SlideShare a Scribd company logo
1 of 142
Download to read offline
การบริหารโครงการด้วย
ProjectLibre
สมิทธิชัย ไชยวงศ์
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
1
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
2
แนะนา ProjectLibre
• โดยทั่วไปในการวางแผนงาน (Schedule) การจัดการ หรือปรับปรุงข้อมูล เพื่อการบริหาร
โครงการนั้น จาเป็นต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ การคานวณ ระยะเวลา ค่าใช้จ่ายต่างๆ
ระหว่างดาเนินการ จึงเป็นเรื่องยุ่งยากสาหรับโครงการที่มีความซับซ้อน
• ProjectLibre เป็นโปรแกรมที่สามารถลดภาระในการจัดการเกี่ยวกับโครงการนั้นๆ ได้เป็น
อย่างดี โดยที่ผู้ใช้งานใส่ข้อมูลต่างๆ ให้กับโปรแกรม โปรแกรมฯ จะทาการคานวณเวลาการทางาน
ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร ตลอดจนค่าใช้จ่ายของโครงการให้เราได้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
3
ความสามารถของ ProjectLibre
• สามารถจัดการบริหารโครงการต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในเรื่องของการจัดการขั้นตอนการ
ทางาน ระยะเวลา ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเงินระหว่างการบริหารโครงการ ทาให้จัดการบริหาร
โครงการขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว สาหรับความสามารถของ
โปรแกรม แบ่งเป็นหัวข้อได้ดังนี้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
4
การจัดการเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ
• สามารถกาหนดเวลาในการทางานได้อย่างถูกต้อง โดยคานวณระยะเวลาในการดาเนินโครงการได้
อย่างแม่นยา ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ จนถึงวันสิ้นสุด โดยมีความสัมพันธ์กันทั้งโครงการ ทาให้สามารถ
เปลี่ยนหรือแก้ไขส่วนต่างๆ ของโครงการได้ง่าย
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
5
การบริหารทรัพยากรขององค์กรอย่างได้ผล
• ทรัพยากร ถือเป็นสิ่งสาคัญของโครงการ เช่น ทรัพยากรแรงงาน (คน) หรือทรัพยากรสิ่งของ โดย
สามารถใช้ ProjectLibre ในการจัดการทรัพยากรเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
6
ความสามารถในการจัดการค่าใช้จ่ายต่างๆ
• ในการจัดทาโครงการต้องมีค่าใช้จ่ายเข้ามาเกี่ยวข้อง และถ้าเป็นโครงการขนาดใหญ่ขึ้น ก็จะมีความ
ซับซ้อนมากขึ้น โปรแกรม ProjectLibre สามารถลดปัญหาเหล่านั้นได้ โดยโปรแกรมจะ
คานวณค่าใช้จ่ายภายในโครงการได้อย่างแม่นยา และมีความสัมพันธ์กันทั้งโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
7
การติดตาม และการตรวจสอบความก้าวหน้าของงาน
• การบริหารโครงการ ผู้บริหารต้องกาหนดเวลาว่า โครงการจะเสร็จเมื่อไร จึงจาเป็นต้องมีจุด
เปรียบเทียบในการบริหาร ซึ่งเป็นจุดที่เรากาหนดเพื่อให้โครงการของเราสาเร็จ และเพื่อทาให้ทราบ
ว่าโครงการมีความคืบหน้า หรือล่าช้าอย่างไร ซึ่งเราสามารถเปรียบเทียบข้อมูลเหล่านั้นได้ในรูปแบบ
ของสถิติ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
8
การพิมพ์รายการโครงการ
• บางครั้งต้องนาเสนอข้อมูลให้กับ
สมาชิกของโครงการทราบ โดยทา
ออกมาในลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่ง
ProjectLibre มีรูปแบบการ
นาเสนอให้เลือกได้ว่าต้องการนาเสนอ
ข้อมูลในลักษณะใด เช่น เรื่องของ
ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย ทรัพยากร หรือ
พลังงาน จานวนคน เป็นต้น
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
9
ความหมายของโครงการ
• โครงการ หมายถึง การดาเนินกิจกรรมที่มีความซับซ้อน และดาเนินการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยมี
ข้อจากัดทางด้านเวลา งบประมาณ ทรัพยากร และผลการดาเนินการ ซึ่งต้องเป็นไปตามเป้าหมายที่
กาหนด โดยส่วนใหญ่จะใช้คาว่าโปรเจ็กต์ (Project) แทนคาว่าโครงการ ซึ่งให้ความหมาย
ครอบคลุมกว่า แต่ความจริงแล้วโปรเจ็กต์ ก็คือ โครงการนั่นเอง
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
10
ความหมาย
Project Management
• หมายถึง กระบวนการในการกาหนด
วางแผน ชี้แนะ ติดตาม และควบคุม
โครงการพัฒนาระบบให้สามารถ
ดาเนินการได้ตามระยะเวลาและ
งบประมาณที่กาหนดไว้ได้
Project Manager
• เป็นผู้ที่คอยดูแล ให้คาแนะนา ควบคุม
และติดตามผลการดาเนินงานของ
โครงการ ให้เป็นไปตามแผนงานที่
กาหนดขึ้น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ใน
การพัฒนาระบบร่วมกัน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
11
หน้าที่ของ Project Manager
• กาหนดขอบเขตของโครงการ
• วางแผนและจัดตั้งทีมงาน
• จัดตารางการดาเนินงาน
• กากับและควบคุมโครงการ
• การดาเนินงานโครงการกว้าง,แคบ
• กาหนดตาแหน่งงานที่ชัดเจน
• ระบุหน้าที่และตารางเวลาการทางาน
• นาแผนไปสร้างใน Project
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
12
ทักษะของ Project Manager
การบริหารงานเมื่อ
เกิดการเปลี่ยนแปลง
หรือในสภาวะที่มี
ความเสี่ยง
บริหารทีมงาน
แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้น
การจัดการความเป็นผู้นา
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
13
Project Management Process
แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
ระยะการเริ่มต้นโครงการ
ระยะการวางแผนโครงการ
ระยะดาเนินโครงการ
ระยะปิดโครงการ
ประชุมวางแผนรายละเอียดโครงการ
ระดมความคิดจากทีมงานที่ตั้งไว้
นาแผนที่ได้มาดาเนินการด้วย Project
สรุปผลโครงการ, ประเมินผล
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
14
การพิจารณาโครงการ
• เวลา (Time) โครงการส่วนใหญ่มีการกาหนดวันสิ้นสุดของโครงการ
• ค่าใช้จ่าย (Cost) ค่าใช้จ่ายของทรัพยากรที่เป็นบุคคล และทรัพยากรที่
เป็นสิ่งของที่ใช้ทางาน
• ขนาด (Scope) อาจพิจารณาขนาดเป็น 2 รูปแบบ คือ
• ขนาดของสินค้า คือจุดมุ่งหมายในด้านคุณภาพ
• ขนาดของโครงการ คือความต้องการงานที่จะทาให้เกิดผลิตผลตามขนาดของ
สินค้า
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
15
หลักการบริหารโครงการ
ลักษณะของโครงการ
• มีวัตถุประสงค์ของโครงการ
• การกาหนดระยะเวลาในการดาเนินงาน
• มีขอบเขตด้านการเงินในการดาเนินงาน
• มีการกาหนดทรัพยากรที่ใช้
• มีลักษณะการดาเนินงานที่เป็นอิสระ
• มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับฝ่ายต่างๆ
องค์ประกอบของโครงการ
โครงการ
งาน เวลา ทรัพยากร ค่าใช้จ่าย
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
16
องค์ประกอบของโครงการ
• งาน : งานในโครงการมีทั้งงานหลักและงานย่อย เช่น โครงการสร้างบ้าน งานหลักคือ ตกแต่ง
ภายใน, งานรองคือ ติดวอร์เปเปอร์และทาสี
• เวลา : ระยะเวลาระหว่างการดาเนินโครงการ ซึ่งแต่ละขั้นตอนอาจมีระยะเวลาในการทางานไม่
เท่ากัน เช่น ขั้นตอนการตอกเสาเข็ม มีระยะเวลานานกว่าการตกแต่งภายใน เป็นต้น
• ทรัพยากร : สิ่งที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน เช่น ทรัพยากรแรงงาน(ทีมงาน) หรือทรัพยากรสิ่งของ
• ค่าใช้จ่าย : เป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดาเนินงาน เช่น ค่าใช้จ่ายที่มาจากการสั่งซื้อวัสดุ หรือ
ค่าจ้างพนักงาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
17
การออกแบบโครงการ
ขั้นตอนการออกแบบโครงการ
• กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการ
• หาผู้สนับสนุนโครงการ และมีสัญญาที่ชัดเจน
• ศึกษาขั้นตอนและทาเป็นเอกสาร
• เขียนแผนงานที่ปฏิบัติได้จริง
• กาหนดทีมงาน
• ประเมินปัจจัยเสี่ยง
• ลงมือปฏิบัติ
ประโยชน์จากการบริหารโครงการ
• สามารถระบุความรับผิดชอบตามหน้าที่
• มีการระบุของเขตด้านเวลาในการทางาน
• มีการระบุวิธีการวิเคราะห์ทางเลือก
• มีการวัดความสาเร็จของแผน
• มีการปรับปรุงแก้ไขปัญหา
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
18
อุปสรรคการบริหารงานโครงการ
• ความสลับซับซ้อนของโครงการ
• ความต้องการเฉพาะด้านของลูกค้า
• การปรับโครงสร้างขององค์กร
• ความเสี่ยงจากโครงการ
• ขั้นตอนเยอะหรือไม่เป็นไปตามขั้นตอน
• งบประมาณ เช่น ที่พัก, ค่าเดินทาง
• รู้ว่าโครงการไปไม่รอดแต่ยังฝืน
• เปลี่ยน Project Manager
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
19
บทที่ 2 การสร้างโครงการด้วย ProjectLibre
การสร้างโครงการด้วย ProjectLibre
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
20
แนะนาโปรแกรม
• โปรแกรม ProjectLibre เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูงสามารถจัดการโครงการได้ตั้งแต่
ระดับธรรมดา โดยที่สามารถรู้ได้ทันทีว่าแผนงานที่วางไว้จะเสร็จเมื่อใด หรือหากต้องการ
เปรียบเทียบระหว่างแผนงานที่วางไว้กับแผนงานที่เกิดขึ้นจริงว่าแตกต่างกันอย่างไรก็สามารถทาได้
และสามารถที่จะตรวจสอบรายงานของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นได้ เพื่อที่จะทราบได้ว่าค่าใช้จ่ายเกิน
แผนงานที่วางไว้จริงหรือไม่ นอกจากนั้นยังสามารถตรวจสอบได้อีกว่างานใดเป็นงานวิกฤตที่จะมี
ผลกระทบต่อวันเสร็จสิ้นของโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
21
การเปิดเข้าสู่โปรแกรม
• Start
• All Program
• ProjectLibre
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
22
ส่วนประกอบของโปรแกรม
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
23
Ribbon
Sub-View
Ribbon มีคุณสมบัติต่างๆ กันไป ซึ่งประกอบด้วย
• File : การบันทึก การเปิด การปิด
• Task : เรื่องเกี่ยวกับงานโดยตรง
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
24
Ribbon มีคุณสมบัติต่างๆ กันไป ซึ่งประกอบด้วย
• Resource:การบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ
• View : การปรับมุมมองต่างๆ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
25
การเปิดและเลือกใช้มุมมอง
• มุมมองมี 2 ส่วน คือ ส่วนที่อยู่ใน
View กับส่วนที่อยู่ทางด้านขวามือ
โดยมีส่วนคล้ายกันเพียงแต่ View
นั้น จะถูกเก็บอยู่ในลักษณะของริบบอน
Ribbon มุมมองของโปรแกรม
ประกอบด้วย
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
26
มุมมอง Gantt Chart
• เป็นมุมมองปกติที่ใช้ในการทางาน แสดงแผนการของโครงการในรูปแบบตาราง ซึ่งสามารถระบุ
ระยะเวลาการทางาน วันเริ่มต้น วันสิ้นสุด และรายละเอียดต่างๆ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
27
มุมมอง Task Form
• เป็นมุมมองที่เราได้เห็นหน้าจอการทางาน รายละเอียดต่างๆ ระยะเวลาที่ใช้ใน การทางาน วัน
เริ่มต้น หรือชื่อผู้คุมงาน เป็นต้น
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
28
มุมมอง Network Diagram
• เป็นมุมมองลักษณะการเรียงลาดับ Order ตั้งแต่งานลาดับที่ 1,2,3 ไปเรื่อยๆ ทาให้เราเห็น
ภาพรวมในลักษณะของ Diagram
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
29
มุมมอง Task Usage
• เป็นมุมมองที่แสดงชั่วโมงการทางาน โดยจะแสดงรายชื่อ หรือทรัพยากร ทางด้านซ้าย ทาง
ด้านขวาจะเป็นวัน เวลา และชั่วโมงการทางาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
30
มุมมอง Resource Sheet
• จัดการเกี่ยวกับทรัพยากร โดยป้อนข้อมูลลงไปที่ Resource Sheet ซึ่งทาให้ การเลือก
ข้อมูลที่มุมมอง Gantt Chart ง่ายขึ้น คือจะปรากฏลูกศรชี้ลงให้เลือก ที่ช่อง Resource
Name
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
31
มุมมอง Resource Form
• คล้ายกับมุมมอง Task Form แต่จะแสดงรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
32
มุมมอง Resource Usage
• แสดงชั่วโมงการทางานทรัพยากร ทางซ้ายคือชื่อทรัพยากร ทางขวาเป็นชั่วโมงการทางานของ
ทรัพยากร
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
33
มุมมอง Sub-Views
• มุมมองที่ให้เราสามารถกาหนดเพิ่มเติมขึ้นมาเองได้ โดยคลิกเลือกที่หน้าต่าง และคาสั่งต่างๆ ด้าน
ซ้ายมือเพื่อเปิดขึ้นมาใช้งานได้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
34
การเปิดโครงการ
• แท็บ File  เลือกคาสั่ง Open…
• กาหนดรายละเอียดในการเปิดโครงการ ดังนี้
• ช่อง Look in: เลือกตาแหน่งที่เก็บโครงการ
• เลือกชื่อโครงการที่ต้องการเปิด
• คลิกปุ่มคาสั่ง Open
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
35
การบันทึกโครงการ
• แท็บ File  เลือก Save หรือ Save as
• กาหนดรายละเอียดในการบันทึกโครงการดังนี้
• ช่อง Save in : เลือกตาแหน่งที่ใช้สาหรับเก็บโครงการ
• ช่อง File name : พิมพ์ชื่อโครงการที่ต้องการ
• คลิกปุ่มคาสั่ง Save
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
36
การปิดโครงการ
• แท็บ File  เลือกคาสั่ง Close
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
37
การสร้างโครงการ
• การกาหนดโดยดูจากวันที่เริ่มต้นโครงการ (Project Start Date) เหมาะสาหรับโครงการที่รู้วันเริ่มต้นการทางาน
• การกาหนดโดยดูจากวันสิ้นสุดโครงการ (Project Finish Date) เหมาะสาหรับโครงการที่เราทราบวันสิ้นสุดโครงการ
• แท็บ File
• เลือก New…
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
38
การกาหนดรายละเอียดโครงการ
• แท็บ File
• เลือกคาสั่ง Information…
• กาหนดรายละเอียด
• Start : กาหนดวันที่เริ่มต้น
• Finish : กาหนดวันที่สิ้นสุด
• Current date : วันที่ปัจจุบัน
• Status date : วันที่ตรวจสอบ
• Base Calendar : เลือกรูปแบบปฏิทิน
• แบบมาตรฐาน (Standard)
• แบบ 24 ชั่วโมง (24 Hour)
• แบบทางานกะกลางคืน (Night Shift)
• Priority : เป็นการกาหนดความสาคัญของงานภายในโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
39
การกาหนดรูปแบบวันที่
• แท็บ File
• เลือกคาสั่ง Calendar
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
40
บทที่ 3 การปรับแต่งปฏิทิน
การปรับแต่งปฏิทิน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
41
การสร้างปฏิทินการทางานใหม่
• แท็บ File
• เลือกป้าย Calendar
• คลิกปุ่ม New
• กาหนดรายละเอียดในการสร้างปฏิทิน
• ช่อง Name : ตั้งชื่อปฏิทินใหม่
• เลือก  Create new base calendar
: สร้างปฏิทินใหม่โดยใช้ปฏิทินที่เป็นค่าเริ่มต้น
• เลือก  Make a copy of
: สร้างปฏิทินใหม่โดยใช้การคัดลอกจากปฏิทินรูปแบบ
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
42
การเปลี่ยนแปลงวัน และเวลาทางาน
• แท็บ File
• เลือกป้าย Calendar
• กาหนดรายละเอียดที่ส่วนคาสั่ง Change working Calendar
• เลือกวันของสัปดาห์
• Use Default : เวลาปกติ
• Non-Default working time : กาหนดเวลาทางานใหม่
• กาหนดเวลาการทางานในช่อง From และ To
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
43
การกาหนดชั่วโมงการทางาน
• แท็บ File
• เลือกป้าย Calendar
• คลิก Options
• ช่อง Hour per day : กาหนดจานวนชั่วโมงการทางานต่อวัน
• ช่อง Hour per week : กาหนดจานวนชั่วโมงการทางานต่อสัปดาห์
• ช่อง Days per month : กาหนดจานวนวันทางานต่อเดือน
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
44
การกาหนดวันหยุด
• แท็บ File
• เลือกป้าย Calendar
• กาหนดรายละเอียดที่ส่วนคาสั่ง Change working Calendar
• เลือกวันของสัปดาห์
• Non-working time : วันหยุด
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
45
การนาปฏิทินมาใช้กับโครงการ
• แท็บ Project
• เลือก Information…
• เลือกปฏิทินที่ต้องการนามาใช้งานในช่อง Base Calendar
• คลิกปุ่ม Close
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
46
การใช้วันหยุดในปฏิทินโครงการ
• คลิกเมาส์ขวา
• เลือก Show Calendar
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
47
การกาหนดปฏิทินให้กับงาน
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดปฏิทินเฉพาะ
• แท็บ Task  เลือก Information
• เลือกป้าย Advanced
• เลือกปฏิทินที่ต้องการนาไปใช้งานในช่อง Task Calendar:
• คลิกปุ่มคาสั่ง OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
48
บทที่ 4 การจัดการงานในโครงการ
การจัดการงานในโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
49
งาน (TASK)
• คือ กิจกรรมที่จะต้องถูกกระทา เพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือดาเนินไปสู่เป้าหมายที่วางไว้
งานจะประกอบไปด้วยรายละเอียดหลายอย่างดังนี้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
50
งาน (TASK) มาจาก WBS
• WBS-Work Breakdown Structure คืองานย่อยๆ ทั้งหลายที่ต้องทาใน project เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์เหตุที่ต้องแบ่งงานเป็นย่อยๆ เพราะ
• ง่ายต่อการบริหารจัดการเพราะผู้รับผิดชอบจะต้องถูกกาหนดให้กับงานชิ้นเล็ก
• ลดความเกี่ยวข้องและขึ้นต่อกันระหว่างงานใหญ่ๆลง
• ง่ายต่อการวัดผลและติดตามความก้าวหน้าของงาน
51
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
เงื่อนไขของ Work Breakdown Structure
• มี Level งานใหญ่แล้วย่อยลงมา
• Aggregation กฎของการทาข้างล่างแล้วได้ข้างบน
• Complete ต้องครบสมบูรณ์
• Not sequence ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
52
ลักษณะต่างๆ ของงาน
• Task : รายละเอียดของงานในระดับปกติ
• Sub Task : รายละเอียดของงานย่อย
• Summary Task : รายละเอียดของงานใหญ่ที่
ประกอบไปด้วยงานย่อยๆ
• MILESTONE :จุดบ่งบอกความก้าวหน้า
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
53
ส่วนประกอบของ TASK
• Task Name : เป็นชื่อของงานที่เรากาหนดภายในโครงการหนึ่งๆ
• Duration : เป็นระยะเวลาในการดาเนินการของงานแต่ละงาน
• Start : คือการกาหนดวันเริ่มต้นของงานนั้นๆ
• Finish : คือการกาหนดวันสิ้นสุดของงาน
• Predecessors : กิจกรรมที่ต้องทาให้เสร็จตามที่กาหนด
• Resource Name : ชื่อทรัพยากร
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
54
การจัดการคอลัมน์ข้อมูล
การเพิ่มคอลัมน์ข้อมูล
• คลิกเลือกช่วงของคอลัมน์ที่ต้องการเพิ่ม
• คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column
• เลือก Field
• คลิกปุ่ม OK
การซ่อนคอลัมน์
• คลิกเลือกส่วนหัวของคอลัมน์ที่ต้องการซ่อน
• คลิกเมาส์ขวา จากนั้นเลือกคาสั่ง Hide Column
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
55
การแก้ไขข้อมูล
• เลือกช่องตารางที่ต้องการแก้ไข
• จากนั้นพิมพ์ข้อมูลที่แก้ไขใหม่ลงไป
แล้วกดปุ่ม <Enter>
การลบข้อมูล
1. เลือกช่องตารางที่ต้องการลบ
2. กดปุ่ม Backspace หรือปุ่ม Delete
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
56
การจัดการ TASK ในโครงการ
การแทรก TASK ในโครงการ
• คลิกแถวที่เราต้องการแทรก Task
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Task
การลบ TASK ในโครงการ
• คลิกเลือกแถวที่เราต้องการลบ Task
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Delete
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
57
การจัดการ TASK ในโครงการ
การย้าย TASK ในโครงการ
• คลิกแถวที่ต้องการย้ายตาแหน่ง
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Cut
• คลิกแถวที่ต้องการนา Task ไปแทรก
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Paste
การคัดลอก TASK ในโครงการ
• คลิกแถวที่ต้องการคัดลอก Task
• แท็บ Task  เลือก Copy
• คลิกแถวที่ต้องการนา Task ไปแทรก
• แท็บ Task  เลือก Paste
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
58
การกาหนดงานในโครงการ (Sub Task/ Summary Task )
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดให้เป็นงานย่อย Sub Task
1. แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Indent Task
2. งานย่อยจะแสดงเป็นลักษณะหัวข้อย่อย
• การกาหนดงานย่อยให้เป็นงานหลัก Summary Task
1. เลือกงานที่ต้องการกาหนดให้เป็นงานหลัก
2. แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Outdent Task
หมายเหตุ มี Bug ให้ดูที่ลาดับตัวเลข แล้วสลับเอาเอง
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
59
การป้อนข้อมูล
พิมพ์ข้อมูลที่ต้องการลงไปในช่อง
ตาราง แล้วกดปุ่ม <Enter>
อักษรย่อของ DURATION
M นาที
H ชั่วโมง
D วัน
W สัปดาห์
MO เดือน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
60
จุดบ่งบอกความก้าวหน้า (MILESTONE)
• คือ จุดบ่งบอกความก้าวหน้าของงานว่า งานนั้นๆ เสร็จตามวันที่ ที่มีการกาหนดไว้หรือไม่ ซึ่งโดย
ส่วนใหญ่จะกาหนดไว้ในส่วนต้น หรือส่วนท้ายของโครงการ
• Project Milestone เป็นข้อมูลที่ใช้บอกว่า “เราทางานเป็นอย่างไรบ้าง” ซึ่งบ่งบอกได้ว่า
project ของเรายังเป็นไปตามแผนการที่ได้วางไว้หรือไม่ ดังนั้นการมี Milestone ไว้ตลอด
ระยะเวลาที่ทา Project นั้นมีความสาคัญหลายด้าน ตัวอย่างเช่น ในแง่ของการบริหารจัดการก็
จะช่วยให้เรารู้ว่าตอนนี้งานเราคืบหน้าไปมากน้อยอย่างไร และในแง่จิตวิทยาก็จะช่วยให้ทีมงานทุก
คนมีความกระตือรือร้นมากขึ้นในการทางานให้เสร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
61
การกาหนดจุดบ่งบอกความก้าวหน้าของงาน
• วิธีที่ 1 การกาหนด Milestone จาก Duration
• เลือกงานที่กาหนดให้เป็น Milestone
• กาหนดระยะเวลา (Duration) เป็น 0
• วิธีที่ 2 การกาหนด Milestone จาก Task
Information
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดให้เป็น Milestone
• แท็บ Task  เลือก Information
• เลือกป้าย Advanced
• เลือก  Display task as milestone
• คลิกปุ่ม Close
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
62
การแบ่งงาน
• เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปยัง Task ที่ต้องการแบ่งงาน
• คลิกเมาส์ขวา  เลือกคาสั่ง Split Task
• เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปยังวันที่ ที่ต้องการแบ่ง จากนั้นจึงคลิกเมาส์
• หมายเหตุ
กรณีที่ต้องการยกเลิกการ
แบ่งงาน ให้ทาการลากงานที่อยู่
ด้านหลังมาเชื่อมต่อกับงานที่อยู่
ด้านหน้า แล้วปล่อยเมาส์
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
63
การกาหนดขอบเขตของงาน (TASK CONSTRAIN)
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดข้อจากัด
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Information
• เลือกป้าย Advanced
• กาหนดรายละเอียดในหน้าต่างของ Task Information
• ช่อง Constrain type : เลือกชนิดของข้อจากัด
• ช่อง Constrain date : เลือกวันที่กาหนดข้อจากัด
• คลิกปุ่ม Close
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
64
การกาหนดขอบเขตของงาน (TASK CONSTRAIN)
ประเภท รายละเอียด
As Soon As Possible (ASAP) กาหนดให้งานเริ่มต้นเร็วที่สุด
As Late As Possible (ALAP) กาหนดให้งานเริ่มต้นช้าสุด
Finish No Earlier Than (FNET) กาหนดให้งานต้องไม่เสร็จก่อนวันที่ระบุ
Start No Earlier Than (SNET) กาหนดให้งานต้องไม่เริ่มก่อนวันที่ระบุ
Finish No Later Than (FNLT) กาหนดเส้นตายให้งานเสร็จในเวลาที่กาหนด
Start No Later Than (SNLT) กาหนดให้งานต้องเริ่มภายในวันที่ระบุ
Must Finish On (MFO) กาหนดให้งานต้องเสร็จในวันที่ระบุ
Must Start On (MSO) กาหนดให้งานต้องเริ่มในวันที่ระบุ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
65
การแสดงจานวนวันสรุปโครงการ
• แทรก Task พิมพ์ชื่อโครงการ
• เลือก Task ทั้งหมด
• เลือกคาสั่ง Indent Task
• Taskจะแสดงเป็น Sub Task
• ชื่อโครงการ จะเป็น Summary Task
• จะแสดงจานวนวันรวมโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
66
บทที่ 5 การเชื่อมต่องาน
การเชื่อมต่องาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
67
การเชื่อมต่องาน
• ความสัมพันธ์ของงาน การกาหนดให้งานชิ้นใด
มีอิทธิพลต่องานชิ้นใด หรือเรียกว่า Task
dependency ในโปรแกรม
ProjectLibre การทางานในลาดับแรก
จะถูกเรียกว่า ลาดับก่อนหน้า
(Predecessor) ซึ่งเป็นตัวกาหนดงาน
ในลาดับที่สอง หรือที่เรียกว่า ลาดับถัดมา
(Successor)
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
68
แนวคิด PERT/CPM
Program Evaluation and Review Technique /Critical path method
• เป็นเทคนิคในการวิเคราะห์หรือประเมินเวลาที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรมของโครงการ
• แสดงเป็นแผนภาพกิจกรรมของโครงการที่เชื่อมโยงกันในลักษณะของเครือข่าย (ข่ายงาน)
• โดย PERT จะแทนแต่ละกิจกรรมด้วยเส้นลูกศร (Activity on Arch: AOA) และเชื่อมโยงกันด้วยวงกลม
• ส่วน CPM จะแสดงกิจกรรมด้วยสัญลักษณ์รูปวงกลม เรียกว่า “โหนด” หรือรูปสี่เหลี่ยมเชื่อมโยงกันด้วยเส้นลูกศร
(Activity on Node: AON)
• จุดเด่นของ PERT/CRM คือ การคานวณหาเส้นทางวิกฤติในการดาเนินกิจกรรม ทาให้ผู้บริหารโครงการ
คานวณหาเวลาได้หลายลักษณะ เช่น เวลาที่เร็วที่สุดของแต่ละกิจกรรม (Time Earliest : TE) เวลาที่ช้าที่สุด
ของแต่ละกิจกรรม (Time Latest : TL) เป็นต้น
69
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
PERT/CPM
1
2
3
4
5
6
8
7
TE = 5
TE = 11
TE = 11
TE = 13
TE = 18.5
TE = 18
TE = 19.5
TL = 22
TE = 21
5
56
6
2
5.5
1
3
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
70
วิธีการเชื่อมต่องาน
วิธีที่ 1 การเชื่อมต่องานใน Task sheet
• คลิกเลือกเซลล์ในคอลัมน์ Predecessor ของแถวงาน Successor
• ใส่หมายเลขของแถวที่ต้องการกาหนดให้เป็น Predecessor ของงานนี้
• กดปุ่ม <Enter> ที่แป้นพิมพ์
วิธีที่ 2 การเชื่อมต่องานโดยใช้เมาส์
• เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปวางบน Task bar ของงานที่เกิดในลาดับก่อนหน้า
• คลิกเมาส์ค้างไว้ แล้วลาก Task bar ดังกล่าว ไปทับยัง Task bar ของงานที่เกิดในลาดับถัดมา
• จากนั้นปล่อยเมาส์
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
71
วิธีการเชื่อมต่องาน
วิธีที่ 3 การเชื่อมต่องานโดยใช้ Toolbar
• คลิกเลือกหมายเลขแถวของงานที่เกิดในลาดับก่อนหน้า
• กดปุ่ม Ctrl แล้วคลิกเลือกหมายเลขแถวของงานในลาดับถัดมา
• คลิกเครื่องมือ Link บน Toolbar
วิธีที่ 4 การเชื่อมต่องานโดยใช้ Task Information
• คลิกเลือกหมายเลขแถวของงานที่อยู่ในลาดับถัดมา
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Information…
• เลือกป้าย Predecessor
• คอลัมน์ Predecessor : เลือกชื่อของงานที่เกิดก่อน
• คอลัมน์ Type : เลือกชนิดของความสัมพันธ์
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
72
วิธีการยกเลิกการเชื่อมต่องาน
วิธีที่ 1 ยกเลิกการเชื่อมต่อโดยใช้ Task sheet
• คลิกเลือกเซลล์ในคอลัมน์ Predecessor ต้องการยกเลิกการเชื่อมต่อ
• ลบโดยการกดปุ่ม Delete หรือกดปุ่ม Backspace ที่แป้นพิมพ์
วิธีที่ 2 ยกเลิกการเชื่อมต่อโดยใช้ Toolbar
• คลิกเลือกงานที่ต้องการยกเลิกการเชื่อมต่อ
• คลิกเครื่องมือ Unlink Task บน Toolbar
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
73
ประเภทของความสัมพันธ์
• Finish-to-Start (FS) การเชื่อมต่องานแบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่
เมื่องานแรกสิ้นสุดลง งานถัดมาจึงจะสามารถเริ่มทาได้
• Finish-to-Finish (FF) การเชื่อมต่องานแบบนี้โดยทั่วไปจะ
หมายถึงงาน ที่แตกต่างกัน 2 งาน แต่จะเสร็จในเวลาเดียวกัน
• Start-to-Start (SS) การเชื่อมต่องานแบบนี้จะเป็นการเชื่อมต่อ
งาน 2 งาน ที่มีวันเริ่มต้นเดียวกัน หรืองานถัดไปไม่สามารถเริ่มได้ หากงาน
ก่อนหน้ายังไม่เริ่มต้น
• Start-to-Finish (SF) การเชื่อมต่อแบบนี้จะมีความซับซ้อน
มากกว่าในแบบอื่น เป็นวิธีที่มีการใช้น้อยที่สุด โดยงาน Predecessor
จะไม่สามารถเสร็จได้จนกว่างาน Successor เริ่มต้น หรือ งานถัดไป
ห้ามเสร็จก่อน จนกว่างานก่อนหน้าจะเริ่มต้น หรืองานก่อนหน้าจะเริ่มต้น
เมื่อไร งานถัดไปต้องเลิกทาทันที
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
74
วิธีแก้ไขการเชื่อมต่องาน
• โดยใช้ Task dependency
• ดับเบิ้ลคลิกที่เส้นความสัมพันธ์
• เลือกชนิดความสัมพันธ์ในช่อง Type
หรือคลิกปุ่ม Remove
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
75
LEAD และ LAG TIME
• การใช้งาน Lead และ Lag Time เป็นการกาหนดระยะเวลาของ Predecessor โดยจะ
เริ่มต้นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับประเภทความสัมพันธ์ที่กาหนดไว้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
76
Lead Time
Lead Time
• เป็นการเหลื่อมกันระหว่างงาน
Successor กับ Predecessor
ใช้สาหรับในงานที่มีการเชื่อมต่อแบบ
Finish-to-Start กล่าวคือ งาน
Successor สามารถเริ่มก่อนที่งาน
Predecessor จะเสร็จได้
Lag Time
• เป็นการกาหนดความล่าช้า (Delay)
ของงาน กล่าวคือ งานที่เป็น
Successor นั้นจะเริ่มต้นได้ก็ต่อเมื่อ
งานที่เป็น Predecessor ได้สิ้นสุดลง
และมีการ Delay ระยะเวลาออกไปตามที่
กาหนดไว้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
77
การกาหนด LEAD และ LAG TIME
• ดับเบิ้ลคลิกที่เส้นเชื่อมต่อความสัมพันธ์ จะ
ปรากฏหน้าต่าง Task dependency
• กาหนดรายละเอียดในช่อง Lag ดังนี้
• ถ้าต้องการกาหนด Lead Time ให้กาหนดค่า
ในช่อง Lag เป็นค่าลบ( - )
• ถ้าต้องการกาหนด Lag Time ให้กาหนดค่า
ในช่อง Lag เป็นค่าบวก ( + )
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
78
บทที่ 6 การจัดการกับทรัพยากร
การจัดการกับทรัพยากร
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
79
ทรัพยากร (RESOURCE)
• หมายถึง บุคลากร อุปกรณ์ และวัตถุดิบที่จาเป็นต่อการทางานในโครงการ เช่น คนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง
ในระหว่างการดาเนินโครงการ อาจเป็น คนทาบัญชี, คนติดต่อประสานงาน หรืออาจเป็นสิ่งของ
อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินโครงการ ค่าใช้จ่าย สถานที่ต่างๆ
• กาหนดทรัพยากร โดยเปลี่ยนมุมมอง
• View  Resource
• Resource  Resource
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
80
ฟิลด์ต่างๆ ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลทรัพยากร
Resource
Name
ชื่อทรัพยากร
Type
ชนิดของทรัพยากร
• แบบ Work ในกรณีที่ทรัพยากรเป็นแบบบุคคล
• แบบ Material ในกรณีที่ทรัพยากรเป็นแบบสิ่งของ
Material Label
ชื่อหน่วยนับของทรัพยากรที่เป็นแบบสิ่งของ เช่น
ปากกา = ด้าม, คอมพิวเตอร์ = เครื่อง , ใส่หรือไม่ใส่ก็ได้
Initials ชื่อย่อ หรือชื่อกลางของทรัพยากร
Group
ชื่อกลุ่มของทรัพยากร เช่น
คน = ฝ่ายบัญชี, ปากกา = สิ่งของ , ใส่หรือไม่ใส่ก็ได้
Max Units
ใส่จานวนหน่วยสูงสุดของทรัพยากร ใช้สาหรับคน
คือ แรง วัดประสิทธิภาพการทางานของคน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
81
Std.Rate กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายปกติของทรัพยากร
Ovt.Rate กาหนดอัตราค่าใช้จ่าย เมื่อทรัพยากรทางานล่วงเวลา
Cost/Use กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายเป็นรายครั้ง อาจเป็นแบบเหมาจ่าย
Accrue At
ระบุวิธีการคิดค่าใช้จ่ายของทรัพยากร
• Start การคิดค่าใช้จ่ายเมื่องานเริ่มต้นดาเนินการ
• Prorated การคิดค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง
• End การคิดค่าใช้จ่ายเมื่องานมีความสาเร็จ
Base
Calendar
การระบุปฏิทินการทางาน
การมอบหมายงานให้ทรัพยากร
วิธีที่ 1 การมอบหมาย
งานโดยใช้ Task
sheet
วิธีที่ 2 การมอบหมาย
งานโดยใช้ Task
Information
วิธีที่ 3 การมอบหมาย
งานโดยใช้ Assign
Resource
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
82
วิธีที่ 1 การมอบหมายงานโดยใช้ Task sheet
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดทรัพยากร
• เลือกชื่อทรัพยากรในคอลัมน์ Resource name
• กดปุ่ม <Enter> ที่แป้นพิมพ์
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
83
วิธีที่ 2 การมอบหมายงานโดยใช้Task Information
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดทรัพยากรให้กับงานๆ นั้น
• แท็บ Task  เลือก Information
• เลือกป้าย Resources
• เลือกชื่อทรัพยากรที่คอลัมน์ Resource name
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
84
วิธีที่ 3 การมอบหมายงานโดยใช้ Assign Resource
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดทรัพยากรให้กับงานๆ นั้น
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Assign Resource
• เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงานๆ นั้น
• คลิกปุ่ม Assign
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
85
มุมมอง Task Usage
• เป็นมุมมองที่แสดงชั่วโมงการทางาน โดยจะแสดงรายชื่อ หรือทรัพยากร ทางด้านซ้าย ทาง
ด้านขวาจะเป็นวัน เวลา และชั่วโมงการทางาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
86
ยกเลิกการมอบหมายงานให้ทรัพยากร
วิธีที่ 1 ยกเลิกการมอบหมายงานโดยใช้
Task sheet
• เลือกงานที่ต้องการยกเลิกการ
มอบหมายงานทรัพยากร
• ลบชื่อทรัพยากรในคอลัมน์
Resource sheet โดยการกด
ปุ่ม Delete ที่แป้นพิมพ์
• กดปุ่ม <Enter> ที่แป้นพิมพ์
วิธีที่ 2 ยกเลิกการมอบหมายงานโดยใช้
Task Information
• แท็บ Task  เลือก Information…
• เลือกป้าย Resources
• เลือกชื่อทรัพยากรที่ต้องการลบที่คอลัมน์
Resource name
• กดปุ่ม Delete หรือกดปุ่ม Backspace ที่
แป้นพิมพ์
• คลิกปุ่ม OK
วิธีที่ 3 ยกเลิกการมอบหมายงานโดยใช้
Assign Resource
• เลือกงานที่ต้องการยกเลิกการ
มอบหมายงานทรัพยากร
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง
Assign Resource
• เลือกทรัพยากรที่ต้องการยกเลิกการ
มอบหมายงาน
• คลิกปุ่ม Remove
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
87
แนวคิดในการมอบหมายงานให้ทรัพยากร
• หลังที่ได้กาหนดรายการทรัพยากรลงไปใน ProjectLibre ทันที
ที่เรียกใช้ทรัพยากรในงานใดๆ จะทาให้เกิดสมการที่สาคัญคือ
Work = Duration * Unit
• Work หมายถึง จานวนชั่วโมงทางานทั้งหมดที่ทรัพยากรจะต้องทา
• Duration หมายถึง ระยะเวลาในการทางาน
• Unit หมายถึง จานวนหน่วยของทรัพยากรใดๆ
• สมการดังกล่าว จะถูกรักษาสมดุลให้ถูกต้องอยู่เสมอ ในโอกาสต่อๆ ไปหากมีการเปลี่ยนแปลง
ค่าของตัวแปรใดในสมการก็จะมีผลทาให้ตัวแปรอื่นๆ ได้รับผลกระทบไปด้วย
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
88
การคานวณงานให้ทรัพยากร
• เช่น ถ้ากาหนดให้ทรัพยากรชื่อ นาย ก. จานวน 1 หน่วย ทางาน 1 ชิ้น ซึ่งมีระยะเวลา 1d หรืออีกนัย
หนึ่งคือ 8h จะได้สมการ Work = Duration * Unit ดังนี้คือ
• 8h = 8h * 1 Unit
• หากเรียกใช้ทรัพยากร นาย ก. เพิ่มขึ้นเป็น 2 หน่วย ProjectLibre จะรักษาสมดุลของสมการ
ดังกล่าวให้ Work ยังคงเป็น 8h ดังนั้น เมื่อ Unit เพิ่มเป็น 2, Duration จึงต้องลดลง
เหลือ 4h ด้วยเหตุดังกล่าวสมการใหม่นี้จึงเป็น
• 8h = 4h * 2 Unit หรือ 4h * 2 Unit = 8h
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
89
ประเภทของงาน
• การคิดคานวณงาน (Work) ด้วยสมการที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะมีความแตกต่างกันเล็กน้อยใน
เรื่องการปรับแก้ตัวแปรตัวอื่นที่เหลือ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของงานที่ได้เลือกใช้ ซึ่งมีอยู่ 3 ประเภท
• งานประเภท Fixed Unit เป็นค่าเริ่มต้นของ ProjectLibre งานประเภทนี้จะทาการตรึงค่าของ
Unit ไว้ให้ก่อน ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าเมื่อปรับแก้ตัวแปรตัวอื่น ตัวแปรที่จะไม่ได้รับการปรับแก้ก็คือ Unit
• งานประเภท Fixed Duration งานประเภทนี้จะตรึงค่าของระยะเวลาของงาน (Duration) ไว้
ไม่ให้เปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีการปรับแก้ตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งในสมการ
• งานประเภท Fixed Work งานประเภทนี้เป็นงานที่ตัวแปร Work จะถูกตรึงค่าให้คงที่ไว้ ในขณะที่
ตัวแปรอื่นถูกปรับแก้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
90
การเลือกประเภทของงาน
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดประเภทของงาน
• แท็บ Task  เลือก Information…
• เลือกป้าย Advanced
• เลือกช่อง Task type เป็นประเภทของงานที่ต้องการ
(โดยส่วนใหญ่จะแก้ไขเป็นแบบ Fixed Duration)
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
91
แนวคิดเรื่อง EFFORT DRIVEN
• Effort Driven หมายถึง คุณสมบัติที่จะทาให้จานวนชั่วโมงของงานทั้งหมด (Work)
คงที่อยู่เท่าเดิม เมื่อมีการเพิ่มหรือลดทรัพยากรอื่นๆ เข้าไปในงาน หากมีการเรียกใช้ทรัพยากร
ชื่อแตกต่างกัน ทรัพยากรเหล่านั้นเป็น Co-worker คือผู้ที่ทางานไปพร้อมๆ กันโดยไม่
แบ่งปันภาระงานกัน
• เมื่อเรียกใช้ทรัพยากรที่แตกต่างกันเพิ่มขึ้นจานวนชั่วโมงการทางานทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นด้วย
เพราะทรัพยากรใหม่ที่เพิ่มเข้าไปไม่ได้เข้าไปร่วมรับภาระงานที่มีอยู่เดิม โดยปกติงานแต่ละงาน
ที่มีการวางแผนไว้ จะถูกกาหนดคุณสมบัติของ Effort Driven เป็นแบบ on
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
92
แนวคิดเรื่อง EFFORT DRIVEN
ระยะเวลามีผลผกผันตามจานวนทรัพยากร
• จานวนทรัพยากร (Unit) มีผลต่อระยะเวลาของาน (Duration)
• การเรียกใช้งานในครั้งแรกจะถูกคานวณด้วย
• Work = Duration x Unit
• เมื่อมีการเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลงค่าจะถูกคานวณค่าใหม่อีกครั้ง
• รักษาให้ค่าสมการเป็นจริง ยกเว้นการ Fix Duration
เมื่อไหร่ที่ควรจะใช้ EFFORT DRIVEN
• ไม่มีกฎแน่นอนตายตัว
• วิเคราะห์ตามธรรมชาติของผลงานที่ต้อง
อาศัยการทาอย่างแต่ละอย่าง
• ใช้ความสามารถในการตัดสินใจที่ดีที่สุด
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
93
บทที่ 7 การจัดการเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
การจัดการเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
94
การแสดงตารางค่าใช้จ่ายของงาน
• คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart
• คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
95
คอลัมน์ตารางค่าใช้จ่ายของงาน
Fixed Cost ค่าใช้จ่ายคงที่ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องเป็นคนกาหนดเอง
Fixed Cost Accrual รูปแบบการชาระเงิน
Total Cost ค่าใช้จ่ายโดยรวมของงานแต่ละงาน
Baseline ค่าใช้จ่ายเริ่มต้นของโครงการเมื่อมีการตั้งค่า Baseline
Variance ค่าใช้จ่ายที่แสดงค่าความแตกต่างของค่าใช้จ่ายระหว่างคอลัมน์ Total Cost – คอลัมน์ Baseline
Actual ค่าใช้จ่ายจริง ซึ่งคิดจากเปอร์เซ็นต์ความก้าวหน้าของงาน
Remaining ค่าใช้จ่ายคงเหลือ ซึ่งเกิดจากค่าใช้จ่ายในคอลัมน์ Total Cost – คอลัมน์ Actual
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
96
การแสดงตารางค่าใช้จ่ายของทรัพยากร
• คลิกเลือกมุมมอง Resource Sheet
• คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
97
คอลัมน์ตารางค่าใช้จ่ายของทรัพยากร
Cost ค่าใช้จ่ายโดยรวมของทรัพยากร
Baseline Cost ค่าใช้จ่ายเริ่มต้นของโครงการเมื่อมีการตั้งค่า Baseline
Variance ค่าใช้จ่ายที่แสดงค่าความแตกต่างของค่าใช้จ่ายระหว่างคอลัมน์ Total Cost – คอลัมน์ Baseline
Actual Cost ค่าใช้จ่ายจริง ซึ่งคิดจากเปอร์เซ็นต์ความก้าวหน้าของงาน
Remaining ค่าใช้จ่ายคงเหลือ ซึ่งเกิดจากค่าใช้จ่ายในคอลัมน์ Cost – คอลัมน์ Actual Cost
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
98
การระบุตารางค่าใช้จ่ายให้กับงาน
• คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart
• คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column
 Fixed Cost
• ใส่ค่าใช้จ่ายในช่อง Fixed Cost
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
99
การดูจานวนหน่วยในการทางาน
• คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart
• คลิกเมาส์ขวาเลือก Insert Column
• แทรกคอลัมน์
• Work
• Assignment Unit
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
100
การกาหนดจานวนหน่วยในการทางาน
• คลิกเลือก Task
• แท็บ Task  เลือก Information
•ป้าย Resource
• ปุ่ม Assign Resource
• ปรับ Unit ในการทางาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
101
การแสดงตารางค่าใช้จ่ายโดยรวมของโครงการ
• แท็บ View  เลือก Projects
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
102
การแสดงรายงานค่าใช้จ่าย
• แท็บ View  เลือก Reports…
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
103
การระบุตารางค่าใช้จ่ายทรัพยากร
• คลิกเลือกมุมมอง Resource Sheet
• เลือกชื่อทรัพยากรที่ต้องการเปลี่ยนแปลงตารางค่าใช้จ่าย
• แท็บ Resource  เลือก Information
• เลือกป้าย Cost
• กาหนดการเปลี่ยนแปลงตารางค่าใช้จ่ายที่ตาราง A – E
• คอลัมน์ Effective Date:
• กาหนดวันที่ ที่ต้องการบังคับให้ใช้ตารางค่าใช้จ่ายใหม่
• คอลัมน์ Standard rate:
• กาหนดอัตราค่าจ้างในเวลาปกติต่อชั่วโมง
• คอลัมน์ Overtime rate:
• กาหนดอัตราค่าจ้างในเวลาล่วงงานต่อชั่วโมง
• คอลัมน์ Per Use Cost:
• กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายเมื่อเรียกใช้งานต่อครั้ง
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
104
บทที่ 8 การปรับแต่งทรัพยากร
การปรับแต่งทรัพยากร
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
105
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเรียกใช้ทรัพยากร
• การเรียกใช้ทรัพยากรมากกว่าจานวนหน่วยสูงสุดที่มี
• การมอบหมายงานให้ทรัพยากรทางานมากกว่าหนึ่งงานในเวลาเดียวกัน
• แท็บ Resource  คลิกเลือกมุมมอง Resource Usage
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
106
การระดับทรัพยากรเกินขีดจากัด
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
107
• Sub-View  คลิกเลือกมุมมอง Histogram
การปรับระดับทรัพยากรเกินขีดจากัด
วิธีที่ 1 การปรับ
โดยขยาย
ช่วงเวลาทางาน
วิธีที่ 2 การปรับ
โดยการเปลี่ยน
ทรัพยากร
วิธีที่ 3 การปรับ
โดยการลดเวลา
การทางานของ
ทรัพยากร
วิธีที่ 4 การใช้
งาน Work
contour
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
108
วิธีที่ 1 การปรับโดยขยายช่วงเวลาทางาน
• เลือกทรัพยากรที่มีการใช้งานมากเกินขีดจากัด
• เลือกงานที่ต้องการขยายช่วงเวลาการทางาน
• ระบุจานวนวันที่ต้องการขยายช่วงเวลาในคอลัมน์ Leveling Delay
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
109
วิธีที่ 2 การปรับโดยการเปลี่ยนทรัพยากร
• เลือกทรัพยากรที่ใช้งานเกินขีดจากัด
• เลือกงานที่ต้องการให้ดูแลแทน
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Assign Resource
• เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงานคนเดิม
• คลิกปุ่ม Replace
• เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงานคนใหม่
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
110
วิธีที่ 3 การปรับโดยการลดเวลาการทางานของทรัพยากร
• คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart
• เลือกงานที่ต้องการลดเวลาการทางาน
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Assign Resource
• เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงาน
• กาหนดจานวนหน่วยการทางานในคอลัมน์ Unit
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
111
วิธีที่ 4 การใช้งาน Work contour
• เป็นการรูปแบบชั่วโมงการทางานของทรัพยากรนั้นๆ แบ่งลักษณะเป็นชนิดต่างๆ ดังนี้
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
112
Flat เป็นรูปแบบที่มีจานวนชั่วโมงในการทางานเท่ากันตลอด
Front-loaded เป็นรูปแบบที่มีการเพิ่มจานวนชั่วโมงต่อวัน
Back-loaded เป็นรูปแบบที่มีการลดจานวนชั่วโมงต่อวัน
Early Peak เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงที่ถัดจากวันแรกของการทางาน
Late Peak เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงใกล้จุดสิ้นสุดของงาน
Double-Peak เป็นรูปแบบที่มีงานหนักและเบาตลอดการทางาน
Bell เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงกลางของการทางาน เปลี่ยนแปลงขนาดงานมาก
Plateau เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงกลาง เปลี่ยนแปลงขนาดงานเพียงเล็กน้อย
การใช้งาน CONTOUR
• คลิกมุมมอง Resource Usage
• เลือกงานที่ต้องการปรับรูปแบบชั่วโมงการทางาน
• กาหนดรูปแบบที่ต้องการในช่อง Work contour
• หรือสามารถกาหนดเองได้ในแต่ล่ะวัน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
113
บทที่ 9 งานวิกฤต
งานวิกฤต
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
114
งานวิกฤต
• งานวิกฤต (Critical Task) หมายถึง งานที่เกิดความล่าช้าแล้วส่งผลทาให้งานอื่นๆ รวมทั้งโครงการเกิดความล่าช้าไปด้วย
• เส้นทางวิกฤต (Critical Path) หมายถึง เส้นทางของงานวิกฤตหลายๆ งานตั้งแต่เริ่มโครงการจนสิ้นสุดโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
115
การกาหนดค่า Critical Task
• คลิกเมาส์ขวาคาสั่ง Bar Styles
• คลิกเลือกเครื่องหมายถูกที่คาสั่ง Critical Tasks
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
116
การจัดการกับงานวิกฤต
วิธีที่ 1 การเพิ่มทรัพยากรใหม่ในการทางาน วิธีที่ 2 การปรับเวลาทางานในงานวิกฤต
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
117
บทที่ 10 การจัดการความคืบหน้าของงาน
การจัดการความคืบหน้าของงาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
118
การบันทึกค่า BASELINE
• Baseline คือข้อมูลทั้งหมดของโครงการ แต่เป็นข้อมูลที่ ProjectLibre ถือเป็นค่าเริ่มต้นหรือค่าที่ได้จาก
การวางแผนงาน ข้อมูลที่เป็น Baseline นี้อาจจะเหมือนหรือต่างกันกับข้อมูลที่จะเกิดขึ้นเมื่อโครงการเริ่มต้น
จริงๆ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
119
การบันทึกค่า BASELINE
• คลิกเลือกมุมมอง Gantt
• แท็บ File  เลือกคาสั่ง Save Baseline…
• กาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Save baseline ดังนี้
• คลิกเลือก baseline เพื่อทาการบันทึกค่าเริ่มต้น
• ช่อง For: เลือกรูปแบบการบันทึกดังนี้
• เลือก  Entire project : เป็นการบันทึกค่าเริ่มต้นทั้งโครงการ
• เลือก  Selected tasks : เป็นการบันทึกค่าเริ่มต้นเฉพาะงานที่เลือก
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
120
ยกเลิกการบันทึกค่า BASELINE
• คลิกเลือกมุมมอง Gantt
• แท็บ File  เลือก Clear baseline…
• เลือก Baseline ที่ยกเลิก
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
121
การแสดงรายละเอียดของค่า BASELINE
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
122
• คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart
• คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column
Baseline Dur. แสดงค่าเริ่มต้นของระยะเวลางาน
Baseline Start แสดงค่าเริ่มต้นของวันเริ่มต้นงาน
Baseline Finish แสดงค่าเริ่มต้นของวันสิ้นสุดงาน
Baseline Work แสดงค่าเริ่มต้นของจานวนชั่วโมงการทางาน
Baseline Cost แสดงค่าเริ่มต้นของค่าใช้จ่ายของงาน
การระบุความคืบหน้าทั้งโครงการ
• แท็บ File  เลือกคาสั่ง Update
• กาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Update Project ดังนี้
• เลือก  Update work as complete through เพื่อสั่งให้ทาการอัพเดต
ทั้งโครงการ
• ช่องวันที่ ระบุวันที่ที่ต้องการให้อัพเดตไปถึง
• เลือกรูปแบบการกาหนดเปอร์เซ็นต์ความคืบหน้า ดังนี้
• เลือก  Set 0% - 100% complete: เมื่อต้องการให้แสดงเปอร์เซ็นต์
ความคืบหน้าของงานตามจริง
• เลือก  Set 0% or 100% complete: เมื่อต้องการให้แสดงเปอร์เซ็นต์
ความคืบหน้าของงานเป็น 0% หรือ 100% เท่านั้น
• ช่อง For : เลือกรูปแบบการอัพเดต ดังนี้
• เลือก Entire Project : เมื่อต้องการให้มีการอัพเดตงานทั้งโครงการ
• เลือก Selected Task : เมื่อต้องการให้อัพเดตเฉพาะงานที่ได้เลือกไว้เท่านั้น
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
123
การกาหนดความคืบหน้าของงานโดยใช้เมาส์
• วางตัวชี้เมาส์ไว้ด้านซ้ายของ Task bar ที่ต้องการกาหนดความคืบหน้า (ตัวชี้เมาส์จะแสดงโดย
มีเครื่องหมาย % กากับด้วย)
• คลิกเมาส์ค้างแล้วลาก ตามจานวนวันที่ และเวลาที่ต้องการ จากนั้นปล่อยเมาส์
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
124
%
การกาหนดความคืบหน้าของงานโดยการใช้ TASK INFORMATION
• เลือกงานที่ต้องการกาหนดความคืบหน้า
• แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Information…
• เลือกป้าย General
• ช่อง % Complete : ระบุจานวนเปอร์เซ็นต์ที่ต้องการ
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
125
การปรับเลื่อนงาน
• แท็บ Project  เลือกคาสั่ง Update
• กาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Update Project ดังนี้
• เลือก  Reschedule Uncomplete work to start
เพื่อสั่งให้ทาการปรับเลื่อนงาน
• ช่องวันที่ ระบุวันที่ที่ต้องการให้ปรับเลื่อนงานไปถึง
• ช่อง For: เลือกรูปแบบการอัพเดต ดังนี้
• เลือก Entire Project: เมื่อต้องการให้มีการอัพเดตงานทั้งโครงการ
• เลือก Selected Task: เมื่อต้องการให้อัพเดตเฉพาะงานที่ได้เลือกไว้
เท่านั้น
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
126
การกาหนด STATUS DATE
• แท็บ File  เลือกคาสั่ง Information
• กาหนดวันที่ ที่ต้องการในช่อง Status Date
• คลิกปุ่ม OK
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
127
บทที่ 1 1 การกรองข้อมูล และการออกแบบรายงาน
การกรองข้อมูล และการออกแบบรายงาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
128
การกรองข้อมูล (FILTER)
• ฟิลเตอร์จะทาหน้าที่คัดกรองข้อมูลที่สนใจ โดยแสดงเฉพาะข้อมูลที่ต้องการหรือสนใจ และซ่อน
ข้อมูลอื่นๆ ที่ไม่สนใจไว้ให้ ปกติ ProjectLibre จะแสดงข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวกับงานในตาราง
ที่เราเลือก ฟิลเตอร์ที่เป็นค่าปกตินี้จึงเป็นแบบ All Tasks หรือ All resource
• ใช้เครื่องมือ Filter บนแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
129
การกรองข้อมูลโดยใช้ FILTER
•แท็บ View
•คลิกลูกศรชี้ลงที่เครื่องมือ Filter
•คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
130
การเรียงลาดับข้อมูล
• แท็บ View
• เลือก Sort
• เลือกประเภทการเรียงลาดับข้อมูล
• เลือกคอลัมน์ที่ต้องการเรียงลาดับ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
131
การจัดกลุ่มข้อมูล
• แท็บ View
• เลือก Group
• เลือกประเภทการจัดกลุ่มข้อมูล
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
132
การพิมพ์รายงาน
• แท็บ View
• เลือก Reports
• เลือกรูปแบบรายงาน
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
133
รายงานแบบ Project Detail
• เป็นรายงานที่เกี่ยวกับสภาพทั่วๆ ไปของโครงการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
134
รายงานแบบ Resource Information
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
135
• เป็นรายงานที่แสดงการใช้ทรัพยากร
รายงานแบบ Task Information
• เป็นรายงานที่เกี่ยวงานกับค่าใช้จ่าย
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
136
รายงานแบบ Who Does What
• เป็นรายงานที่เกี่ยวกับการมอบหมายงานต่างๆ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
137
การสั่งพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์
• แท็บ File  เลือก Print…
• เลือกชื่อเครื่องพิมพ์ในรายการ Name
• คาสั่ง Setting : เลือกรูปแบบของการพิมพ์
• ระบุวันที่ ที่ต้องการสั่งพิมพ์ จากวันไหน ถึงวันไหน
• ระบุจานวนหน้าของเอกสารที่จะปริ้น
• กาหนดรูปแบบของกระดาษที่ต้องการ
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
138
สรุปขั้นตอนการสร้างโครงการ
smitrong@Hotmail.com
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
139
สรุปขั้นตอนการวางแผนโครงการ
• กาหนดปฏิทิน (Change working Calendar)
• กาหนดรายละเอียดโครงการ (Project Information)
• จัดการงาน (TASK)
• เชื่อมต่องาน (Link)
• จัดการกับทรัพยากร (Resource)
• จัดการเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย (Cost)
• กรองข้อมูล และออกรายงาน (Filter & Reports)
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
140
สรุปขั้นตอนการดาเนินโครงการ
•จัดการความคืบหน้าของงาน (Baseline & Update)
•ปรับแต่งงาน เวลาและทรัพยากร จัดการกับงานวิกฤต (Usage)
• จัดการงาน (TASK)
• เชื่อมต่องาน (Link)
• จัดการกับทรัพยากร (Resource)
• จัดการเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย (Cost)
•กรองข้อมูล และออกรายงาน (Filter & Reports)
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
141
smitrong@Hotmail.com
21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
142

More Related Content

What's hot

PMI Project Management Principles
PMI Project Management PrinciplesPMI Project Management Principles
PMI Project Management Principlestltiede
 
Project Time Management - PMBOK 5th Edition
Project  Time Management - PMBOK 5th EditionProject  Time Management - PMBOK 5th Edition
Project Time Management - PMBOK 5th Editionpankajsh10
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
Scheduling by using microsoft project 2013
Scheduling by using microsoft project 2013Scheduling by using microsoft project 2013
Scheduling by using microsoft project 2013Chetanraj M
 
Fundamentals of scheduling
Fundamentals of schedulingFundamentals of scheduling
Fundamentals of schedulingjmd2011
 
Project network scheduling and S-curve
Project network scheduling and S-curve Project network scheduling and S-curve
Project network scheduling and S-curve Satish Yadavalli
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
Primavara
PrimavaraPrimavara
Primavaradanabl
 
construction project planing
 construction project planing construction project planing
construction project planingSANJEEV Wazir
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Construction Planing & Schedule
Construction Planing & ScheduleConstruction Planing & Schedule
Construction Planing & ScheduleVîñõđ Kůmåř
 
Baseline schedule review and analysis
Baseline schedule review and analysisBaseline schedule review and analysis
Baseline schedule review and analysisADITYA GHUMARE
 
MS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for You
MS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for YouMS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for You
MS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for YouCA Technologies
 
Primavera - Tutorial
Primavera - TutorialPrimavera - Tutorial
Primavera - TutorialRajeev Sharma
 
Mechanised construction
Mechanised constructionMechanised construction
Mechanised constructionMANUJ sinh
 
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการpop Jaturong
 

What's hot (20)

PMI Project Management Principles
PMI Project Management PrinciplesPMI Project Management Principles
PMI Project Management Principles
 
Project Time Management - PMBOK 5th Edition
Project  Time Management - PMBOK 5th EditionProject  Time Management - PMBOK 5th Edition
Project Time Management - PMBOK 5th Edition
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
Scheduling by using microsoft project 2013
Scheduling by using microsoft project 2013Scheduling by using microsoft project 2013
Scheduling by using microsoft project 2013
 
Fundamentals of scheduling
Fundamentals of schedulingFundamentals of scheduling
Fundamentals of scheduling
 
Primavera Training P6
Primavera Training P6Primavera Training P6
Primavera Training P6
 
Project network scheduling and S-curve
Project network scheduling and S-curve Project network scheduling and S-curve
Project network scheduling and S-curve
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
Primavara
PrimavaraPrimavara
Primavara
 
construction project planing
 construction project planing construction project planing
construction project planing
 
Concrete Batching Plant
Concrete Batching Plant Concrete Batching Plant
Concrete Batching Plant
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
Construction Planing & Schedule
Construction Planing & ScheduleConstruction Planing & Schedule
Construction Planing & Schedule
 
Pmp basics you need to know
Pmp basics you need to knowPmp basics you need to know
Pmp basics you need to know
 
Baseline schedule review and analysis
Baseline schedule review and analysisBaseline schedule review and analysis
Baseline schedule review and analysis
 
MS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for You
MS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for YouMS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for You
MS Project Integration: Tips, Tricks and What's New for You
 
Primavera - Tutorial
Primavera - TutorialPrimavera - Tutorial
Primavera - Tutorial
 
Mechanised construction
Mechanised constructionMechanised construction
Mechanised construction
 
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
 

Similar to แนะนำ ProjectLibre

Similar to แนะนำ ProjectLibre (11)

11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
Ms project
Ms projectMs project
Ms project
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี
@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี
@@@การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
แบบ โครงการ 58
แบบ โครงการ 58แบบ โครงการ 58
แบบ โครงการ 58
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from smittichai chaiyawong (20)

Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
 
Adobe premiere pro cc 2018
Adobe  premiere pro cc 2018Adobe  premiere pro cc 2018
Adobe premiere pro cc 2018
 
Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
 
Cinemagraph by photoshop
Cinemagraph by photoshopCinemagraph by photoshop
Cinemagraph by photoshop
 
Motion graphic by ppt
Motion graphic by pptMotion graphic by ppt
Motion graphic by ppt
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013
 
Excel 2013
Excel 2013Excel 2013
Excel 2013
 
02 word 2013
02 word 201302 word 2013
02 word 2013
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
 
Ms outlook 2016
Ms outlook 2016Ms outlook 2016
Ms outlook 2016
 
Windows 10
Windows 10Windows 10
Windows 10
 
Excel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finishExcel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finish
 
Advance word2013
Advance word2013Advance word2013
Advance word2013
 
เอกสาร Infographic
เอกสาร Infographicเอกสาร Infographic
เอกสาร Infographic
 
slide intro Infographic
slide intro Infographicslide intro Infographic
slide intro Infographic
 
Logical Excel
Logical ExcelLogical Excel
Logical Excel
 
PowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 ConceptPowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 Concept
 
Facebook marketingonline
Facebook marketingonlineFacebook marketingonline
Facebook marketingonline
 
Summery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHETSummery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHET
 

แนะนำ ProjectLibre

  • 3. แนะนา ProjectLibre • โดยทั่วไปในการวางแผนงาน (Schedule) การจัดการ หรือปรับปรุงข้อมูล เพื่อการบริหาร โครงการนั้น จาเป็นต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ การคานวณ ระยะเวลา ค่าใช้จ่ายต่างๆ ระหว่างดาเนินการ จึงเป็นเรื่องยุ่งยากสาหรับโครงการที่มีความซับซ้อน • ProjectLibre เป็นโปรแกรมที่สามารถลดภาระในการจัดการเกี่ยวกับโครงการนั้นๆ ได้เป็น อย่างดี โดยที่ผู้ใช้งานใส่ข้อมูลต่างๆ ให้กับโปรแกรม โปรแกรมฯ จะทาการคานวณเวลาการทางาน ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร ตลอดจนค่าใช้จ่ายของโครงการให้เราได้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 3
  • 4. ความสามารถของ ProjectLibre • สามารถจัดการบริหารโครงการต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในเรื่องของการจัดการขั้นตอนการ ทางาน ระยะเวลา ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเงินระหว่างการบริหารโครงการ ทาให้จัดการบริหาร โครงการขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว สาหรับความสามารถของ โปรแกรม แบ่งเป็นหัวข้อได้ดังนี้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 4
  • 5. การจัดการเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ • สามารถกาหนดเวลาในการทางานได้อย่างถูกต้อง โดยคานวณระยะเวลาในการดาเนินโครงการได้ อย่างแม่นยา ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ จนถึงวันสิ้นสุด โดยมีความสัมพันธ์กันทั้งโครงการ ทาให้สามารถ เปลี่ยนหรือแก้ไขส่วนต่างๆ ของโครงการได้ง่าย 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 5
  • 6. การบริหารทรัพยากรขององค์กรอย่างได้ผล • ทรัพยากร ถือเป็นสิ่งสาคัญของโครงการ เช่น ทรัพยากรแรงงาน (คน) หรือทรัพยากรสิ่งของ โดย สามารถใช้ ProjectLibre ในการจัดการทรัพยากรเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 6
  • 7. ความสามารถในการจัดการค่าใช้จ่ายต่างๆ • ในการจัดทาโครงการต้องมีค่าใช้จ่ายเข้ามาเกี่ยวข้อง และถ้าเป็นโครงการขนาดใหญ่ขึ้น ก็จะมีความ ซับซ้อนมากขึ้น โปรแกรม ProjectLibre สามารถลดปัญหาเหล่านั้นได้ โดยโปรแกรมจะ คานวณค่าใช้จ่ายภายในโครงการได้อย่างแม่นยา และมีความสัมพันธ์กันทั้งโครงการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 7
  • 8. การติดตาม และการตรวจสอบความก้าวหน้าของงาน • การบริหารโครงการ ผู้บริหารต้องกาหนดเวลาว่า โครงการจะเสร็จเมื่อไร จึงจาเป็นต้องมีจุด เปรียบเทียบในการบริหาร ซึ่งเป็นจุดที่เรากาหนดเพื่อให้โครงการของเราสาเร็จ และเพื่อทาให้ทราบ ว่าโครงการมีความคืบหน้า หรือล่าช้าอย่างไร ซึ่งเราสามารถเปรียบเทียบข้อมูลเหล่านั้นได้ในรูปแบบ ของสถิติ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 8
  • 9. การพิมพ์รายการโครงการ • บางครั้งต้องนาเสนอข้อมูลให้กับ สมาชิกของโครงการทราบ โดยทา ออกมาในลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่ง ProjectLibre มีรูปแบบการ นาเสนอให้เลือกได้ว่าต้องการนาเสนอ ข้อมูลในลักษณะใด เช่น เรื่องของ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย ทรัพยากร หรือ พลังงาน จานวนคน เป็นต้น 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 9
  • 10. ความหมายของโครงการ • โครงการ หมายถึง การดาเนินกิจกรรมที่มีความซับซ้อน และดาเนินการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยมี ข้อจากัดทางด้านเวลา งบประมาณ ทรัพยากร และผลการดาเนินการ ซึ่งต้องเป็นไปตามเป้าหมายที่ กาหนด โดยส่วนใหญ่จะใช้คาว่าโปรเจ็กต์ (Project) แทนคาว่าโครงการ ซึ่งให้ความหมาย ครอบคลุมกว่า แต่ความจริงแล้วโปรเจ็กต์ ก็คือ โครงการนั่นเอง 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 10
  • 11. ความหมาย Project Management • หมายถึง กระบวนการในการกาหนด วางแผน ชี้แนะ ติดตาม และควบคุม โครงการพัฒนาระบบให้สามารถ ดาเนินการได้ตามระยะเวลาและ งบประมาณที่กาหนดไว้ได้ Project Manager • เป็นผู้ที่คอยดูแล ให้คาแนะนา ควบคุม และติดตามผลการดาเนินงานของ โครงการ ให้เป็นไปตามแผนงานที่ กาหนดขึ้น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ใน การพัฒนาระบบร่วมกัน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 11
  • 12. หน้าที่ของ Project Manager • กาหนดขอบเขตของโครงการ • วางแผนและจัดตั้งทีมงาน • จัดตารางการดาเนินงาน • กากับและควบคุมโครงการ • การดาเนินงานโครงการกว้าง,แคบ • กาหนดตาแหน่งงานที่ชัดเจน • ระบุหน้าที่และตารางเวลาการทางาน • นาแผนไปสร้างใน Project 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 12
  • 14. Project Management Process แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ระยะการเริ่มต้นโครงการ ระยะการวางแผนโครงการ ระยะดาเนินโครงการ ระยะปิดโครงการ ประชุมวางแผนรายละเอียดโครงการ ระดมความคิดจากทีมงานที่ตั้งไว้ นาแผนที่ได้มาดาเนินการด้วย Project สรุปผลโครงการ, ประเมินผล 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 14
  • 15. การพิจารณาโครงการ • เวลา (Time) โครงการส่วนใหญ่มีการกาหนดวันสิ้นสุดของโครงการ • ค่าใช้จ่าย (Cost) ค่าใช้จ่ายของทรัพยากรที่เป็นบุคคล และทรัพยากรที่ เป็นสิ่งของที่ใช้ทางาน • ขนาด (Scope) อาจพิจารณาขนาดเป็น 2 รูปแบบ คือ • ขนาดของสินค้า คือจุดมุ่งหมายในด้านคุณภาพ • ขนาดของโครงการ คือความต้องการงานที่จะทาให้เกิดผลิตผลตามขนาดของ สินค้า 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 15
  • 16. หลักการบริหารโครงการ ลักษณะของโครงการ • มีวัตถุประสงค์ของโครงการ • การกาหนดระยะเวลาในการดาเนินงาน • มีขอบเขตด้านการเงินในการดาเนินงาน • มีการกาหนดทรัพยากรที่ใช้ • มีลักษณะการดาเนินงานที่เป็นอิสระ • มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับฝ่ายต่างๆ องค์ประกอบของโครงการ โครงการ งาน เวลา ทรัพยากร ค่าใช้จ่าย 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 16
  • 17. องค์ประกอบของโครงการ • งาน : งานในโครงการมีทั้งงานหลักและงานย่อย เช่น โครงการสร้างบ้าน งานหลักคือ ตกแต่ง ภายใน, งานรองคือ ติดวอร์เปเปอร์และทาสี • เวลา : ระยะเวลาระหว่างการดาเนินโครงการ ซึ่งแต่ละขั้นตอนอาจมีระยะเวลาในการทางานไม่ เท่ากัน เช่น ขั้นตอนการตอกเสาเข็ม มีระยะเวลานานกว่าการตกแต่งภายใน เป็นต้น • ทรัพยากร : สิ่งที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน เช่น ทรัพยากรแรงงาน(ทีมงาน) หรือทรัพยากรสิ่งของ • ค่าใช้จ่าย : เป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดาเนินงาน เช่น ค่าใช้จ่ายที่มาจากการสั่งซื้อวัสดุ หรือ ค่าจ้างพนักงาน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 17
  • 18. การออกแบบโครงการ ขั้นตอนการออกแบบโครงการ • กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการ • หาผู้สนับสนุนโครงการ และมีสัญญาที่ชัดเจน • ศึกษาขั้นตอนและทาเป็นเอกสาร • เขียนแผนงานที่ปฏิบัติได้จริง • กาหนดทีมงาน • ประเมินปัจจัยเสี่ยง • ลงมือปฏิบัติ ประโยชน์จากการบริหารโครงการ • สามารถระบุความรับผิดชอบตามหน้าที่ • มีการระบุของเขตด้านเวลาในการทางาน • มีการระบุวิธีการวิเคราะห์ทางเลือก • มีการวัดความสาเร็จของแผน • มีการปรับปรุงแก้ไขปัญหา 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 18
  • 19. อุปสรรคการบริหารงานโครงการ • ความสลับซับซ้อนของโครงการ • ความต้องการเฉพาะด้านของลูกค้า • การปรับโครงสร้างขององค์กร • ความเสี่ยงจากโครงการ • ขั้นตอนเยอะหรือไม่เป็นไปตามขั้นตอน • งบประมาณ เช่น ที่พัก, ค่าเดินทาง • รู้ว่าโครงการไปไม่รอดแต่ยังฝืน • เปลี่ยน Project Manager 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 19
  • 20. บทที่ 2 การสร้างโครงการด้วย ProjectLibre การสร้างโครงการด้วย ProjectLibre 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 20
  • 21. แนะนาโปรแกรม • โปรแกรม ProjectLibre เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูงสามารถจัดการโครงการได้ตั้งแต่ ระดับธรรมดา โดยที่สามารถรู้ได้ทันทีว่าแผนงานที่วางไว้จะเสร็จเมื่อใด หรือหากต้องการ เปรียบเทียบระหว่างแผนงานที่วางไว้กับแผนงานที่เกิดขึ้นจริงว่าแตกต่างกันอย่างไรก็สามารถทาได้ และสามารถที่จะตรวจสอบรายงานของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นได้ เพื่อที่จะทราบได้ว่าค่าใช้จ่ายเกิน แผนงานที่วางไว้จริงหรือไม่ นอกจากนั้นยังสามารถตรวจสอบได้อีกว่างานใดเป็นงานวิกฤตที่จะมี ผลกระทบต่อวันเสร็จสิ้นของโครงการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 21
  • 22. การเปิดเข้าสู่โปรแกรม • Start • All Program • ProjectLibre 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 22
  • 24. Ribbon มีคุณสมบัติต่างๆ กันไป ซึ่งประกอบด้วย • File : การบันทึก การเปิด การปิด • Task : เรื่องเกี่ยวกับงานโดยตรง 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 24
  • 25. Ribbon มีคุณสมบัติต่างๆ กันไป ซึ่งประกอบด้วย • Resource:การบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ • View : การปรับมุมมองต่างๆ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 25
  • 26. การเปิดและเลือกใช้มุมมอง • มุมมองมี 2 ส่วน คือ ส่วนที่อยู่ใน View กับส่วนที่อยู่ทางด้านขวามือ โดยมีส่วนคล้ายกันเพียงแต่ View นั้น จะถูกเก็บอยู่ในลักษณะของริบบอน Ribbon มุมมองของโปรแกรม ประกอบด้วย 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 26
  • 27. มุมมอง Gantt Chart • เป็นมุมมองปกติที่ใช้ในการทางาน แสดงแผนการของโครงการในรูปแบบตาราง ซึ่งสามารถระบุ ระยะเวลาการทางาน วันเริ่มต้น วันสิ้นสุด และรายละเอียดต่างๆ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 27
  • 28. มุมมอง Task Form • เป็นมุมมองที่เราได้เห็นหน้าจอการทางาน รายละเอียดต่างๆ ระยะเวลาที่ใช้ใน การทางาน วัน เริ่มต้น หรือชื่อผู้คุมงาน เป็นต้น 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 28
  • 29. มุมมอง Network Diagram • เป็นมุมมองลักษณะการเรียงลาดับ Order ตั้งแต่งานลาดับที่ 1,2,3 ไปเรื่อยๆ ทาให้เราเห็น ภาพรวมในลักษณะของ Diagram 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 29
  • 30. มุมมอง Task Usage • เป็นมุมมองที่แสดงชั่วโมงการทางาน โดยจะแสดงรายชื่อ หรือทรัพยากร ทางด้านซ้าย ทาง ด้านขวาจะเป็นวัน เวลา และชั่วโมงการทางาน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 30
  • 31. มุมมอง Resource Sheet • จัดการเกี่ยวกับทรัพยากร โดยป้อนข้อมูลลงไปที่ Resource Sheet ซึ่งทาให้ การเลือก ข้อมูลที่มุมมอง Gantt Chart ง่ายขึ้น คือจะปรากฏลูกศรชี้ลงให้เลือก ที่ช่อง Resource Name 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 31
  • 32. มุมมอง Resource Form • คล้ายกับมุมมอง Task Form แต่จะแสดงรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 32
  • 33. มุมมอง Resource Usage • แสดงชั่วโมงการทางานทรัพยากร ทางซ้ายคือชื่อทรัพยากร ทางขวาเป็นชั่วโมงการทางานของ ทรัพยากร 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 33
  • 34. มุมมอง Sub-Views • มุมมองที่ให้เราสามารถกาหนดเพิ่มเติมขึ้นมาเองได้ โดยคลิกเลือกที่หน้าต่าง และคาสั่งต่างๆ ด้าน ซ้ายมือเพื่อเปิดขึ้นมาใช้งานได้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 34
  • 35. การเปิดโครงการ • แท็บ File  เลือกคาสั่ง Open… • กาหนดรายละเอียดในการเปิดโครงการ ดังนี้ • ช่อง Look in: เลือกตาแหน่งที่เก็บโครงการ • เลือกชื่อโครงการที่ต้องการเปิด • คลิกปุ่มคาสั่ง Open 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 35
  • 36. การบันทึกโครงการ • แท็บ File  เลือก Save หรือ Save as • กาหนดรายละเอียดในการบันทึกโครงการดังนี้ • ช่อง Save in : เลือกตาแหน่งที่ใช้สาหรับเก็บโครงการ • ช่อง File name : พิมพ์ชื่อโครงการที่ต้องการ • คลิกปุ่มคาสั่ง Save 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 36
  • 37. การปิดโครงการ • แท็บ File  เลือกคาสั่ง Close 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 37
  • 38. การสร้างโครงการ • การกาหนดโดยดูจากวันที่เริ่มต้นโครงการ (Project Start Date) เหมาะสาหรับโครงการที่รู้วันเริ่มต้นการทางาน • การกาหนดโดยดูจากวันสิ้นสุดโครงการ (Project Finish Date) เหมาะสาหรับโครงการที่เราทราบวันสิ้นสุดโครงการ • แท็บ File • เลือก New… 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 38
  • 39. การกาหนดรายละเอียดโครงการ • แท็บ File • เลือกคาสั่ง Information… • กาหนดรายละเอียด • Start : กาหนดวันที่เริ่มต้น • Finish : กาหนดวันที่สิ้นสุด • Current date : วันที่ปัจจุบัน • Status date : วันที่ตรวจสอบ • Base Calendar : เลือกรูปแบบปฏิทิน • แบบมาตรฐาน (Standard) • แบบ 24 ชั่วโมง (24 Hour) • แบบทางานกะกลางคืน (Night Shift) • Priority : เป็นการกาหนดความสาคัญของงานภายในโครงการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 39
  • 40. การกาหนดรูปแบบวันที่ • แท็บ File • เลือกคาสั่ง Calendar 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 40
  • 42. การสร้างปฏิทินการทางานใหม่ • แท็บ File • เลือกป้าย Calendar • คลิกปุ่ม New • กาหนดรายละเอียดในการสร้างปฏิทิน • ช่อง Name : ตั้งชื่อปฏิทินใหม่ • เลือก  Create new base calendar : สร้างปฏิทินใหม่โดยใช้ปฏิทินที่เป็นค่าเริ่มต้น • เลือก  Make a copy of : สร้างปฏิทินใหม่โดยใช้การคัดลอกจากปฏิทินรูปแบบ • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 42
  • 43. การเปลี่ยนแปลงวัน และเวลาทางาน • แท็บ File • เลือกป้าย Calendar • กาหนดรายละเอียดที่ส่วนคาสั่ง Change working Calendar • เลือกวันของสัปดาห์ • Use Default : เวลาปกติ • Non-Default working time : กาหนดเวลาทางานใหม่ • กาหนดเวลาการทางานในช่อง From และ To 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 43
  • 44. การกาหนดชั่วโมงการทางาน • แท็บ File • เลือกป้าย Calendar • คลิก Options • ช่อง Hour per day : กาหนดจานวนชั่วโมงการทางานต่อวัน • ช่อง Hour per week : กาหนดจานวนชั่วโมงการทางานต่อสัปดาห์ • ช่อง Days per month : กาหนดจานวนวันทางานต่อเดือน • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 44
  • 45. การกาหนดวันหยุด • แท็บ File • เลือกป้าย Calendar • กาหนดรายละเอียดที่ส่วนคาสั่ง Change working Calendar • เลือกวันของสัปดาห์ • Non-working time : วันหยุด • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 45
  • 46. การนาปฏิทินมาใช้กับโครงการ • แท็บ Project • เลือก Information… • เลือกปฏิทินที่ต้องการนามาใช้งานในช่อง Base Calendar • คลิกปุ่ม Close 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 46
  • 48. การกาหนดปฏิทินให้กับงาน • เลือกงานที่ต้องการกาหนดปฏิทินเฉพาะ • แท็บ Task  เลือก Information • เลือกป้าย Advanced • เลือกปฏิทินที่ต้องการนาไปใช้งานในช่อง Task Calendar: • คลิกปุ่มคาสั่ง OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 48
  • 50. งาน (TASK) • คือ กิจกรรมที่จะต้องถูกกระทา เพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือดาเนินไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ งานจะประกอบไปด้วยรายละเอียดหลายอย่างดังนี้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 50
  • 51. งาน (TASK) มาจาก WBS • WBS-Work Breakdown Structure คืองานย่อยๆ ทั้งหลายที่ต้องทาใน project เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์เหตุที่ต้องแบ่งงานเป็นย่อยๆ เพราะ • ง่ายต่อการบริหารจัดการเพราะผู้รับผิดชอบจะต้องถูกกาหนดให้กับงานชิ้นเล็ก • ลดความเกี่ยวข้องและขึ้นต่อกันระหว่างงานใหญ่ๆลง • ง่ายต่อการวัดผลและติดตามความก้าวหน้าของงาน 51 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
  • 52. เงื่อนไขของ Work Breakdown Structure • มี Level งานใหญ่แล้วย่อยลงมา • Aggregation กฎของการทาข้างล่างแล้วได้ข้างบน • Complete ต้องครบสมบูรณ์ • Not sequence ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 52
  • 53. ลักษณะต่างๆ ของงาน • Task : รายละเอียดของงานในระดับปกติ • Sub Task : รายละเอียดของงานย่อย • Summary Task : รายละเอียดของงานใหญ่ที่ ประกอบไปด้วยงานย่อยๆ • MILESTONE :จุดบ่งบอกความก้าวหน้า 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 53
  • 54. ส่วนประกอบของ TASK • Task Name : เป็นชื่อของงานที่เรากาหนดภายในโครงการหนึ่งๆ • Duration : เป็นระยะเวลาในการดาเนินการของงานแต่ละงาน • Start : คือการกาหนดวันเริ่มต้นของงานนั้นๆ • Finish : คือการกาหนดวันสิ้นสุดของงาน • Predecessors : กิจกรรมที่ต้องทาให้เสร็จตามที่กาหนด • Resource Name : ชื่อทรัพยากร 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 54
  • 55. การจัดการคอลัมน์ข้อมูล การเพิ่มคอลัมน์ข้อมูล • คลิกเลือกช่วงของคอลัมน์ที่ต้องการเพิ่ม • คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column • เลือก Field • คลิกปุ่ม OK การซ่อนคอลัมน์ • คลิกเลือกส่วนหัวของคอลัมน์ที่ต้องการซ่อน • คลิกเมาส์ขวา จากนั้นเลือกคาสั่ง Hide Column 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 55
  • 56. การแก้ไขข้อมูล • เลือกช่องตารางที่ต้องการแก้ไข • จากนั้นพิมพ์ข้อมูลที่แก้ไขใหม่ลงไป แล้วกดปุ่ม <Enter> การลบข้อมูล 1. เลือกช่องตารางที่ต้องการลบ 2. กดปุ่ม Backspace หรือปุ่ม Delete 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 56
  • 57. การจัดการ TASK ในโครงการ การแทรก TASK ในโครงการ • คลิกแถวที่เราต้องการแทรก Task • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Task การลบ TASK ในโครงการ • คลิกเลือกแถวที่เราต้องการลบ Task • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Delete 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 57
  • 58. การจัดการ TASK ในโครงการ การย้าย TASK ในโครงการ • คลิกแถวที่ต้องการย้ายตาแหน่ง • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Cut • คลิกแถวที่ต้องการนา Task ไปแทรก • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Paste การคัดลอก TASK ในโครงการ • คลิกแถวที่ต้องการคัดลอก Task • แท็บ Task  เลือก Copy • คลิกแถวที่ต้องการนา Task ไปแทรก • แท็บ Task  เลือก Paste 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 58
  • 59. การกาหนดงานในโครงการ (Sub Task/ Summary Task ) • เลือกงานที่ต้องการกาหนดให้เป็นงานย่อย Sub Task 1. แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Indent Task 2. งานย่อยจะแสดงเป็นลักษณะหัวข้อย่อย • การกาหนดงานย่อยให้เป็นงานหลัก Summary Task 1. เลือกงานที่ต้องการกาหนดให้เป็นงานหลัก 2. แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Outdent Task หมายเหตุ มี Bug ให้ดูที่ลาดับตัวเลข แล้วสลับเอาเอง 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 59
  • 60. การป้อนข้อมูล พิมพ์ข้อมูลที่ต้องการลงไปในช่อง ตาราง แล้วกดปุ่ม <Enter> อักษรย่อของ DURATION M นาที H ชั่วโมง D วัน W สัปดาห์ MO เดือน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 60
  • 61. จุดบ่งบอกความก้าวหน้า (MILESTONE) • คือ จุดบ่งบอกความก้าวหน้าของงานว่า งานนั้นๆ เสร็จตามวันที่ ที่มีการกาหนดไว้หรือไม่ ซึ่งโดย ส่วนใหญ่จะกาหนดไว้ในส่วนต้น หรือส่วนท้ายของโครงการ • Project Milestone เป็นข้อมูลที่ใช้บอกว่า “เราทางานเป็นอย่างไรบ้าง” ซึ่งบ่งบอกได้ว่า project ของเรายังเป็นไปตามแผนการที่ได้วางไว้หรือไม่ ดังนั้นการมี Milestone ไว้ตลอด ระยะเวลาที่ทา Project นั้นมีความสาคัญหลายด้าน ตัวอย่างเช่น ในแง่ของการบริหารจัดการก็ จะช่วยให้เรารู้ว่าตอนนี้งานเราคืบหน้าไปมากน้อยอย่างไร และในแง่จิตวิทยาก็จะช่วยให้ทีมงานทุก คนมีความกระตือรือร้นมากขึ้นในการทางานให้เสร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 61
  • 62. การกาหนดจุดบ่งบอกความก้าวหน้าของงาน • วิธีที่ 1 การกาหนด Milestone จาก Duration • เลือกงานที่กาหนดให้เป็น Milestone • กาหนดระยะเวลา (Duration) เป็น 0 • วิธีที่ 2 การกาหนด Milestone จาก Task Information • เลือกงานที่ต้องการกาหนดให้เป็น Milestone • แท็บ Task  เลือก Information • เลือกป้าย Advanced • เลือก  Display task as milestone • คลิกปุ่ม Close 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 62
  • 63. การแบ่งงาน • เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปยัง Task ที่ต้องการแบ่งงาน • คลิกเมาส์ขวา  เลือกคาสั่ง Split Task • เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปยังวันที่ ที่ต้องการแบ่ง จากนั้นจึงคลิกเมาส์ • หมายเหตุ กรณีที่ต้องการยกเลิกการ แบ่งงาน ให้ทาการลากงานที่อยู่ ด้านหลังมาเชื่อมต่อกับงานที่อยู่ ด้านหน้า แล้วปล่อยเมาส์ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 63
  • 64. การกาหนดขอบเขตของงาน (TASK CONSTRAIN) • เลือกงานที่ต้องการกาหนดข้อจากัด • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Information • เลือกป้าย Advanced • กาหนดรายละเอียดในหน้าต่างของ Task Information • ช่อง Constrain type : เลือกชนิดของข้อจากัด • ช่อง Constrain date : เลือกวันที่กาหนดข้อจากัด • คลิกปุ่ม Close 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 64
  • 65. การกาหนดขอบเขตของงาน (TASK CONSTRAIN) ประเภท รายละเอียด As Soon As Possible (ASAP) กาหนดให้งานเริ่มต้นเร็วที่สุด As Late As Possible (ALAP) กาหนดให้งานเริ่มต้นช้าสุด Finish No Earlier Than (FNET) กาหนดให้งานต้องไม่เสร็จก่อนวันที่ระบุ Start No Earlier Than (SNET) กาหนดให้งานต้องไม่เริ่มก่อนวันที่ระบุ Finish No Later Than (FNLT) กาหนดเส้นตายให้งานเสร็จในเวลาที่กาหนด Start No Later Than (SNLT) กาหนดให้งานต้องเริ่มภายในวันที่ระบุ Must Finish On (MFO) กาหนดให้งานต้องเสร็จในวันที่ระบุ Must Start On (MSO) กาหนดให้งานต้องเริ่มในวันที่ระบุ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 65
  • 66. การแสดงจานวนวันสรุปโครงการ • แทรก Task พิมพ์ชื่อโครงการ • เลือก Task ทั้งหมด • เลือกคาสั่ง Indent Task • Taskจะแสดงเป็น Sub Task • ชื่อโครงการ จะเป็น Summary Task • จะแสดงจานวนวันรวมโครงการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 66
  • 68. การเชื่อมต่องาน • ความสัมพันธ์ของงาน การกาหนดให้งานชิ้นใด มีอิทธิพลต่องานชิ้นใด หรือเรียกว่า Task dependency ในโปรแกรม ProjectLibre การทางานในลาดับแรก จะถูกเรียกว่า ลาดับก่อนหน้า (Predecessor) ซึ่งเป็นตัวกาหนดงาน ในลาดับที่สอง หรือที่เรียกว่า ลาดับถัดมา (Successor) 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 68
  • 69. แนวคิด PERT/CPM Program Evaluation and Review Technique /Critical path method • เป็นเทคนิคในการวิเคราะห์หรือประเมินเวลาที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรมของโครงการ • แสดงเป็นแผนภาพกิจกรรมของโครงการที่เชื่อมโยงกันในลักษณะของเครือข่าย (ข่ายงาน) • โดย PERT จะแทนแต่ละกิจกรรมด้วยเส้นลูกศร (Activity on Arch: AOA) และเชื่อมโยงกันด้วยวงกลม • ส่วน CPM จะแสดงกิจกรรมด้วยสัญลักษณ์รูปวงกลม เรียกว่า “โหนด” หรือรูปสี่เหลี่ยมเชื่อมโยงกันด้วยเส้นลูกศร (Activity on Node: AON) • จุดเด่นของ PERT/CRM คือ การคานวณหาเส้นทางวิกฤติในการดาเนินกิจกรรม ทาให้ผู้บริหารโครงการ คานวณหาเวลาได้หลายลักษณะ เช่น เวลาที่เร็วที่สุดของแต่ละกิจกรรม (Time Earliest : TE) เวลาที่ช้าที่สุด ของแต่ละกิจกรรม (Time Latest : TL) เป็นต้น 69 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong
  • 70. PERT/CPM 1 2 3 4 5 6 8 7 TE = 5 TE = 11 TE = 11 TE = 13 TE = 18.5 TE = 18 TE = 19.5 TL = 22 TE = 21 5 56 6 2 5.5 1 3 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 70
  • 71. วิธีการเชื่อมต่องาน วิธีที่ 1 การเชื่อมต่องานใน Task sheet • คลิกเลือกเซลล์ในคอลัมน์ Predecessor ของแถวงาน Successor • ใส่หมายเลขของแถวที่ต้องการกาหนดให้เป็น Predecessor ของงานนี้ • กดปุ่ม <Enter> ที่แป้นพิมพ์ วิธีที่ 2 การเชื่อมต่องานโดยใช้เมาส์ • เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปวางบน Task bar ของงานที่เกิดในลาดับก่อนหน้า • คลิกเมาส์ค้างไว้ แล้วลาก Task bar ดังกล่าว ไปทับยัง Task bar ของงานที่เกิดในลาดับถัดมา • จากนั้นปล่อยเมาส์ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 71
  • 72. วิธีการเชื่อมต่องาน วิธีที่ 3 การเชื่อมต่องานโดยใช้ Toolbar • คลิกเลือกหมายเลขแถวของงานที่เกิดในลาดับก่อนหน้า • กดปุ่ม Ctrl แล้วคลิกเลือกหมายเลขแถวของงานในลาดับถัดมา • คลิกเครื่องมือ Link บน Toolbar วิธีที่ 4 การเชื่อมต่องานโดยใช้ Task Information • คลิกเลือกหมายเลขแถวของงานที่อยู่ในลาดับถัดมา • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Information… • เลือกป้าย Predecessor • คอลัมน์ Predecessor : เลือกชื่อของงานที่เกิดก่อน • คอลัมน์ Type : เลือกชนิดของความสัมพันธ์ • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 72
  • 73. วิธีการยกเลิกการเชื่อมต่องาน วิธีที่ 1 ยกเลิกการเชื่อมต่อโดยใช้ Task sheet • คลิกเลือกเซลล์ในคอลัมน์ Predecessor ต้องการยกเลิกการเชื่อมต่อ • ลบโดยการกดปุ่ม Delete หรือกดปุ่ม Backspace ที่แป้นพิมพ์ วิธีที่ 2 ยกเลิกการเชื่อมต่อโดยใช้ Toolbar • คลิกเลือกงานที่ต้องการยกเลิกการเชื่อมต่อ • คลิกเครื่องมือ Unlink Task บน Toolbar 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 73
  • 74. ประเภทของความสัมพันธ์ • Finish-to-Start (FS) การเชื่อมต่องานแบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่ เมื่องานแรกสิ้นสุดลง งานถัดมาจึงจะสามารถเริ่มทาได้ • Finish-to-Finish (FF) การเชื่อมต่องานแบบนี้โดยทั่วไปจะ หมายถึงงาน ที่แตกต่างกัน 2 งาน แต่จะเสร็จในเวลาเดียวกัน • Start-to-Start (SS) การเชื่อมต่องานแบบนี้จะเป็นการเชื่อมต่อ งาน 2 งาน ที่มีวันเริ่มต้นเดียวกัน หรืองานถัดไปไม่สามารถเริ่มได้ หากงาน ก่อนหน้ายังไม่เริ่มต้น • Start-to-Finish (SF) การเชื่อมต่อแบบนี้จะมีความซับซ้อน มากกว่าในแบบอื่น เป็นวิธีที่มีการใช้น้อยที่สุด โดยงาน Predecessor จะไม่สามารถเสร็จได้จนกว่างาน Successor เริ่มต้น หรือ งานถัดไป ห้ามเสร็จก่อน จนกว่างานก่อนหน้าจะเริ่มต้น หรืองานก่อนหน้าจะเริ่มต้น เมื่อไร งานถัดไปต้องเลิกทาทันที 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 74
  • 75. วิธีแก้ไขการเชื่อมต่องาน • โดยใช้ Task dependency • ดับเบิ้ลคลิกที่เส้นความสัมพันธ์ • เลือกชนิดความสัมพันธ์ในช่อง Type หรือคลิกปุ่ม Remove • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 75
  • 76. LEAD และ LAG TIME • การใช้งาน Lead และ Lag Time เป็นการกาหนดระยะเวลาของ Predecessor โดยจะ เริ่มต้นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับประเภทความสัมพันธ์ที่กาหนดไว้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 76
  • 77. Lead Time Lead Time • เป็นการเหลื่อมกันระหว่างงาน Successor กับ Predecessor ใช้สาหรับในงานที่มีการเชื่อมต่อแบบ Finish-to-Start กล่าวคือ งาน Successor สามารถเริ่มก่อนที่งาน Predecessor จะเสร็จได้ Lag Time • เป็นการกาหนดความล่าช้า (Delay) ของงาน กล่าวคือ งานที่เป็น Successor นั้นจะเริ่มต้นได้ก็ต่อเมื่อ งานที่เป็น Predecessor ได้สิ้นสุดลง และมีการ Delay ระยะเวลาออกไปตามที่ กาหนดไว้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 77
  • 78. การกาหนด LEAD และ LAG TIME • ดับเบิ้ลคลิกที่เส้นเชื่อมต่อความสัมพันธ์ จะ ปรากฏหน้าต่าง Task dependency • กาหนดรายละเอียดในช่อง Lag ดังนี้ • ถ้าต้องการกาหนด Lead Time ให้กาหนดค่า ในช่อง Lag เป็นค่าลบ( - ) • ถ้าต้องการกาหนด Lag Time ให้กาหนดค่า ในช่อง Lag เป็นค่าบวก ( + ) • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 78
  • 80. ทรัพยากร (RESOURCE) • หมายถึง บุคลากร อุปกรณ์ และวัตถุดิบที่จาเป็นต่อการทางานในโครงการ เช่น คนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ในระหว่างการดาเนินโครงการ อาจเป็น คนทาบัญชี, คนติดต่อประสานงาน หรืออาจเป็นสิ่งของ อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินโครงการ ค่าใช้จ่าย สถานที่ต่างๆ • กาหนดทรัพยากร โดยเปลี่ยนมุมมอง • View  Resource • Resource  Resource 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 80
  • 81. ฟิลด์ต่างๆ ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลทรัพยากร Resource Name ชื่อทรัพยากร Type ชนิดของทรัพยากร • แบบ Work ในกรณีที่ทรัพยากรเป็นแบบบุคคล • แบบ Material ในกรณีที่ทรัพยากรเป็นแบบสิ่งของ Material Label ชื่อหน่วยนับของทรัพยากรที่เป็นแบบสิ่งของ เช่น ปากกา = ด้าม, คอมพิวเตอร์ = เครื่อง , ใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ Initials ชื่อย่อ หรือชื่อกลางของทรัพยากร Group ชื่อกลุ่มของทรัพยากร เช่น คน = ฝ่ายบัญชี, ปากกา = สิ่งของ , ใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ Max Units ใส่จานวนหน่วยสูงสุดของทรัพยากร ใช้สาหรับคน คือ แรง วัดประสิทธิภาพการทางานของคน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 81 Std.Rate กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายปกติของทรัพยากร Ovt.Rate กาหนดอัตราค่าใช้จ่าย เมื่อทรัพยากรทางานล่วงเวลา Cost/Use กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายเป็นรายครั้ง อาจเป็นแบบเหมาจ่าย Accrue At ระบุวิธีการคิดค่าใช้จ่ายของทรัพยากร • Start การคิดค่าใช้จ่ายเมื่องานเริ่มต้นดาเนินการ • Prorated การคิดค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง • End การคิดค่าใช้จ่ายเมื่องานมีความสาเร็จ Base Calendar การระบุปฏิทินการทางาน
  • 82. การมอบหมายงานให้ทรัพยากร วิธีที่ 1 การมอบหมาย งานโดยใช้ Task sheet วิธีที่ 2 การมอบหมาย งานโดยใช้ Task Information วิธีที่ 3 การมอบหมาย งานโดยใช้ Assign Resource 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 82
  • 83. วิธีที่ 1 การมอบหมายงานโดยใช้ Task sheet • เลือกงานที่ต้องการกาหนดทรัพยากร • เลือกชื่อทรัพยากรในคอลัมน์ Resource name • กดปุ่ม <Enter> ที่แป้นพิมพ์ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 83
  • 84. วิธีที่ 2 การมอบหมายงานโดยใช้Task Information • เลือกงานที่ต้องการกาหนดทรัพยากรให้กับงานๆ นั้น • แท็บ Task  เลือก Information • เลือกป้าย Resources • เลือกชื่อทรัพยากรที่คอลัมน์ Resource name • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 84
  • 85. วิธีที่ 3 การมอบหมายงานโดยใช้ Assign Resource • เลือกงานที่ต้องการกาหนดทรัพยากรให้กับงานๆ นั้น • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Assign Resource • เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงานๆ นั้น • คลิกปุ่ม Assign 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 85
  • 86. มุมมอง Task Usage • เป็นมุมมองที่แสดงชั่วโมงการทางาน โดยจะแสดงรายชื่อ หรือทรัพยากร ทางด้านซ้าย ทาง ด้านขวาจะเป็นวัน เวลา และชั่วโมงการทางาน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 86
  • 87. ยกเลิกการมอบหมายงานให้ทรัพยากร วิธีที่ 1 ยกเลิกการมอบหมายงานโดยใช้ Task sheet • เลือกงานที่ต้องการยกเลิกการ มอบหมายงานทรัพยากร • ลบชื่อทรัพยากรในคอลัมน์ Resource sheet โดยการกด ปุ่ม Delete ที่แป้นพิมพ์ • กดปุ่ม <Enter> ที่แป้นพิมพ์ วิธีที่ 2 ยกเลิกการมอบหมายงานโดยใช้ Task Information • แท็บ Task  เลือก Information… • เลือกป้าย Resources • เลือกชื่อทรัพยากรที่ต้องการลบที่คอลัมน์ Resource name • กดปุ่ม Delete หรือกดปุ่ม Backspace ที่ แป้นพิมพ์ • คลิกปุ่ม OK วิธีที่ 3 ยกเลิกการมอบหมายงานโดยใช้ Assign Resource • เลือกงานที่ต้องการยกเลิกการ มอบหมายงานทรัพยากร • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Assign Resource • เลือกทรัพยากรที่ต้องการยกเลิกการ มอบหมายงาน • คลิกปุ่ม Remove 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 87
  • 88. แนวคิดในการมอบหมายงานให้ทรัพยากร • หลังที่ได้กาหนดรายการทรัพยากรลงไปใน ProjectLibre ทันที ที่เรียกใช้ทรัพยากรในงานใดๆ จะทาให้เกิดสมการที่สาคัญคือ Work = Duration * Unit • Work หมายถึง จานวนชั่วโมงทางานทั้งหมดที่ทรัพยากรจะต้องทา • Duration หมายถึง ระยะเวลาในการทางาน • Unit หมายถึง จานวนหน่วยของทรัพยากรใดๆ • สมการดังกล่าว จะถูกรักษาสมดุลให้ถูกต้องอยู่เสมอ ในโอกาสต่อๆ ไปหากมีการเปลี่ยนแปลง ค่าของตัวแปรใดในสมการก็จะมีผลทาให้ตัวแปรอื่นๆ ได้รับผลกระทบไปด้วย 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 88
  • 89. การคานวณงานให้ทรัพยากร • เช่น ถ้ากาหนดให้ทรัพยากรชื่อ นาย ก. จานวน 1 หน่วย ทางาน 1 ชิ้น ซึ่งมีระยะเวลา 1d หรืออีกนัย หนึ่งคือ 8h จะได้สมการ Work = Duration * Unit ดังนี้คือ • 8h = 8h * 1 Unit • หากเรียกใช้ทรัพยากร นาย ก. เพิ่มขึ้นเป็น 2 หน่วย ProjectLibre จะรักษาสมดุลของสมการ ดังกล่าวให้ Work ยังคงเป็น 8h ดังนั้น เมื่อ Unit เพิ่มเป็น 2, Duration จึงต้องลดลง เหลือ 4h ด้วยเหตุดังกล่าวสมการใหม่นี้จึงเป็น • 8h = 4h * 2 Unit หรือ 4h * 2 Unit = 8h 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 89
  • 90. ประเภทของงาน • การคิดคานวณงาน (Work) ด้วยสมการที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะมีความแตกต่างกันเล็กน้อยใน เรื่องการปรับแก้ตัวแปรตัวอื่นที่เหลือ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของงานที่ได้เลือกใช้ ซึ่งมีอยู่ 3 ประเภท • งานประเภท Fixed Unit เป็นค่าเริ่มต้นของ ProjectLibre งานประเภทนี้จะทาการตรึงค่าของ Unit ไว้ให้ก่อน ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าเมื่อปรับแก้ตัวแปรตัวอื่น ตัวแปรที่จะไม่ได้รับการปรับแก้ก็คือ Unit • งานประเภท Fixed Duration งานประเภทนี้จะตรึงค่าของระยะเวลาของงาน (Duration) ไว้ ไม่ให้เปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีการปรับแก้ตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งในสมการ • งานประเภท Fixed Work งานประเภทนี้เป็นงานที่ตัวแปร Work จะถูกตรึงค่าให้คงที่ไว้ ในขณะที่ ตัวแปรอื่นถูกปรับแก้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 90
  • 91. การเลือกประเภทของงาน • เลือกงานที่ต้องการกาหนดประเภทของงาน • แท็บ Task  เลือก Information… • เลือกป้าย Advanced • เลือกช่อง Task type เป็นประเภทของงานที่ต้องการ (โดยส่วนใหญ่จะแก้ไขเป็นแบบ Fixed Duration) • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 91
  • 92. แนวคิดเรื่อง EFFORT DRIVEN • Effort Driven หมายถึง คุณสมบัติที่จะทาให้จานวนชั่วโมงของงานทั้งหมด (Work) คงที่อยู่เท่าเดิม เมื่อมีการเพิ่มหรือลดทรัพยากรอื่นๆ เข้าไปในงาน หากมีการเรียกใช้ทรัพยากร ชื่อแตกต่างกัน ทรัพยากรเหล่านั้นเป็น Co-worker คือผู้ที่ทางานไปพร้อมๆ กันโดยไม่ แบ่งปันภาระงานกัน • เมื่อเรียกใช้ทรัพยากรที่แตกต่างกันเพิ่มขึ้นจานวนชั่วโมงการทางานทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นด้วย เพราะทรัพยากรใหม่ที่เพิ่มเข้าไปไม่ได้เข้าไปร่วมรับภาระงานที่มีอยู่เดิม โดยปกติงานแต่ละงาน ที่มีการวางแผนไว้ จะถูกกาหนดคุณสมบัติของ Effort Driven เป็นแบบ on 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 92
  • 93. แนวคิดเรื่อง EFFORT DRIVEN ระยะเวลามีผลผกผันตามจานวนทรัพยากร • จานวนทรัพยากร (Unit) มีผลต่อระยะเวลาของาน (Duration) • การเรียกใช้งานในครั้งแรกจะถูกคานวณด้วย • Work = Duration x Unit • เมื่อมีการเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลงค่าจะถูกคานวณค่าใหม่อีกครั้ง • รักษาให้ค่าสมการเป็นจริง ยกเว้นการ Fix Duration เมื่อไหร่ที่ควรจะใช้ EFFORT DRIVEN • ไม่มีกฎแน่นอนตายตัว • วิเคราะห์ตามธรรมชาติของผลงานที่ต้อง อาศัยการทาอย่างแต่ละอย่าง • ใช้ความสามารถในการตัดสินใจที่ดีที่สุด 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 93
  • 95. การแสดงตารางค่าใช้จ่ายของงาน • คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart • คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 95
  • 96. คอลัมน์ตารางค่าใช้จ่ายของงาน Fixed Cost ค่าใช้จ่ายคงที่ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องเป็นคนกาหนดเอง Fixed Cost Accrual รูปแบบการชาระเงิน Total Cost ค่าใช้จ่ายโดยรวมของงานแต่ละงาน Baseline ค่าใช้จ่ายเริ่มต้นของโครงการเมื่อมีการตั้งค่า Baseline Variance ค่าใช้จ่ายที่แสดงค่าความแตกต่างของค่าใช้จ่ายระหว่างคอลัมน์ Total Cost – คอลัมน์ Baseline Actual ค่าใช้จ่ายจริง ซึ่งคิดจากเปอร์เซ็นต์ความก้าวหน้าของงาน Remaining ค่าใช้จ่ายคงเหลือ ซึ่งเกิดจากค่าใช้จ่ายในคอลัมน์ Total Cost – คอลัมน์ Actual 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 96
  • 97. การแสดงตารางค่าใช้จ่ายของทรัพยากร • คลิกเลือกมุมมอง Resource Sheet • คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 97
  • 98. คอลัมน์ตารางค่าใช้จ่ายของทรัพยากร Cost ค่าใช้จ่ายโดยรวมของทรัพยากร Baseline Cost ค่าใช้จ่ายเริ่มต้นของโครงการเมื่อมีการตั้งค่า Baseline Variance ค่าใช้จ่ายที่แสดงค่าความแตกต่างของค่าใช้จ่ายระหว่างคอลัมน์ Total Cost – คอลัมน์ Baseline Actual Cost ค่าใช้จ่ายจริง ซึ่งคิดจากเปอร์เซ็นต์ความก้าวหน้าของงาน Remaining ค่าใช้จ่ายคงเหลือ ซึ่งเกิดจากค่าใช้จ่ายในคอลัมน์ Cost – คอลัมน์ Actual Cost 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 98
  • 99. การระบุตารางค่าใช้จ่ายให้กับงาน • คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart • คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column  Fixed Cost • ใส่ค่าใช้จ่ายในช่อง Fixed Cost 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 99
  • 100. การดูจานวนหน่วยในการทางาน • คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart • คลิกเมาส์ขวาเลือก Insert Column • แทรกคอลัมน์ • Work • Assignment Unit 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 100
  • 101. การกาหนดจานวนหน่วยในการทางาน • คลิกเลือก Task • แท็บ Task  เลือก Information •ป้าย Resource • ปุ่ม Assign Resource • ปรับ Unit ในการทางาน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 101
  • 103. การแสดงรายงานค่าใช้จ่าย • แท็บ View  เลือก Reports… 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 103
  • 104. การระบุตารางค่าใช้จ่ายทรัพยากร • คลิกเลือกมุมมอง Resource Sheet • เลือกชื่อทรัพยากรที่ต้องการเปลี่ยนแปลงตารางค่าใช้จ่าย • แท็บ Resource  เลือก Information • เลือกป้าย Cost • กาหนดการเปลี่ยนแปลงตารางค่าใช้จ่ายที่ตาราง A – E • คอลัมน์ Effective Date: • กาหนดวันที่ ที่ต้องการบังคับให้ใช้ตารางค่าใช้จ่ายใหม่ • คอลัมน์ Standard rate: • กาหนดอัตราค่าจ้างในเวลาปกติต่อชั่วโมง • คอลัมน์ Overtime rate: • กาหนดอัตราค่าจ้างในเวลาล่วงงานต่อชั่วโมง • คอลัมน์ Per Use Cost: • กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายเมื่อเรียกใช้งานต่อครั้ง • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 104
  • 108. การปรับระดับทรัพยากรเกินขีดจากัด วิธีที่ 1 การปรับ โดยขยาย ช่วงเวลาทางาน วิธีที่ 2 การปรับ โดยการเปลี่ยน ทรัพยากร วิธีที่ 3 การปรับ โดยการลดเวลา การทางานของ ทรัพยากร วิธีที่ 4 การใช้ งาน Work contour 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 108
  • 109. วิธีที่ 1 การปรับโดยขยายช่วงเวลาทางาน • เลือกทรัพยากรที่มีการใช้งานมากเกินขีดจากัด • เลือกงานที่ต้องการขยายช่วงเวลาการทางาน • ระบุจานวนวันที่ต้องการขยายช่วงเวลาในคอลัมน์ Leveling Delay 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 109
  • 110. วิธีที่ 2 การปรับโดยการเปลี่ยนทรัพยากร • เลือกทรัพยากรที่ใช้งานเกินขีดจากัด • เลือกงานที่ต้องการให้ดูแลแทน • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Assign Resource • เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงานคนเดิม • คลิกปุ่ม Replace • เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงานคนใหม่ • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 110
  • 111. วิธีที่ 3 การปรับโดยการลดเวลาการทางานของทรัพยากร • คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart • เลือกงานที่ต้องการลดเวลาการทางาน • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Assign Resource • เลือกทรัพยากรที่รับผิดชอบงาน • กาหนดจานวนหน่วยการทางานในคอลัมน์ Unit 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 111
  • 112. วิธีที่ 4 การใช้งาน Work contour • เป็นการรูปแบบชั่วโมงการทางานของทรัพยากรนั้นๆ แบ่งลักษณะเป็นชนิดต่างๆ ดังนี้ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 112 Flat เป็นรูปแบบที่มีจานวนชั่วโมงในการทางานเท่ากันตลอด Front-loaded เป็นรูปแบบที่มีการเพิ่มจานวนชั่วโมงต่อวัน Back-loaded เป็นรูปแบบที่มีการลดจานวนชั่วโมงต่อวัน Early Peak เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงที่ถัดจากวันแรกของการทางาน Late Peak เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงใกล้จุดสิ้นสุดของงาน Double-Peak เป็นรูปแบบที่มีงานหนักและเบาตลอดการทางาน Bell เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงกลางของการทางาน เปลี่ยนแปลงขนาดงานมาก Plateau เป็นรูปแบบที่มีงานมากในช่วงกลาง เปลี่ยนแปลงขนาดงานเพียงเล็กน้อย
  • 113. การใช้งาน CONTOUR • คลิกมุมมอง Resource Usage • เลือกงานที่ต้องการปรับรูปแบบชั่วโมงการทางาน • กาหนดรูปแบบที่ต้องการในช่อง Work contour • หรือสามารถกาหนดเองได้ในแต่ล่ะวัน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 113
  • 114. บทที่ 9 งานวิกฤต งานวิกฤต 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 114
  • 115. งานวิกฤต • งานวิกฤต (Critical Task) หมายถึง งานที่เกิดความล่าช้าแล้วส่งผลทาให้งานอื่นๆ รวมทั้งโครงการเกิดความล่าช้าไปด้วย • เส้นทางวิกฤต (Critical Path) หมายถึง เส้นทางของงานวิกฤตหลายๆ งานตั้งแต่เริ่มโครงการจนสิ้นสุดโครงการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 115
  • 116. การกาหนดค่า Critical Task • คลิกเมาส์ขวาคาสั่ง Bar Styles • คลิกเลือกเครื่องหมายถูกที่คาสั่ง Critical Tasks 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 116
  • 117. การจัดการกับงานวิกฤต วิธีที่ 1 การเพิ่มทรัพยากรใหม่ในการทางาน วิธีที่ 2 การปรับเวลาทางานในงานวิกฤต 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 117
  • 119. การบันทึกค่า BASELINE • Baseline คือข้อมูลทั้งหมดของโครงการ แต่เป็นข้อมูลที่ ProjectLibre ถือเป็นค่าเริ่มต้นหรือค่าที่ได้จาก การวางแผนงาน ข้อมูลที่เป็น Baseline นี้อาจจะเหมือนหรือต่างกันกับข้อมูลที่จะเกิดขึ้นเมื่อโครงการเริ่มต้น จริงๆ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 119
  • 120. การบันทึกค่า BASELINE • คลิกเลือกมุมมอง Gantt • แท็บ File  เลือกคาสั่ง Save Baseline… • กาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Save baseline ดังนี้ • คลิกเลือก baseline เพื่อทาการบันทึกค่าเริ่มต้น • ช่อง For: เลือกรูปแบบการบันทึกดังนี้ • เลือก  Entire project : เป็นการบันทึกค่าเริ่มต้นทั้งโครงการ • เลือก  Selected tasks : เป็นการบันทึกค่าเริ่มต้นเฉพาะงานที่เลือก • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 120
  • 121. ยกเลิกการบันทึกค่า BASELINE • คลิกเลือกมุมมอง Gantt • แท็บ File  เลือก Clear baseline… • เลือก Baseline ที่ยกเลิก • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 121
  • 122. การแสดงรายละเอียดของค่า BASELINE 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 122 • คลิกเลือกมุมมอง Gantt chart • คลิกเมาส์ขวาเลือกคาสั่ง Insert Column Baseline Dur. แสดงค่าเริ่มต้นของระยะเวลางาน Baseline Start แสดงค่าเริ่มต้นของวันเริ่มต้นงาน Baseline Finish แสดงค่าเริ่มต้นของวันสิ้นสุดงาน Baseline Work แสดงค่าเริ่มต้นของจานวนชั่วโมงการทางาน Baseline Cost แสดงค่าเริ่มต้นของค่าใช้จ่ายของงาน
  • 123. การระบุความคืบหน้าทั้งโครงการ • แท็บ File  เลือกคาสั่ง Update • กาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Update Project ดังนี้ • เลือก  Update work as complete through เพื่อสั่งให้ทาการอัพเดต ทั้งโครงการ • ช่องวันที่ ระบุวันที่ที่ต้องการให้อัพเดตไปถึง • เลือกรูปแบบการกาหนดเปอร์เซ็นต์ความคืบหน้า ดังนี้ • เลือก  Set 0% - 100% complete: เมื่อต้องการให้แสดงเปอร์เซ็นต์ ความคืบหน้าของงานตามจริง • เลือก  Set 0% or 100% complete: เมื่อต้องการให้แสดงเปอร์เซ็นต์ ความคืบหน้าของงานเป็น 0% หรือ 100% เท่านั้น • ช่อง For : เลือกรูปแบบการอัพเดต ดังนี้ • เลือก Entire Project : เมื่อต้องการให้มีการอัพเดตงานทั้งโครงการ • เลือก Selected Task : เมื่อต้องการให้อัพเดตเฉพาะงานที่ได้เลือกไว้เท่านั้น • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 123
  • 124. การกาหนดความคืบหน้าของงานโดยใช้เมาส์ • วางตัวชี้เมาส์ไว้ด้านซ้ายของ Task bar ที่ต้องการกาหนดความคืบหน้า (ตัวชี้เมาส์จะแสดงโดย มีเครื่องหมาย % กากับด้วย) • คลิกเมาส์ค้างแล้วลาก ตามจานวนวันที่ และเวลาที่ต้องการ จากนั้นปล่อยเมาส์ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 124 %
  • 125. การกาหนดความคืบหน้าของงานโดยการใช้ TASK INFORMATION • เลือกงานที่ต้องการกาหนดความคืบหน้า • แท็บ Task  เลือกคาสั่ง Information… • เลือกป้าย General • ช่อง % Complete : ระบุจานวนเปอร์เซ็นต์ที่ต้องการ • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 125
  • 126. การปรับเลื่อนงาน • แท็บ Project  เลือกคาสั่ง Update • กาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Update Project ดังนี้ • เลือก  Reschedule Uncomplete work to start เพื่อสั่งให้ทาการปรับเลื่อนงาน • ช่องวันที่ ระบุวันที่ที่ต้องการให้ปรับเลื่อนงานไปถึง • ช่อง For: เลือกรูปแบบการอัพเดต ดังนี้ • เลือก Entire Project: เมื่อต้องการให้มีการอัพเดตงานทั้งโครงการ • เลือก Selected Task: เมื่อต้องการให้อัพเดตเฉพาะงานที่ได้เลือกไว้ เท่านั้น • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 126
  • 127. การกาหนด STATUS DATE • แท็บ File  เลือกคาสั่ง Information • กาหนดวันที่ ที่ต้องการในช่อง Status Date • คลิกปุ่ม OK 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 127
  • 128. บทที่ 1 1 การกรองข้อมูล และการออกแบบรายงาน การกรองข้อมูล และการออกแบบรายงาน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 128
  • 129. การกรองข้อมูล (FILTER) • ฟิลเตอร์จะทาหน้าที่คัดกรองข้อมูลที่สนใจ โดยแสดงเฉพาะข้อมูลที่ต้องการหรือสนใจ และซ่อน ข้อมูลอื่นๆ ที่ไม่สนใจไว้ให้ ปกติ ProjectLibre จะแสดงข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวกับงานในตาราง ที่เราเลือก ฟิลเตอร์ที่เป็นค่าปกตินี้จึงเป็นแบบ All Tasks หรือ All resource • ใช้เครื่องมือ Filter บนแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 129
  • 130. การกรองข้อมูลโดยใช้ FILTER •แท็บ View •คลิกลูกศรชี้ลงที่เครื่องมือ Filter •คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 130
  • 131. การเรียงลาดับข้อมูล • แท็บ View • เลือก Sort • เลือกประเภทการเรียงลาดับข้อมูล • เลือกคอลัมน์ที่ต้องการเรียงลาดับ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 131
  • 132. การจัดกลุ่มข้อมูล • แท็บ View • เลือก Group • เลือกประเภทการจัดกลุ่มข้อมูล 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 132
  • 133. การพิมพ์รายงาน • แท็บ View • เลือก Reports • เลือกรูปแบบรายงาน 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 133
  • 134. รายงานแบบ Project Detail • เป็นรายงานที่เกี่ยวกับสภาพทั่วๆ ไปของโครงการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 134
  • 135. รายงานแบบ Resource Information 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 135 • เป็นรายงานที่แสดงการใช้ทรัพยากร
  • 136. รายงานแบบ Task Information • เป็นรายงานที่เกี่ยวงานกับค่าใช้จ่าย 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 136
  • 137. รายงานแบบ Who Does What • เป็นรายงานที่เกี่ยวกับการมอบหมายงานต่างๆ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 137
  • 138. การสั่งพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์ • แท็บ File  เลือก Print… • เลือกชื่อเครื่องพิมพ์ในรายการ Name • คาสั่ง Setting : เลือกรูปแบบของการพิมพ์ • ระบุวันที่ ที่ต้องการสั่งพิมพ์ จากวันไหน ถึงวันไหน • ระบุจานวนหน้าของเอกสารที่จะปริ้น • กาหนดรูปแบบของกระดาษที่ต้องการ 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 138
  • 140. สรุปขั้นตอนการวางแผนโครงการ • กาหนดปฏิทิน (Change working Calendar) • กาหนดรายละเอียดโครงการ (Project Information) • จัดการงาน (TASK) • เชื่อมต่องาน (Link) • จัดการกับทรัพยากร (Resource) • จัดการเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย (Cost) • กรองข้อมูล และออกรายงาน (Filter & Reports) 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 140
  • 141. สรุปขั้นตอนการดาเนินโครงการ •จัดการความคืบหน้าของงาน (Baseline & Update) •ปรับแต่งงาน เวลาและทรัพยากร จัดการกับงานวิกฤต (Usage) • จัดการงาน (TASK) • เชื่อมต่องาน (Link) • จัดการกับทรัพยากร (Resource) • จัดการเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย (Cost) •กรองข้อมูล และออกรายงาน (Filter & Reports) 21 สิงหาคม2560Smittichai Chaiyawong 141