SlideShare a Scribd company logo
RT392
WEEK 02.
DHURAKIJ PUNDIT UNIVERSITY
COMMUNICATIONS ARTS
MORRAGET
การสื่อสารออนไลน์
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสื่อออนไลน์
- ลักษณะ และองค์ประกอบของสื่อออนไลน์
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “สื่อสังคม” (Social Media)
- พฤติกรรมและธรรมชาติของผู้อ่านและ
ผู้ใช้สื่อออนไลน์
- ประเภทของสื่อออนไลน์ และ Digital Platform
ที่ได้รับความนิยมในประเทศไทย
- ประเภทและการใช้งานสื่อสังคมเพื่องานสื่อสารมวลชน
สิ่งที่จะเกิดขึ้นในสัปดาห์นี้! WEEK 02.
LEARN ACTION
TIPs
สรุปเรื่อง Facebook
Fanpage ร่วมกัน
- Censor ในวงการ TV
สื่อออนไลน์
สาคัญจริงหรือ!
คืออะไร?
G.I. Generation
“คนกลุ่มนี้เสียชีวิตไปหมดแล้ว
จึงถูกตั้งชื่อว่า
"Lost Generation"
เกิดในช่วงปี พ.ศ. 2444-2467 : ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
► พวกเขาจึงกลายมาเป็นกาลังหลักของการต่อสู้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
► เมื่อสงครามสงบ เกิดสภาพเศรษฐกิจตกต่าไปทั่วโลก คนรุ่นนี้จึงเป็นกาลังสาคัญในการฟื้นฟู
และพัฒนาเศรษฐกิจให้กลับมาดีขึ้นอีกครั้ง
► ผู้คนในยุคนั้นจะมีความเป็นทางการสูง ผู้ชายจะใส่สูทผูกเนคไทเมื่อออกจากบ้าน
► คนในสังคมจะมีแบบแผนปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน คือ มีความคิด ความเห็น
ความเชื่อเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เชื่อมั่นรัฐบาล อานาจรัฐ มีจิตสานึกความเป็นพลเมืองร่วมกัน
เกิดในช่วง พ.ศ. 2468-2488
► ประชากรรุ่นนี้จะมีไม่มากเท่ารุ่นอื่นๆ เพราะเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พอดี
► หลังจากนั้นก็เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจตกต่า ดังนั้น ผู้คนจึงมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยากลาบาก
ต้องทางานหนักในโรงงาน หามรุ่งหามค่า คนรุ่นนี้จึงมีความเคร่งครัดต่อระเบียบแบบแผนมาก
► มีความจงรักภักดีต่อนายจ้าง และประเทศชาติสูง เคารพกฎหมาย
► เป็นยุคที่ผู้หญิงเริ่มออกมาทางานนอกบ้านกันมากขึ้น
► กระทั่งเวลาผ่านไป เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว คนในรุ่นนี้จึงได้รับโอกาสมากขึ้น มีช่องทางการสร้าง
กิจการของตัวเอง รวมทั้งมีบทบาทในการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ เป็นรากฐานจนถึงปัจจุบันนี้
คนที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2489 – 2507 : ยุคสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2
► คนในยุคนั้นจึงมีค่านิยมที่มีลูกหลายๆ เพื่อสร้างแรงงานขึ้นมาพัฒนาประเทศ
จึงเป็นที่มาของคาว่า “เบบี้บูมเมอร์” ปัจจุบันนี้ คนยุคนี้เริ่มเข้าสู่วัยชรา
► จึงมีลักษณะนิสัยที่ทุ่มเทชีวิตให้กับการทางานและองค์กรมาก
► เคารพกฎเกณฑ์ กติกา มีความอดทนสูง สู้งาน
พยายามคิดและทาอะไรด้วยตัวเอง เป็นเจ้าคนนายคน
► เป็นคนประหยัด อดออม จึงมีการใช้จ่ายอย่างรอบคอบ และระมัดระวัง
กลุ่มคนที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2508-2522
► คนกลุ่มนี้เกิดมาในช่วงที่ไม่ลาบากเท่ารุ่น Baby boomer และยังเป็นช่วงของสันติภาพ
สภาวะโลกสงบเรียบร้อย หลายๆ ประเทศเริ่มมีความมั่งคั่ง
► ดังนั้นการใช้ชีวิตของคนรุ่นนี้จึงเริ่มมีเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องบ้างเล็กน้อย เช่น คอมพิวเตอร์ วิดีโอเกม
วอล์คแมน เป็นต้น
► ยุคนี้เริ่มมีทัศนคติในการทางานเปลี่ยนไป “งานไม่ใช่ทุกอย่างของชีวิต” ทะเยอทะยาน แต่ก็รู้สึกว่าชีวิตควรอิสระ
► สิ่งที่เป็นเสน่ห์ของคนรุ่นนี้คือ “การรักครอบครัวให้ความสาคัญกับครอบครัว”
กลุ่มคนที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2523-2543
► เป็นกลุ่มคนที่โตมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี เป็นวัยที่เริ่มเข้าสู่วัยทางาน
► มีลักษณะนิสัยชอบแสดงออก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง ไม่ชอบอยู่ในกรอบและไม่ชอบเงื่อนไข
► คนกลุ่มนี้ต้องการความชัดเจนในการทางาน ทั้งยังมีความสามารถในการทางานที่เกี่ยวกับ
การติดต่อสื่อสารและมีความสามารถทางานหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน
กลุ่มคนที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2540 >
► Generation Z คือ คานิยามล่าสุดของคนรุ่นใหม่ในยุคปัจจุบัน
► เด็ก ๆ กลุ่ม Gen-Z นี้ จะเติบโตมาพร้อมกับสิ่งอานวยความสะดวกมากมายที่อยู่แวดล้อม
► มีความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยีต่างๆ (Tech Savvy) และเรียนรู้ได้เร็ว
เพราะเติบโตท่ามกลางพ่อแม่ที่ใช้สิ่งเหล่านี้อยู่ในชีวิตประจาวัน
► แทบไม่สาผัสความลาบาก หรือน้อยมากๆ
เกิดตั้งแต่ พ.ศ.2553 เป็นต้นไปเป็นรุ่นลูกของ Gen Y และ Z
► วัยนี้กาลังเป็นเด็กอนุบาลที่เกิดจากพ่อแม่ที่มีอายุมาก มีลูกน้อย มีเงินทองที่ไม่ต้องดิ้นรนมากเท่ารุ่นอื่น
► จับอุปกรณ์ดิจิตอล สัมผัสเทคโนโลยีตั้งแต่เกิด เรียนกันมาก นานและหลากหลาย อยู่กับสังคมทุนนิยม
► มีแนวโน้มเป็นคนวัตถุนิยม คุ้นเคยกับการเปลี่ยนแปลง เบื่อง่ายและความอดทนต่า
นิยมความรวดเร็วทันใจ จึงมองหาสูตรความสาเร็จที่จะทาให้ประสบความสาเร็จตั้งแต่อายุยังน้อย
► ดังนั้นเด็กยุคปัจุบันนี้ไม่ใช่เป็นรุ่นเจเนอเรชั่น Z แล้ว แต่เป็นเจเนอเรชั่นรุ่นอัลฟ่า
ที่มีการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น การปฏิสัมพันธ์กับบ้าน โรงเรียน วัด น้อยลง
Born : 2009
Gen Alpha
?!
Born : 2009
Gen Alpha
?!
ONLINE & DIGITAL
ลักษณะ
ออนไลน์
ของสื่อ
การแสดงถึงสถานะของการ
เชื่อมต่อกับเครือข่าย
ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายใดๆ
การแสดงถึงสถานะของการ
ไม่เชื่อมต่อกับเครือข่าย
ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายใดๆ
อาจหมายถึงการเชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ต หรือ เวิลด์ไวด์เว็บ
ONLINE
ออนไลน์
OFFLINE
ออฟไลน์
เป็นคาศัพท์ในวงการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม
คำถำม?
ตู้เย็นคือสื่ออะไร!?
ก็ได้
เฉลย?
ตู้เย็น
สามารถเข้าถึงเว็บไซต์, Social Mediaได้
Facebook, Twitter, YouTube,
Pandora หรือแม้แต่ Gmail
“MEMO”
สามารถฝากข้อความ หรือคลิปวิดีโอ
ให้คนในบ้านได้
Samsung ร่วมกับ E-mart
เครือข่ายร้านค้าที่มีสาขามากที่สุดในเกาหลี
ฟังชั่น E-commerce
ผู้ใช้สามารถเลือกสินค้าที่ต้องการได้ มากกว่า 22,000
รายการที่ ขายอยู่ใน Emart
พร้อมทั้งกาหนดวันที่ ต้องการให้ส่งสินค้าได้อีกด้วย
ที่มาพร้อมกับ จอแสดงผลLED
เชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ตไร้สายตู้เย็นอัจฉริยะ (Smart Refrigerator)
เจ้าของควบคุมได้ผ่าน APP
จากโทรศัพท์มือถือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านทุกชิ้น
เชื่อมต่อไร้สาย WiFi
และ Cloud computing
รายงาน Status ไปให้เจ้าของได้
INTERNET OF THINGS
นี่ คื อ ป ร า ก ฏ ก า ร์ ณ
INTERNET OF THINGS
iOT
Kevin Ashton
ผู้ที่ถูกยกย่องให้เป็นบิดาของ
Internet of Things
ในปี 1999 เขาเริ่มต้นโครงการ
Auto-ID Center ที่มหาวิทยาลัย
Massachusetts Institute of Technology
พัฒนาเทคโนโลยี RFID Sensors ต่างๆ
จะเชื่อมต่อกันได้ผ่านสัญญาณอินเตอร์เน็ท
iOT ต่อมาในยุคหลังปี 2000
โลกมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นจานวนมากและมีการใช้คาว่า “Smart”
ล้วนมีโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกอินเตอร์เน็ตได้
smart device, smart grid, smart home,
smart network, smart intelligent transportation
SMART DEVICES
RFID Sensors DEVICES
INTERNETiOT
A wireless
sensor network
(WSN)
ลักษณะของ
SOCIAL MEDIA
ONLINE MEDIA
SOCIAL
MEDIAONLINE
MEDIA
สังคม
การเชื่อมต่อกับเครือข่าย
ด้วยอินเตอร์เน็ท
สื่อ“เครื่องมือ ช่องทาง”
“เนื้อหา เรื่องราว” ที่มี
จนกลายเป็น
มีปฏิสัมพันธ์กัน
ตรงนี้ไม่ต่างจากคนเราสมัยก่อน
ที่เกิดเรื่องราวที่น่าสนใจอะไรขึ้นมา
ก็พากันมานั่งพูดคุยกันจนเกิดสภาพ
Talk of the town
เป็นสื่อที่แพร่กระจายด้วย
ปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม
แต่เมื่อมาอยู่ในโลกออนไลน์
การแพร่กระจายของสื่อก็ทาได้ง่ายขึ้น
โดยเกิดจากการแบ่งปันเนื้อหา
(Content Sharing)
เป็นสื่อที่แพร่กระจายด้วย
ปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม
เป็นสื่อที่แพร่กระจายด้วย
ปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม
เปลี่ยนแปลงสื่อเดิมที่ แพร่กระจายข่าวสารแบบทางเดียว >
เมื่อมีสภาพของการเป็นสื่อสังคม
สิ่งสาคัญก็คือการสนทนาอาจจะ
เป็นการร่วมกลุ่มคุยในเรื่องที่สนใจ
ร่วมกัน
โดยที่ไม่มีใครเข้ามาควบคุมเนื้อหา
ของการสนทนา แม้กระทั่งตัวผู้ผลิต
เนื้อหานั่นเอง เพราะผู้ที่ได้รับสารมี
สิทธิที่จะเข้าร่วมในรูปแบบของการ
เพิ่มเติมความคิดเห็น หรือแม้กระทั่ง
เข้าไปแก้ไขเนื้อหานั้นได้ด้วยตัวเอง
เป็นแบบการสนทนาที่ สามารถมีผู้เข้าร่วมได้หลายๆ คน
one-to-many > many-to-many
เปลี่ยนแปลงสื่อเดิมที่ แพร่กระจายข่าวสารแบบทางเดียว >
เป็นแบบการสนทนาที่ สามารถมีผู้เข้าร่วมได้หลายๆ คน
จากคนตัวเล็กๆในสังคมที่แต่เดิมไม่มีปากมีเสียง
อะไรมากนัก เป็ นเพียงคนรับสื่อ ขณะที่สื่อจาพวก
โทรทัศน์ วิทยุ หรือ หนังสือพิมพ์จะเป็นผู้ทรงอิทธิพล
อย่างมาก สามารถชี้ชะตาใครต่อใครโดยที่เราแทบ
จะไม่มีทางอุทธรณ์
แต่เมื่อเป็น Social Media ที่แทบจะไม่มีต้นทุน ทาให้
ใครๆก็สามารถผลิตเนื้อหาและกระจายไปยังผู้รับ
สารได้อย่างเสรี หากใครผลิตเนื้อหาที่โดยใจคนหมู่
มาก ก็จะเป็นผู้ทรงอิทธิพลไป (Influencer)
เป็นสื่อที่เปลี่ยนผู้คนจากผู้บริโภคเนื้อหา >
เป็นผู้ผลิตเนื้อหา Audience > Content Creator
เป็นสื่อที่เปลี่ยนผู้คนจากผู้บริโภคเนื้อหา >
เป็นผู้ผลิตเนื้อหา
ลักษณะของ
SOCIAL MEDIA
ONLINE MEDIA
ลดรูปจากคาว่า Weblog ซึ่งถือเป็ นระบบจัดการเนื้อหา
(Content Management System: CMS) รูปแบบหนึ่ง
ผู้ใช้สามารถเขียนบทความเรียกว่า Post และทาการเผยแพร่ได้
โดยง่าย ไม่ยุ่งยากในการที่จะต้องมานั่งเรียนรู้ถึงภาษา HTML หรือ
โปรแกรมทา web site
การเรียงของเนื้อหาจะเรียงจากเนื้อหาที่มาใหม่สุดก่อน จากนั้นก็
ลดหลั่นลงไปตามลาดับของเวลา (Chronological Order)
เปิดโอกาสให้ใครๆ ที่มีความสามารถในด้านต่างๆ สามารถเผยแพร่
ความรู้ดังกล่าวด้วยการเขียนได้อย่างเสรี ไม่มีขีดจากัดเรื่องเทคนิค
อย่างในอดีตอีกต่อไป และเพิ่มเนื้อหาให้กับโลกออนไลน์ได้เป็น
จานวนมหาศาลอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
เช่น Twitter เป็นรูปแบบหนึ่งของ Blog ที่จากัดขนาดของการ Post
แต่ละครั้งไว้ที่ 140 ตัวอักษร
โดยแรกเริ่มเดิมที ผู้ออกแบบ Twitter ต้องการให้ผู้ใช้เขียนเรื่องราวว่าคุณ
กาลังทาอะไรอยู่ในขณะนี้(What are you doing?)
แต่กิจการต่างๆกลับนา Twitter ไปใช้ในทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นการ
สร้างการบอกต่อ เพิ่มยอดขาย สร้าง Brand หรือเป็นเครื่องมือ
สาหรับการบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า (CRM)
Twitter นั้นเป็นนิยมขึ้นมากอย่างรวดเร็ว จนทาให้เว็บไซต์ประเภท Social
Network ต่างๆ เพิ่ม Feature ที่ให้ผู้ใช้สามารถบอกได้ว่าตอนนี้กาลังทา
อะไรกันอยู่ นั้นก็คือการนา Microblog เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งด้วยนั้นเอง
จากชื่อก็สามารถแปลความหมายได้ว่า
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงเรากับเพื่อนๆ จนกลายเป็น
สังคม
ผู้ใช้จะเริ่มต้นสร้างตัวตนของตนเองขึ้นในส่วนของ
Profile ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลส่วนตัว (Info)
รูป (Photo) การจดบันทึก (Note) หรือการใส่วิดีโอ
(Video) และอื่นๆ
นอกจากนี้Social Networking ยังมีเครื่องมือสาคัญ
ในการสร้างจานวนเพื่อนให้มากขึ้น คือ ในส่วนของ
Invite Friend และ Find Friend รวมถึงการสร้าง
เพื่อนจากเพื่อนของเพื่อนอีกด้วย
เป็นเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงไปยังบทความหรือเนื้อหาใดในอินเทอร์เน็ต
โดยผู้ใช้เป็นผู้ส่งและเปิดโอกาสให้คะแนนและทาการโหวตได้
เป็นเสมือนมหาชนช่วยกลั่นกรองว่าบทความหรือเนื้อหาใดนั้นเป็นที่
น่าสนใจที่สุด
Social Bookmarking เป็นการที่เปิดโอกาสให้คุณสามารถทาการ
Bookmark เนื้อหาหรือเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ โดยไม่ขึ้นอยู่กับ
คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง แต่สามารถทาผ่านออนไลน์
เนื้อหาในส่วนที่เราทา Bookmark ไว้นี้สามารถที่จะแบ่งปันให้คน
อื่นๆ ได้ด้วย
นักการตลาดจะใช้เป็นเครื่องมือในการบอกต่อและสร้างจานวนคน
เข้ามายังที่เว็บไซต์หรือ Campaign การตลาดที่ต้องการ
ถือเป็นรูปแบบของ Social Media ที่เก่าแก่ที่สุด
เป็นเสมือนสถานที่ที่ให้ผู้คนเข้ามาพูดคุยในหัวข้อที่พวกเขาสนใจ
ได้ทาการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงข้อมูลข่าวสาร ตลอด
จนถึงการแนะนาสินค้าหรือบริการต่างๆ
เว็บไซต์ประเภท Forums อาจจะเป็นเว็บไซต์ที่เปิดให้แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นกันโดยเฉพาะ หรืออาจจะเป็นส่วนหนึ่งในเว็บไซต์
เนื้อหาต่างๆ
เป็นเว็บไซต์ที่เปิดโอกาสให้เราสามารถ upload รูปหรือวิดีโอ
เพื่อแบ่งปันให้กับครอบครัว เพื่อนๆ หรือแม้กระทั่งเพื่อ
เผยแพร่ต่อสาธารณชน
Youtube Video Hub แบบ MASS
Viemo Video Hub ของมืออาชีพ
Instagram แหล่งแชร์ภาพของ MASS
Flickr,Multiply แหล่งแชร์ภาพของเหล่ามืออาชีพ
คาเรคเตอร์
เข้าใจพฤติกรรม
คนไทย
คนไทยส่วนใหญ่ทาอะไร
เป็นอย่างแรก
เมื่อนั่งหน้าคอม
เป็นอย่างสุดท้าย
ก่อนปิดคอม
ผ่าพฤติกรรมคนไทยกับโซเชียล เน็ทเวิร์ค ใช้เฟซบุ้ค 24 ชั่วโมง ห้องน้าก็ไม่เว้น
แต่ละช่วงเวลาเขาเล่นอะไรกัน
เล่น FB ชอบเล่นอะไร........!?
ทา Content อย่าหวังแค่ LIKE
เขาบอกว่า
แต่ควรให้คน “SHARE”
ทาไมคนถึงแชร์
– 48% บันเทิง (ตลก, สนุกและน่าสนใจ)
- 17% คาเตือนหรือข่าวสารข้อมูลสาคัญหรือเร่งด่วน
(อยากให้คนอื่นใส่ใจเหมือนที่ตัวเองใส่ใจ)
- 13 % ความรู้สึก (ซึ้ง,เศร้า,ฯลฯ)
- 11% สาระประโยชน์
(มีประโยชน์แต่อาจจะไม่เร่งด่วน)
- 11% อื่นๆ
ประเภทเนื้อหาที่จะแชร์
– 48% บันเทิง (ตลก, สนุกและน่าสนใจ)
- 17% คาเตือนหรือข่าวสารข้อมูลสาคัญ
หรือเร่งด่วน
(อยากให้คนอื่นใส่ใจเหมือนที่ตัวเองใส่ใจ)
- 13 % ความรู้สึก (ซึ้ง,เศร้า,ฯลฯ)
- 11% สาระประโยชน์
(มีประโยชน์แต่อาจจะไม่เร่งด่วน)
- 11% อื่นๆ
ประเภทเนื้อหาที่จะแชร์
เหตุผลในการแชร์
“แชร์เพื่อหาเรื่องคุยกับเพื่อนๆ”
(connect with friends)
โดยผู้หญิงให้น้าหนักข้อนี้มากกว่าผู้ชาย
“เพื่อบอกข่าวสารข้อมูลสาคัญ”
(inform my friends)
“อยากให้เพื่อนรู้สึกอย่างที่เรารู้สึก”
(make friends feel something) ,
“ชักชวนเพื่อนๆให้ลงมือทาบางอย่าง”
(persuade my friends)
ซึ่งนี่เป็นข้อเดียวที่ชายให้น้าหนักมากกว่าหญิง
ความถี่การแชร์
ผู้ใช้เฟซบุ๊กส่วนใหญ่ 82%
แชร์ไม่เกินวันละครั้ง
แต่มีคนอยู่ 18%
หรือเกือบหนึ่งในห้าที่
แชร์วันละ 2 – 3 ครั้ง
มีคนอยู่ 5%
ที่แชร์ถึงวันละ 4 ครั้ง !
แชร์สร้างภาพ
การแชร์บนเฟซบุ๊กยังบ่งบอกตัวตน
ของเราเอง(ผู้แชร์) ได้ด้วย
คนส่วนใหญ่เห็นด้วยใน 3 เรื่องคือ
1) สิ่งที่แชร์ต้องทาให้ตัวเองดูดี
2) ไม่ทาให้ตัวเองดูแย่,
3) บ่งบอกความเป็นตัวเอง
โดยยิ่งอายุมากจะยิ่งใส่ใจ
เรื่องภาพลักษณ์ตัวเองในการแชร์มากขึ้น
และผู้หญิงจะแคร์เรื่องนี้มากกว่าชาย
RT392
WEEK 02.
DHURAKIJ PUNDIT UNIVERSITY
COMMUNICATIONS ARTS
MORRAGET

More Related Content

What's hot

อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้guesta6407f
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
Kunnanatya Pare
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
Boonlert Aroonpiboon
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
Kunnanatya Pare
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิปguesta6407f
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2kessara61977
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kunnanatya Pare
 
ว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคม
Arthit Suriyawongkul
 
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Arthit Suriyawongkul
 
เว็บ 2.0
เว็บ 2.0เว็บ 2.0
เว็บ 2.0
narin pairor
 
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
PaphadaPaknaka
 

What's hot (14)

อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิป
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคม
 
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
 
เว็บ 2.0
เว็บ 2.0เว็บ 2.0
เว็บ 2.0
 
2
22
2
 
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
 

Viewers also liked

EMODELS Presentation -
EMODELS Presentation -EMODELS Presentation -
EMODELS Presentation -Len Talon
 
Week 1 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 1 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 1 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 1 DPUrt392 Aj.Morraget
Morraget Morraget
 
Week 10 -hero hub help - Video Content
Week 10 -hero hub help - Video ContentWeek 10 -hero hub help - Video Content
Week 10 -hero hub help - Video Content
Morraget Morraget
 
Monsanto grouppresentation
Monsanto grouppresentationMonsanto grouppresentation
Monsanto grouppresentationKatie Turner
 
Digital Perspectives from the Creative Agency Front Lines
Digital Perspectives from the Creative Agency Front LinesDigital Perspectives from the Creative Agency Front Lines
Digital Perspectives from the Creative Agency Front Lines
Proscape
 
8 Steps to Branding Your Business
8 Steps to Branding Your Business8 Steps to Branding Your Business
8 Steps to Branding Your Business
Namify
 
Monsanto - presentation
Monsanto - presentationMonsanto - presentation
Monsanto - presentation
sol777
 
Corporate Branding and The Effect It Has On Business
Corporate Branding and The Effect It Has On BusinessCorporate Branding and The Effect It Has On Business
Corporate Branding and The Effect It Has On Business
Bryan Calabro
 
Agency Creative Capabilities
Agency Creative CapabilitiesAgency Creative Capabilities
Agency Creative Capabilities
agencycreative
 
Brand New World
Brand New WorldBrand New World
Brand New World
Torsten Henning Hensel
 
Email Marketing 101: The Welcome Email
Email Marketing 101: The Welcome EmailEmail Marketing 101: The Welcome Email
Email Marketing 101: The Welcome Email
SendGrid
 
Quick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations Faster
Quick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations FasterQuick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations Faster
Quick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations Faster
Eugene Cheng
 
Create icons in PowerPoint
Create icons in PowerPointCreate icons in PowerPoint
Create icons in PowerPoint
Presentitude
 
Social Proof Tips to Boost Landing Page Conversions
Social Proof Tips to Boost Landing Page ConversionsSocial Proof Tips to Boost Landing Page Conversions
Social Proof Tips to Boost Landing Page Conversions
Angie Schottmuller
 
Europas BlaBlaCar pitch
Europas BlaBlaCar pitchEuropas BlaBlaCar pitch
Europas BlaBlaCar pitch
Vanina Schick
 
Pollen VC Building A Digital Lending Business
Pollen VC Building A Digital Lending BusinessPollen VC Building A Digital Lending Business
Pollen VC Building A Digital Lending Business
Pollen VC
 
17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content
17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content
17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content
Henneke Duistermaat
 
The Sharing Economy
The Sharing EconomyThe Sharing Economy
The Sharing Economy
Loic Le Meur
 
Your Sales Pitch Sucks!
Your Sales Pitch Sucks!Your Sales Pitch Sucks!
Your Sales Pitch Sucks!
Slides That Rock
 
The Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonify
The Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonifyThe Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonify
The Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonify
Slides | Presentation Design Agency
 

Viewers also liked (20)

EMODELS Presentation -
EMODELS Presentation -EMODELS Presentation -
EMODELS Presentation -
 
Week 1 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 1 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 1 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 1 DPUrt392 Aj.Morraget
 
Week 10 -hero hub help - Video Content
Week 10 -hero hub help - Video ContentWeek 10 -hero hub help - Video Content
Week 10 -hero hub help - Video Content
 
Monsanto grouppresentation
Monsanto grouppresentationMonsanto grouppresentation
Monsanto grouppresentation
 
Digital Perspectives from the Creative Agency Front Lines
Digital Perspectives from the Creative Agency Front LinesDigital Perspectives from the Creative Agency Front Lines
Digital Perspectives from the Creative Agency Front Lines
 
8 Steps to Branding Your Business
8 Steps to Branding Your Business8 Steps to Branding Your Business
8 Steps to Branding Your Business
 
Monsanto - presentation
Monsanto - presentationMonsanto - presentation
Monsanto - presentation
 
Corporate Branding and The Effect It Has On Business
Corporate Branding and The Effect It Has On BusinessCorporate Branding and The Effect It Has On Business
Corporate Branding and The Effect It Has On Business
 
Agency Creative Capabilities
Agency Creative CapabilitiesAgency Creative Capabilities
Agency Creative Capabilities
 
Brand New World
Brand New WorldBrand New World
Brand New World
 
Email Marketing 101: The Welcome Email
Email Marketing 101: The Welcome EmailEmail Marketing 101: The Welcome Email
Email Marketing 101: The Welcome Email
 
Quick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations Faster
Quick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations FasterQuick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations Faster
Quick & Dirty Tips for : Better PowerPoint Presentations Faster
 
Create icons in PowerPoint
Create icons in PowerPointCreate icons in PowerPoint
Create icons in PowerPoint
 
Social Proof Tips to Boost Landing Page Conversions
Social Proof Tips to Boost Landing Page ConversionsSocial Proof Tips to Boost Landing Page Conversions
Social Proof Tips to Boost Landing Page Conversions
 
Europas BlaBlaCar pitch
Europas BlaBlaCar pitchEuropas BlaBlaCar pitch
Europas BlaBlaCar pitch
 
Pollen VC Building A Digital Lending Business
Pollen VC Building A Digital Lending BusinessPollen VC Building A Digital Lending Business
Pollen VC Building A Digital Lending Business
 
17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content
17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content
17 Copywriting Do's and Don'ts: How To Write Persuasive Content
 
The Sharing Economy
The Sharing EconomyThe Sharing Economy
The Sharing Economy
 
Your Sales Pitch Sucks!
Your Sales Pitch Sucks!Your Sales Pitch Sucks!
Your Sales Pitch Sucks!
 
The Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonify
The Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonifyThe Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonify
The Ultimate Freebies Guide for Presentations by @damonify
 

Similar to Week 2 DPUrt392 Aj.Morraget

Social media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnutSocial media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnut
Asst.Prof.Dr.Arnut Ruttanatirakul
 
Social network & Digital ages
Social network & Digital agesSocial network & Digital ages
Social network & Digital ages
คุณชาย โซเซ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspectiveMedia and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Thai Netizen Network
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัลหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
ssuser0f881d
 

Similar to Week 2 DPUrt392 Aj.Morraget (20)

Social media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnutSocial media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnut
 
Social network & Digital ages
Social network & Digital agesSocial network & Digital ages
Social network & Digital ages
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspectiveMedia and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
Pw7 9
Pw7 9Pw7 9
Pw7 9
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัลหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
 

More from Morraget Morraget

Week 13_C ตัวที่ 4 Communication
Week 13_C ตัวที่ 4 CommunicationWeek 13_C ตัวที่ 4 Communication
Week 13_C ตัวที่ 4 Communication
Morraget Morraget
 
Week 12 - Channel for Video Content
Week 12 - Channel for Video ContentWeek 12 - Channel for Video Content
Week 12 - Channel for Video Content
Morraget Morraget
 
ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"
ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"
ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"
Morraget Morraget
 
Week 10 Consumer & Content
Week 10 Consumer & ContentWeek 10 Consumer & Content
Week 10 Consumer & Content
Morraget Morraget
 
Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget
Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget
Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget
Morraget Morraget
 
Week08
Week08 Week08
240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)
240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)
240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)
Morraget Morraget
 
Week 7 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 7 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 7 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 7 DPUrt392 Aj.Morraget
Morraget Morraget
 
Week 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.Morraget
Week 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.MorragetWeek 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.Morraget
Week 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.Morraget
Morraget Morraget
 
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Morraget Morraget
 
การบ้าน Twitter มา present ในห้อง (24 กย.)
การบ้าน Twitter  มา present ในห้อง (24 กย.)การบ้าน Twitter  มา present ในห้อง (24 กย.)
การบ้าน Twitter มา present ในห้อง (24 กย.)
Morraget Morraget
 
(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.
(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.
(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.
Morraget Morraget
 
โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392
โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392
โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392
Morraget Morraget
 
Week 3 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 3 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 3 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 3 DPUrt392 Aj.Morraget
Morraget Morraget
 

More from Morraget Morraget (14)

Week 13_C ตัวที่ 4 Communication
Week 13_C ตัวที่ 4 CommunicationWeek 13_C ตัวที่ 4 Communication
Week 13_C ตัวที่ 4 Communication
 
Week 12 - Channel for Video Content
Week 12 - Channel for Video ContentWeek 12 - Channel for Video Content
Week 12 - Channel for Video Content
 
ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"
ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"
ฺBrief Video Content "5ธันวาคม2559"
 
Week 10 Consumer & Content
Week 10 Consumer & ContentWeek 10 Consumer & Content
Week 10 Consumer & Content
 
Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget
Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget
Week 9_VDO ContentDPUrt392 Aj.Morraget
 
Week08
Week08 Week08
Week08
 
240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)
240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)
240 ชุดสีพร้อมใช้ - Creative Color Schemes (creativecolorschemes.com)
 
Week 7 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 7 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 7 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 7 DPUrt392 Aj.Morraget
 
Week 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.Morraget
Week 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.MorragetWeek 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.Morraget
Week 4-5 การเขียนเพื่อออนไลน์ DPUrt392 Aj.Morraget
 
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
 
การบ้าน Twitter มา present ในห้อง (24 กย.)
การบ้าน Twitter  มา present ในห้อง (24 กย.)การบ้าน Twitter  มา present ในห้อง (24 กย.)
การบ้าน Twitter มา present ในห้อง (24 กย.)
 
(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.
(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.
(สอบย่อย) กระดาษาคำตอบสำหรับคนลา วันที่ 10 กย.
 
โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392
โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392
โจทย์ สอบย่อย Week 3 DPURT392
 
Week 3 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 3 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 3 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 3 DPUrt392 Aj.Morraget
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Week 2 DPUrt392 Aj.Morraget