค. อัลโดสเตอร์โรน 
ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 
8. โรคคูชชิ่ง เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด 
ก. คอร์ติซอล 
ข. แอนโดรเจน 
ค. แอลโดสเตอร์โรน 
ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 
9. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่อาการของโรค เอดิสัน 
ก. เบื่ออาหารน้าหนักลด (ผอมลง) อ่อนเพลีย 
ข. เหนื่อยง่าย อาจมีอาการท้องเสียบ่อย 
ค. ท้องอืดเฟ้อ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน 
ง. รับประทานอาหารได้มาก ใบหน้ากลมเหมือนพระจันทร์ 
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 
ก. เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กขยายตัว 
ข. นอร์เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กบีบตัว 
ค. นอร์เอพิเนฟรินเปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส 
ง. คอร์ติซอล (cortisol) ทาหน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
37 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
ข้อที่ 
คาตอบ 
1 
ค 
2 
ข 
3 
ก 
4 
ค 
5 
ข 
6 
ก 
7 
ค 
8 
ก 
9 
ข 
10 
ง 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม 
เก่งมากครับ 
ศึกษาในชุดการสอนต่อไปได้เลยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 
38 
บรรณานุกรม 
เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. 
____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : 
ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. 
ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. 
นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : 
โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. 
ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : 
ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. 
ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: 
เจริญดีการพิมพ์, 2536. 
วิทยา ศรีดามา. ภาพผู้ป่วยแอดดิสัน. คณะแพยทศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,มปป. 
สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต 
อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. 
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. 
กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. 
สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . 
หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 
____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. 
____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. 
http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555) 
http://www. watchawan.blogspot.com 216 × 168 (3 เมษายน 2555) 
http://www. thaigoodview.com 500 × 500 (8 เมษายน 2555) 
http://www. pibul.ac.th 946 × 344 (8 เมษายน 2555) 
http://www. vcharkarn.com 600 × 293 (8 เมษายน 2555) 
http://www3.ipst.ac.th353 × 346 (30 มีนาคม 2555) 
http://www. thaigoodview.com 353 × 346 (30 มีนาคม 2555) 
http:// www.pibul.ac.th 300 × 304 (8 เมษายน 2555) 
http://www.pibul.ac.th 500 × 400 (8 เมษายน 2555)

More Related Content

What's hot

บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อsukanya petin
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

Viewers also liked

เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนWan Ngamwongwan
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชAomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกแบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจแบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนWichai Likitponrak
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)konfunglum
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Viewers also liked (20)

ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โทแบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
แบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกแบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูก
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียน
 
แบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจแบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจ
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมน
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 

Similar to ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต

เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 newเลิกเสี่ยง. ป่าน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร Aoy Amm Mee
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยสิปป์แสง สุขผล
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72june41
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมWichai Likitponrak
 
สุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละสุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละTeraphat Aroonpairoj
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 

Similar to ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต (20)

เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
สุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละสุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละ
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต

  • 1. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ต่อมหมวกไตมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง ข. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม อยู่ใต้ไตทั้งสองข้าง ค. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ง. ต่อมหมวกไตทาหน้าที่ควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 2. ต่อมหมวกไตส่วนใดที่สามารถสร้างฮอร์โมนเพศได้ ก. อะดรีนัล เมดัลลา ข. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ ค. ทั้งข้อ ก และ ข ง. ไม่มีข้อถูกเพราะฮอร์โมนเพศไม่ได้สร้างจากต่อมหมวกไต 3. การเกิดความเครียดหรือการตกใจ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนออกมาจากที่ใด ก. Hypothalamus ข. Adrenal cortex ค. Adrenal medulla ง. Adrenal-pancretic complex 4. Epinephrine และ norepinephrine นอกจากจะเป็นฮอร์โมนแล้วยังทาหน้าที่ ใดได้อีก ก. เป็นตัวกระตุ้นการออสโมซิส ข. เป็นสารสื่อประสาท ค. เป็นส่วนประกอบของน้าเลือด ง. เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการหายใจระดับเซลล์ 5. ข้อใดคือหน้าที่ของ Norephinephrine ก. เพิ่มแรงดันเลือด ข. เพิ่มปริมาณปัสสาวะ ค. เพิ่มการหลั่ง เอพิเนฟริน ง. เพิ่มการหายใจระดับเซลล์
  • 2. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 3 6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กขยายตัว ข. นอร์เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กบีบตัว ค. นอร์เอพิเนฟรินเปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส ง. คอร์ติซอล (cortisol) ทาหน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด 7. โรคเอดิสัน เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด ก. คอร์ติซอล ข. แอนโดรเจน ค. อัลโดสเตอร์โรน ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 8. โรคคูชชิ่ง เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด ก. คอร์ติซอล ข. แอนโดรเจน ค. แอลโดสเตอร์โรน ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 9. ข้อใดถูกต้อง ก. ไตมี 2 ข้าง อยู่เหนือต่อมหมวกไต ข. ไตมี 2 ข้าง ลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง ค. ไตมี 2 ข้าง รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ง. ไตทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่อาการของโรค เอดิสัน ก. เบื่ออาหารน้าหนักลด (ผอมลง) อ่อนเพลีย ข. เหนื่อยง่าย อาจมีอาการท้องเสียบ่อย ค. ท้องอืดเฟ้อ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ง. รับประทานอาหารได้มาก ใบหน้ากลมเหมือนพระจันทร์
  • 3. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 4 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ค 2 ก 3 ค 4 ข 5 ก 6 ง 7 ค 8 ก 9 ข 10 ง ถ้ายังตอบไม่ถูก ไม่ต้องเสียใจครับ เข้าไปศึกษาเนื้อหาในชุด การสอนกันก่อนนะครับ
  • 4. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1. บอกลักษณะของไตและต่อมหมวกไตได้ 2. บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตได้ 3. บอกผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน จากต่อมหมวกไตได้
  • 5. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 6 บัตรคาสั่งที่ 5.1 ลักษณะของไต โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.1 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 6. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 7 บัตรเนื้อหาที่ 5.1 ลักษณะของไต โครงสร้างภายในของไต ที่มา:http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555) พี่ ๆ รู้ไหมว่าไตของคนเรา มีลักษณะ อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
  • 7. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 8 บัตรเนื้อหาที่ 5.1 ลักษณะของไต ลักษณะของไต (Kidney) ไตเป็นอวัยวะสาคัญส่วนหนึ่งของระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งประกอบด้วย ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ ไตมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง อยู่ที่บริเวณบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง ใต้กระดูกซี่โครง และอยู่ 2 ข้างของกระดูกสันหลัง มีสีแดง เหมือนไตหมูสดๆ มีความยาวโดยวัด เส้นผ่าศูนย์กลางตามความยาวได้ประมาณ 11-12 เซนติเมตร และหนักข้างละ 150 กรัม ไตแต่ละข้างได้รับเลือดผ่านทางหลอดเลือดแดงใหญ่ ซึ่งออกจากหัวใจ เมื่อเลือดไหลผ่านไต จะมีการกรองผ่านหน่วยไตเล็กๆ ที่เรียกว่า เนฟรอน (Nephron) ซึ่งมีอยู่ข้างละ 1 ล้านหน่วย หน่วยไตเล็กๆ เหล่านี้ทาหน้าที่กรองของเสียจากเลือดผ่านทางท่อไต และเกิดเป็นน้าปัสสาวะ ขับออกจากร่างกายทางท่อปัสสาวะ ร่างกายสามารถดารงอยู่ได้ด้วยไตที่ปกติเพียง 1 ข้าง เพราะมีการปรับสมดุลได้ดีมาก ดังนั้นผู้ที่บริจาคไต 1 ข้างจึงสามารถมีชีวิตที่ปกติด้วยไตที่ เหลือเพียงข้างเดียวได้ ภาพแสดงตาแหน่งของไต ที่มา : http:// www.myfirstbrain.com586 × 329 (3 เมษายน 2555)
  • 8. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 9 ลักษณะโครงสร้างภายในของไต เมื่อนาไตมาผ่าตามยาว จะพบว่ามีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอกเรียกว่า คอร์เทกซ์ (cortex) ส่วนชั้นในเรียกว่า เมดัลลา (medulla) ชั้นคอร์เทกซ์ มีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ เมื่อขยายดูเป็นกลุ่มของหลอดเลือดฝอย เรียกว่า โกลเมอรูลัส (glomerulus) และถุงโบว์แมนส์แคปซูล (Bowman’s capsule) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการกรองของเสียออกจากเลือดและท่อของหน่วยไตตอนต้นและตอนปลาย ชั้นเมดัลลา เป็นส่วนของหลอดเล็ก ๆ ที่ต่อมาจากชั้นคอร์เทกซ์ ท่อเหล่านี้รวมกัน อยู่เป็นหมู่รูปร่างคล้ายฝาชี เรียกว่า พิรามิด (renal pyramid) ปลายของปิรามิดเป็น ยอดแหลมนั้นคือที่รวมของหลอดเล็ก ๆ เรียกยอดแหลมนั้นว่า พาพิลลา (renal papilla) ซึ่งเปิดเข้าสู่ไมเนอร์เคลิกซ์ (minor calyx) หลาย ๆ ไมเนอร์เคลิกซ์รวมกันเป็น เมเจอร์เคลิกซ์ (major calyx) จากเมเจอร์เคลิกซ์นาไปสู่บริเวณที่มีลักษณะเป็นกรวย เรียกว่า กรวยไต (pelvis) ซึ่งเป็นที่ส่งน้าปัสสาวะลงไปสู่ท่อไต (ureter) นาไปสู่กระเพาะ ปัสสาวะอีกต่อหนึ่ง โครงสร้างภายในของไต ที่มา:http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555)
  • 9. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 10 หน้าที่ของไต หน้าที่ของไตมีหลายอย่าง ได้แก่ การปรับสมดุลน้าในร่างกาย การปรับสมดุล ของสารเกลือแร่และกรด-ด่างในร่างกาย การกาจัดของเสียออกจากร่างกาย การผลิต ฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย ไตกรองเลือดประมาณ 240 ลิตรต่อวัน และดูดกลับ 237.6 ลิตรต่อวัน ที่เหลืออีก 2.4 ลิตรกลายเป็นน้าปัสสาวะขับออกจากร่างกาย ไตเป็นอวัยวะที่สาคัญในการควบคุมการขับหรือเก็บน้าไว้ในร่างกาย เมื่อร่างกาย ขาดน้า เช่น อากาศร้อนจัด และเสียน้าไปทางเหงื่อมาก ร่างกายจะปรับสมดุลน้า โดยจะกระหายน้าและดื่มน้ามากขึ้น เพื่อเป็นการทดแทนน้าที่เสียไป ร่างกายจึงจะอยู่ในภาวะ สมดุล หรือเมื่อดื่มน้าเป็นจานวนที่มากเกินความต้องการ ไตก็จะทาหน้าที่ขับน้าส่วนเกินออก เช่นเดียวกัน แต่เมื่อใดที่ไตผิดปกติ ทาให้ร่างกายไม่สามารถปรับสมดุลน้าได้ จะเกิดภาวะ น้าเกินหรือภาวะขาดน้า ซึ่งถ้ารุนแรงมาก จะทาให้มีผลกระทบต่อสมอง จนมีอาการสับสน ซึม และชักได้ ภาพแสดงการกรองสารของหน่วยไต ที่มา : http:// www.myfirstbrain.com586 × 329 (3 เมษายน 2555)
  • 10. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 11 บัตรคาถามที่ 5.1 ลักษณะของไต คาชี้แจง ให้นักเรียนนาตัวอักษรด้านล่างมาวางใน หน้าข้อความที่สัมพันธ์กัน ให้ถูกต้อง (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ไตชั้นนอก เรียกว่าอะไร 2. ไตมีลักษณะอย่างไร 3. ไตทาหน้าที่กรองเลือดประมาณเท่าใด 4. กลุ่มของหลอดเลือดฝอย 5. ไตชั้นใน เรียกว่าอะไร ก. คล้ายเมล็ดถั่วแดง ข. โกลเมอรูลัส ค. คอร์เทกซ์ ง. เมดัลลา จ. 240 ลิตรต่อวัน
  • 11. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 12 บัตรเฉลยคาถามที่ 5.1 ลักษณะของต่อมหมวกไต 9vตอ 1. ค 2. ก 3. จ 4. ข 5. ง ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
  • 12. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 13 บัตรคาสั่งที่ 5.2 ลักษณะของต่อมหมวกไต โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 7. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 8. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 9. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.2 ใช้เวลา 20 นาที 10. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 11. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 12. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 13. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 14 บัตรเนื้อหาที่ 5.2 ลักษณะของต่อมหมวกไต ลักษณะของต่อมหมวกไต ที่มา:http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555) พี่ ๆ รู้ไหมว่าต่อมหมวกไต มีลักษณะ อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
  • 14. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 15 บัตรเนื้อหาที่ 5.2 ลักษณะของต่อมหมวกไต ลักษณะของต่อมหมวกไต (Adrenal gland) ต่อมหมวกไต เป็นต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) มี 2 ต่อม รูปร่างคล้าย รูปสามเหลี่ยม หรือรูปพระจันทร์เสี้ยว ตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง และอยู่สองข้าง ของสันหลัง มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปลายบนของไต ขนาดของต่อมหมวกไตสูง 3 – 5 เซนติเมตร กว้าง 2.5 - 3 เซนติเมตร และหนาประมาณ 1 เซนติเมตร หนัก 7 – 10 กรัม ผลิตฮอร์โมนสาคัญๆหลายชนิด จะอยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้าง มีหน้าที่ควบคุมการไหลเวียนของ โลหิตและ การหดตัวของเลือด ต่อมหมวกไตประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนเปลือก (cortex) เรียก ต่อมหมวกไตด้านนอก (Adrenal cortex) และส่วนใน (medulla) เรียก ต่อมหมวกไต ด้านใน (Adrenal medulla) และต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา (adrenal medulla) ซึ่งผลิตฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ต่างกัน ต่อมหมวกไตมีความสาคัญอย่างยิ่ง ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตจะไม่ สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ฮอร์โมนในกลุ่มนี้จะควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีน รักษาระดับสารน้าในร่างกายและช่วยให้ร่างกายต่อสู้กับความเครียดต่อเหตุการณ์ต่างๆทั้งใน ชีวิตประจาวันและยามฉุกเฉิน (fight or flight response) ภาพแสดงลักษณะของต่อมหมวกไต ที่มา : http://www. watchawan.blogspot.com 216 × 168 (3 เมษายน 2555)
  • 15. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 16 ลักษณะของต่อมหมวกไตด้านนอก ((Adrenal cortex)) ต่อมหมวกไตด้านนอก (Adrenal cortex) หรือส่วนเปลือก มีลักษณะค่อนข้าง หนาสีเหลือง เจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส (mesenchymas) ของชั้นมีโซเดิร์ม ของตัวอ่อน มีประมาณ 9 ใน 10 ของต่อมทั้งหมด มีบทบาทมากในร่างกาย ถ้าหน้าที่ของ ต่อมนี้เสียไป จะมีผลต่อคาร์โบไฮเดรต เมแทบอลิซึม (carbohydrate metabolism) และอิเล็กโทรไลต์ (electrolytes) และน้าของร่างกาย ส่วนนี้หลั่งฮอร์โมนซึ่งสัมพันธ์ อย่างใกล้ชิดกับฮอร์โมนเพศ และสารพวกสเตอรอยด์ (steroids) สร้างฮอร์โมนกลุ่ม สเตอรอยด์ ได้แก่ กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid) เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด ควบคุมเมแทบอลิซึมของน้าตาล ไขมัน ต่อต้านการอักเสบ อัลโดสเตอโรน (aldosterone) เพิ่มการดูดกลับของเกลือในไต และ เทสโทสเตอโรน เพิ่มลักษณะที่สองของร่างกาย เพศชายและการเติบโต ภาพแสดงลักษณะต่อมหมวกไตด้านนอก ที่มา : http://www. thaigoodview.com 500 × 500 (8 เมษายน 2555)
  • 16. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 17 ลักษณะต่อมหมวกไตด้านใน Adrenal medulla) ต่อมหมวกไตด้านใน (Adrenal medulla) มีลักษณะสีแดงคล้า มีประมาณ 1 ใน 10 ของต่อมทั้งหมด เจริญมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเดียวกับเซลล์ประสาท เป็นทั้งต่อมไร้ท่อและเป็นส่วนของประสาทซิมพาเทติก จะทางานเมื่อเผชิญหน้ากับ ภาวะเครียด ตื่นเต้น ตกใจ กลัว หนีภัย เมื่อเจ็บปวดและ ออกกาลังกาย สร้างฮอร์โมน เอพิเนฟฟริน (Epinephrine) และนอร์เอพิเนฟฟริน (norepinephrine) ซึ่งเป็นฮอร์โมน ที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน มีหน้าที่เพิ่มระดับน้าตาลและกรดไขมันในเลือด เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม เพิ่มการเต้นของหัวใจ เพิ่มการบีบตัวของเส้นเลือด ภาพแสดงลักษณะต่อมหมวกไตด้านใน ที่มา : http://www. pibul.ac.th 946 × 344 (8 เมษายน 2555)
  • 17. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 18 บัตรคาถามที่ 5.2 ลักษณะของต่อมหมวกไต คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย ใน หน้าข้อความที่ถูกต้อง และทาเครื่องหมาย  ใน หน้าข้อความที่ผิด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 6. ต่อมหมวกไตด้านใน เป็นต่อมไร้ท่อและส่วนของเซลล์ประสาท 7. ต่อมหมวกไตด้านนอก มีประมาณ 1 ใน 10 ของต่อมทั้งหมด 8. ต่อมหมวกไต มีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว อยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง 9. ต่อมหมวกไตด้านใน มีลักษณะสีแดงคล้า เจริญมาจากเซลล์ชั้นมีโซเดิร์ม 10. ต่อมหมวกไตด้านนอก มีลักษณะค่อนข้างหนาสีเหลือง เจริญมาจากเซลล์ ชั้นมีโซเดิร์ม
  • 18. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 19 บัตรเฉลยคาถามที่ 5.2 ลักษณะของต่อมหมวกไต 9vตอ 1.  2.  3.  4.  5.  ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
  • 19. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 20 บัตรคาสั่งที่ 5.3 ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.3 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 20. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 21 บัตรเนื้อหาที่ 5.3 ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นนอก การสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอกต้องอาศัยฮอร์โมน ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามากระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex) สร้างฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ ได้แก่ 1. กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid) ฮอร์โมนที่สาคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) เป็นฮอร์โมนที่จาเป็น(essential hormone) ที่มีความสาคัญต่อชีวิต ทาหน้าที่ เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด โดยจะกระตุ้นเซลล์ตับให้เปลี่ยนกรดไขมันและ กรดอะมิโนบางตัวเป็นกลูโคส และเก็บสะสมไว้ในรูปของไกลโคเจน แล้วจะเปลี่ยนจาก ไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสเพื่อปล่อยเข้าสู่กระแสเลือดเมื่อต้องการเพิ่มระดับน้าตาล ในกระแสเลือดซึ่งเป็นขบวนการที่สาคัญ ควบคุมเมแทบอลิซึมของน้าตาล ไขมัน ต่อต้าน การอักเสบ 2. ฮอร์โมนมิเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid) ฮอร์โมนที่สาคัญ ในกลุ่มนี้ได้แก่ อัลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ควบคุมความสมดุลของน้าและ แร่ธาตุในร่างกาย เพิ่มการดูดโซเดียมกลับสู่หน่วยไต ขับ K+ ออกจากท่อหน่วยไต ควบคุมความสมดุลของฟอสเฟต รู้ไหม ……ต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิดทาหน้าที่อะไร
  • 21. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 22 3. ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone ) ซึ่งสร้างปริมาณเพียงเล็กน้อย จะสร้างแอนโดรเจน (androgen) และเทสโทสเทอโรน (Testosterone) ในเพศชายทาหน้าที่เพิ่มลักษณะของร่างกายที่เป็นเพศชายและการเติบโต ส่วนในเพศหญิง เนื่องจากต่อมหมวกไตส่วนนอกนี้ผลิตแอนโดรเจน (androgen) ถ้ามีการผลิตฮอร์โมนนี้มากซึ่งอาจเกิดจากมีเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต จะทาให้เกิดลักษณะ ของเพศชายได้ คือมีพฤติกรรมคล้ายผู้ชาย มีการสร้างโปรตีนที่ทาให้ แขนขาใหญ่ มีหนวด เครา เสียงห้าว ไม่มีประจาเดือน มีขนขึ้นตามตัวและใบหน้า ภาพแสดงการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไตส่วนนอก ที่มา : http://www. vcharkarn.com 600 × 293 (8 เมษายน 2555)
  • 22. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 23 ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตด้านใน ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla ) เป็นทั้งต่อมไร้ท่อ และเป็นส่วนของประสาทซิมพาเทติก จะทางานเมื่อเผชิญหน้ากับ ภาวะเครียด ตื่นเต้น ตกใจ กลัว หนีภัย เมื่อเจ็บปวดและออกกาลังกาย สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ 1. ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) หรือ อะดรีนาลิน (adrenalin hormone ) 2. ฮอร์โมนนอร์เอพิเนฟริน ( norepinephrine hormone ) หรือ นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin hormone ) ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) อวัยวะเป้าหมาย : ตับ หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก หัวใจ หน้าที่ : เปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือด ทาให้มีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทาให้ร่างกาย มีพลังมากขึ้น กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทาให้เลือดลาเลียงออกซิเจนและ กลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆ ขยายตัว หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณผิวหนังและช่องท้องหดตัว ภาพแสดงการควบคุมหลั่งฮอร์โมนของต่อมหมวกไต ที่มา : http://www. il.mahidol.ac.th 507 × 506 (30 มีนาคม 2555)
  • 23. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 24 ฮอร์โมนนอร์เอพิเนฟริน ( norepinephrine hormone ) อวัยวะเป้าหมาย : ตับ หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก หัวใจ หน้าที่ : กระตุ้นให้เส้นเลือดมการบีบตัว ผลอื่นคล้ายๆ adrenalin แต่มีฤทธิ์น้อยกว่า เปลี่ยน ไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดทาให้ มีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทาให้ร่างกาย มีพลังมากขึ้นกระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทาให้เลือดลาเลียงออกซิเจนและกลูโคส ไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆ หดหรือบีบตัว ภาพแสดงการกระตุ้นเซลล์ประสาทซิมพาเทติกทาให้มีการหลั่งฮอร์โมนเอพิเนฟริน และนอร์เอพิเนฟรินจากต่อมหมวกไตส่วนใน ที่มา : http://www3.ipst.ac.th353 × 346 (30 มีนาคม 2555)
  • 24. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 25 บัตรคาถามที่ 5.3 ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ต่อมหมวกไตส่วนใดที่สามารถสร้างฮอร์โมนเพศได้ ก. อะดรีนัล เมดัลลา ข. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ ค. ทั้งข้อ ก และ ข ง. ไม่มีข้อถูกเพราะฮอร์โมนเพศไม่ได้สร้างจากต่อมหมวกไต 2. การเกิดความเครียดหรือการตกใจ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนออกมาจากที่ใด ก. Hypothalamus ข. Adrenal cortex ค. Adrenal medulla ง. Adrenal-pancretic complex 3. Epinephrine และ norepinephrine นอกจากจะเป็นฮอร์โมนแล้วยังทาหน้าที่ ใดได้อีก ก. เป็นสารสื่อประสาท ข. เป็นตัวกระตุ้นการออสโมซิส ค. เป็นส่วนประกอบของน้าเลือด ง. เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการหายใจระดับเซลล์ 4. ข้อใดคือหน้าที่ของ Norephinephrine ก. เพิ่มแรงดันเลือด ข. เพิ่มปริมาณปัสสาวะ ค. เพิ่มการหลั่ง เอพิเนฟริน ง. เพิ่มการหายใจระดับเซลล์ 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กขยายตัว ข. นอร์เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กบีบตัว ค. นอร์เอพิเนฟรินเปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส ง. คอร์ติซอล (cortisol) ทาหน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด
  • 25. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 26 บัตรเฉลยคาถามที่ 5.3 ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต 1.ก 2.ค 3.ก 4.ก 5.ง ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  • 26. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 27 บัตรคาสั่งที่ 5.4 ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 5.4 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 5.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 5.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 27. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 28 บัตรเนื้อหาที่ 5.4 ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ความผิดปกติจากต่อมหมวกไตด้านนอก ต่อมหมวกไตด้านนอกเป็นต่อมหมวกไตที่มีความสาคัญมาก ถ้าต่อมหมวกไตด้านนอก ถูกทาลายจะไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ ทาให้เป็น โรคแอดดิสัน ( Addison’s disease ) ผู้ที่เป็นโรคนี้ร่างกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ โรคแอดดิสัน หมายถึง ภาวะพร่องฮอร์โมนสเตอรอยด์เรื้อรัง พบมากในคนอายุ 30-50 ปี เป็นโรคที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง เกิดจากต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อยกว่าปกติ ตรงกันข้ามกับ โรคคุชชิงที่สร้างฮอร์โมนมากกว่าปกติ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากต่อมหมวกไตชั้นนอก ถูกทาลายหรือฝ่อ เนื่องมาจากปฏิกิริยาภูมิแพ้ต่อตัวเอง หรือ ออโตอิมมูน อาจพบร่วมกับ ต่อมไทรอยด์อักเสบ ต่อมพาราไทรอยด์ทางานน้อย เบาหวาน ผมร่วงเป็นหย่อม ไม่ทราบสาเหตุ เป็นต้น ส่วนน้อยอาจเกิดจากเป็นวัณโรคของต่อมหมวกไต หรือมะเร็ง ที่แพร่กระจายมาจากที่อื่น (เช่น ปอด, เต้านม) โรคติดเชื้อราของต่อมหมวกไต เป็นต้น พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าต่อมหมวกไตทางานผิดปกติ จะเกิดอะไรขึ้นต่อร่างกาย อยากรู้เชิญทางนี้ครับ
  • 28. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 29 อาการของโรคแอดดิสัน มักจะค่อย ๆ เกิดขึ้นช้า ๆ ด้วยอาการเบื่ออาหารน้าหนักลด (ผอมลง) อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย อาจมีอาการท้องเสียบ่อย ท้องอืดเฟ้อ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ในผู้หญิงอาจมี อาการขาดประจาเดือน บางคนผิวหนังอาจมีรอยด่างขาวร่วมด้วย ผู้ป่วยมักมีความดันโลหิต ต่า ทาให้มีอาการหน้ามืด วิงเวียนเวลาลุกขึ้นเร็ว ๆ ผู้ป่วยอาจมีอารมณ์อ่อนไหว ซึมเศร้า หรือมีอาการของโรคจิต ผิวหนังจะมีสีดาคล้าที่บริเวณที่มีรอยถูไถ เช่น ข้อเข่า ข้อพับ ข้อศอก ใบหน้า หัวนม ลายมือ รอยแผลผ่าตัด เป็นต้น และบริเวณเยื่อเมือกในช่องปาก (เหงือก ริมฝีปาก กระพุ้งแก้ม ลิ้น) อาจมีรอยตกกระดา ๆ อาจพบภาวะซีด ความดันโลหิตต่า ขนรักแร้และ ขนในบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ร่วง ซึ่งจะเห็นชัดในผู้หญิง ถ้าไม่ได้รับการรักษา อาจมีภาวะน้าตาลในเลือดต่า ถ้าเป็นรุนแรง อาจเกิดภาวะ ต่อมหมวกไตไม่ทางานเฉียบพลัน (acute adrenal failure) ซึ่งอาจพบขณะเป็นโรคติดเชื้อ ได้รับบาดเจ็บ ขณะผ่าตัด หรือมีภาวะเครียดทางร่างกาย ทาให้มีไข้สูง ซึม ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ความดันตก ช็อก ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงตายได้ การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคแอดดิสัน หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาลเพื่อวินิจฉัยโดยการตรวจเลือด ถ้าพบระดับคอร์ติซอลซึ่งเป็นฮอร์โมนสเตอรอยด์ต่า ระดับโซเดียมในเลือดต่า ระดับโพแทสเซียมในเลือดสูง ระดับน้าตาลในเลือดต่า การรักษา ให้กินสเตอรอยด์ เช่น ไฮโดรคอร์ติโซน (Hydrocortisone) วันละ 15-25 มิลลิกรัม แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง ซึ่งควรกินเป็นประจาทุกวันไปจนตลอดชีวิต หรืออาจปฏิบัติตามคาแนะนาของแพทย์ ดังนี้ 1. ผู้ป่วยควรกินอาหารให้เค็มจัด เพราะต้องการเกลือโซเดียมมากขึ้น และควรกิน อาหารพวกโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต (แป้งและน้าตาล) ให้มาก ๆ ควรกินบ่อยมื้อกว่าปกติ 2. โรคนี้มีทางรักษาให้มีชีวิตยืนยาวเช่นคนปกติ แต่ต้องกินยาทุกวัน อย่าได้ขาด 3. ถ้าผู้ป่วยเป็นโรคติดเชื้อหรือมีอาการไม่สบายอื่น ๆ ควรรีบหาหมอ อาจต้องเพิ่ม ขนาดของยาไฮโดรคอร์ติโซน ในช่วงที่ไม่สบาย เพื่อป้องกันการเกิดภาวะต่อมหมวกไต ไม่ทางานเฉียบพลัน 4. ผู้ป่วยควรพกสมุดหรือบัตรติดตัวเป็นประจา เขียนบอกถึงโรคที่เป็น และยาที่ใช้ รักษา หากเกิดภาวะต่อมหมวกไตไม่ทางานเฉียบพลันในเวลาใดเวลาหนึ่ง ผู้พบเห็นและ แพทย์จะได้ให้ความช่วยเหลือได้ถูกต้อง โดยให้น้าเกลือและฉีดไฮโดรคอร์ติโซน ขนาด 100 มิลลิกรัม เข้าทางหลอดเลือดดาทันที
  • 29. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 30 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids ) ได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) เป็นฮอร์โมนที่จาเป็น (essential hormone) ที่มีความสาคัญต่อชีวิต ถ้าขาดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ซึ่งเป็นฮอร์โมนจาเป็นจะมีผลอย่างมากต่อเซลล์ของร่างกาย ความผิดปกติ : ถ้ามีฮอร์โมนกลุ่มนี้มากเกินไปจะทาให้เกิด โรคคูชชิง (Cushing’s syndrome) พบในผู้ป่วยที่มีเนื้องอกของต่อมหมวกไตส่วนนอกหรือได้รับ การรักษาด้วยยาหรือฮอร์โมนที่มีคอร์ติโคสเตรอยด์เป็นส่วนผสม เพื่อป้องกันอาการแพ้ อักเสบติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เกิดขึ้นได้ทั้งชายและหญิง อาการของโรคคูชชิง มีดังนี้ 1. เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีนทาให้ระดับน้าตาล ในกระแสเลือดสูงขึ้น 2. กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา 3. อ้วน มีไขมันสะสมแกนกลางลาตัว ใบหน้ากลมคล้ายดวงจันทร์ หน้าท้องแตกลาย บริเวณต้นคอมีหนอกยื่นออกมา ภาพแสดงลักษณะใบหน้าของผู้ป่วยโรคคูชชิง ที่มา : http:// www.pibul.ac.th 300 × 304 (8 เมษายน 2555)
  • 30. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 31 ความผิดปกติจากฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid) ฮอร์โมนที่สาคัญ ในกลุ่มนี้ได้แก่ อัลโดสเตอโรน (aldosterone)ทาหน้าที่ในการควบคุมความสมดุลของน้า และแร่ธาตุในร่างกาย ความผิดปกติ : ถ้าขาด อัลโดสเตอโรน (aldosterone) จะทาให้ร่างกาย สูญเสียน้าและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้ความดันเลือดในร่างกายลดลง จนอาจทาให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดต่า ผู้ป่วยโรคแอดติสัน ที่มา : รศ.นพ.วิทยา ศรีดามา คณะแพยทศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 200 × 186 (20 พฤษภาคม 2555)
  • 31. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 32 ความผิดปกติจากฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone ) ซึ่งสร้างปริมาณเพียงเล็กน้อยในต่อมหมวกไต เมื่อเปรียบเทียบกับที่สร้างจากอวัยวะเพศดังนั้น ในวัยผู้ใหญ่ เมื่อหลั่งฮอร์โมนนี้ออกมามาก จะไม่พบความผิดปกติ แต่ถ้ามีมากในวัยเด็ก ถ้าเป็นผู้ชาย จะทาให้เป็นหนุ่มเร็วกว่ากาหนด ส่วนในเพศหญิง เนื่องจากต่อมหมวกไต ส่วนนอกนี้ผลิตแอนโดรเจน (androgen) ถ้ามีการผลิตฮอร์โมนนี้มากซึ่งอาจเกิดจากมีเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต จะทาให้เกิดลักษณะของ เพศชายได้ คือมีพฤติกรรมคล้ายผู้ชาย มีการสร้างโปรตีนที่ทาให้แขนขาใหญ่ มีหนวดเครา เสียงห้าว ไม่มีประจาเดือน มีขนขึ้นตามตัวและใบหน้า ลักษณะของเพศหญิงที่ต่อมหมวกไตผลิตฮอร์โมนเพศมากกว่าปกติ ที่มา : http://www.pibul.ac.th 500 × 400 (8 เมษายน 2555)
  • 32. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 33 บัตรคาถามที่ 5.4 ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามหรือเติมข้อความที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. โรคแอดดิสัน เกิดขึ้นจากสาเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. 2. โรคคูชชิง และ โรคแอดดิสัน เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. 3. ในเพศหญิง ที่มีลักษณะคล้ายเพศชาย เกิดขึ้นจากสาเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถ้าขาด แอลโดสเตอโรน (aldosterone) จะมีผลอย่างไรต่อร่างกาย ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. 5. โรคคูชชิง มีอาการอย่างไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………..
  • 33. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 34 บัตรเฉลยคาถามที่ 5.4 ความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต แนวคาตอบ 1. โรคแอดดิสัน เกิดจากต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อยกว่าปกติ 2. โรคคูชชิง แตกต่างจาก โรคแอดดิสัน คือ ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน กลูโคคอร์ติคอยด์ ซึ่งเป็นสเตอรอยด์ จะทาให้เกิดโรคแอดดิสัน แต่ถ้ามีกลูโคคอร์ติคอยด์มาก จะทาให้เกิดโรคคูชชิง 3. ต่อมหมวกไตในเพศหญิงผลิตแอนโดรเจน (androgen) มากกว่าปกติ 4. ถ้าขาด อัลโดสเตอโรน (aldosterone) จะทาให้ร่างกายสูญเสียน้าและโซเดียม ไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้ความดันเลือดในร่างกายลดลงจนอาจทาให้ผู้ป่วย ตายเพราะความดันเลือดต่า 5. เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีนทาให้ระดับน้าตาล ในกระแสเลือดสูงขึ้น กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมัน ตามบริเวณแขนขา อ้วน มีไขมันสะสมแกนกลางลาตัว ใบหน้ากลมคล้าย ดวงจันทร์ หน้าท้องแตกลาย บริเวณต้นคอมีหนอกยื่นออกมา ปรบมือให้คนเก่งหน่อยครับ
  • 34. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 35 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ต่อมหมวกไตมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง ข. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม อยู่ใต้ไตทั้งสองข้าง ค. ต่อมหมวกไตมี 2 ต่อม รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ง. ต่อมหมวกไตทาหน้าที่ควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 2. ข้อใดถูกต้อง ก. ไตมี 2 ข้าง อยู่เหนือต่อมหมวกไต ข. ไตมี 2 ข้าง ลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง ค. ไตมี 2 ข้าง รูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ง. ไตทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนควบคุมสมดุลน้าและเกลือแร่ 3. ต่อมหมวกไตส่วนใดที่สามารถสร้างฮอร์โมนเพศได้ ก. อะดรีนัล เมดัลลา ข. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ ค. ทั้งข้อ ก และ ข ง. ไม่มีข้อถูกเพราะฮอร์โมนเพศไม่ได้สร้างจากต่อมหมวกไต 4. การเกิดความเครียดหรือการตกใจ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนออกมาจากที่ใด ก. Hypothalamus ข. Adrenal cortex ค. Adrenal medulla ง. Adrenal-pancretic complex 5. Epinephrine และ norepinephrine นอกจากจะเป็นฮอร์โมนแล้วยังทาหน้าที่ ใดได้อีก ก. เป็นตัวกระตุ้นการออสโมซิส ข. เป็นสารสื่อประสาท ค. เป็นส่วนประกอบของน้าเลือด ง. เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการหายใจระดับเซลล์
  • 35. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 36 6. ข้อใดคือหน้าที่ของ Norephinephrine ก. เพิ่มแรงดันเลือด ข. เพิ่มปริมาณปัสสาวะ ค. เพิ่มการหลั่ง เอพิเนฟริน ง. เพิ่มการหายใจระดับเซลล์ 7. โรคเอดิสัน เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด ก. คอร์ติซอล ข. แอนโดรเจน ค. อัลโดสเตอร์โรน ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 8. โรคคูชชิ่ง เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนชนิดใด ก. คอร์ติซอล ข. แอนโดรเจน ค. แอลโดสเตอร์โรน ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 9. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่อาการของโรค เอดิสัน ก. เบื่ออาหารน้าหนักลด (ผอมลง) อ่อนเพลีย ข. เหนื่อยง่าย อาจมีอาการท้องเสียบ่อย ค. ท้องอืดเฟ้อ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ง. รับประทานอาหารได้มาก ใบหน้ากลมเหมือนพระจันทร์ 10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กขยายตัว ข. นอร์เอพิเนฟรินทาให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กบีบตัว ค. นอร์เอพิเนฟรินเปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส ง. คอร์ติซอล (cortisol) ทาหน้าที่ ลดระดับน้าตาลในเลือด
  • 36. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 37 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ค 2 ข 3 ก 4 ค 5 ข 6 ก 7 ค 8 ก 9 ข 10 ง ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ ศึกษาในชุดการสอนต่อไปได้เลยครับ
  • 37. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง ต่อมหมวกไตกับฮอร์โมน 38 บรรณานุกรม เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. ____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์, 2536. วิทยา ศรีดามา. ภาพผู้ป่วยแอดดิสัน. คณะแพยทศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,มปป. สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 ____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. ____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. http://www. th.wikipedia.org 220 × 249 (8 เมษายน 2555) http://www. watchawan.blogspot.com 216 × 168 (3 เมษายน 2555) http://www. thaigoodview.com 500 × 500 (8 เมษายน 2555) http://www. pibul.ac.th 946 × 344 (8 เมษายน 2555) http://www. vcharkarn.com 600 × 293 (8 เมษายน 2555) http://www3.ipst.ac.th353 × 346 (30 มีนาคม 2555) http://www. thaigoodview.com 353 × 346 (30 มีนาคม 2555) http:// www.pibul.ac.th 300 × 304 (8 เมษายน 2555) http://www.pibul.ac.th 500 × 400 (8 เมษายน 2555)