SlideShare a Scribd company logo
มาตรวิทยามิติ
มาตรวิทยาอุณหภูมิ
และแสง
ISO
มาตรวิทยาไฟฟา
มาตรวิทยาเชิงกล
มาตรวิทยาเคมี
และชีวภาพ
เสียงและการสั่นสะเทือน
ระบบคุณภาพ
สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
กลุมงานพัฒนาธุรกิจ (อบรม) ฝายนโยบายและยุทธศาสตร
หลักสูตรฝกอบรมสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
Training Course NIMT
ก
Training Course NIMT
ผู้เรียบเรียง : นางสาวสร้อยอารดา อินทรพรหม
ผู้ออกแบบปกหน้า-หลัง : นางสาวคุณากร จันทร์ไพศรี
จัดทาเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ : 5 กันยายน 2561
จานวนเนื้อหา : 97 หน้า
หมายเหตุ : สถาบันฯ ขอสงวนสิทธ์ในการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด
เนื้อหาหลักสูตร โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
ข
คานา
การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการวัด วิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบ มีบทบาท
สาคัญในการเพิ่มขีดความสามารถแก่บุคลากร สาหรับภาคเอกชนและภาครัฐ ทางกลุ่มงานพัฒนา
ธุรกิจ (อบรม) จึงจัดทาหนังสือเล่มนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นข้อมูลให้กับผู้ที่ต้องการเข้า
รับการฝึกอบรมกับสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ โดยประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากหนังสือเล่มนี้
เพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้ที่ต้องการเข้ารับการฝึกอบรม นาไปพิจารณาก่อนการฝึกอบรมให้เตรียม
ความพร้อมและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ผู้เรียบเรียง นักมาตรวิทยา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาหนังสือเล่มนี้ ที่ได้สละ
เวลาให้ข้อมูลความรู้ ร่วมออกแบบและจัดทาและหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะให้ความรู้และเป็น
ประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้เรียบเรียงขอรับไว้ด้วยความ
ขอบพระคุณยิ่ง
นางสาวสร้อยอารดา อินทรพรหม
5 กันยายน 2561
ค
บริการด้านอบรมและการให้คาปรึกษา
หลักสูตรมาตรวิทยาประจาปี ณ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
ลงทะเบียนฝึกอบรมออนไลน์ได้ที่ http://training.nimt.or.th/OnlineRegister/
เกณฑ์การได้รับใบวุฒิบัตร
1. แบบทดสอบก่อนฝึกอบรม
2. เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลารวม
3. แบบประเมินความพึงพอใจหลังการฝึกอบรมเสร็จสิ้น
4. แบบทดสอบหลังฝึกอบรม และมีผลทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
บริการอบรมนอกสถานที่ ณ สถานประกอบการ
Download แบบคาขอใช้บริการได้ที่ http://training.nimt.or.th >> บริการฝึกอบรม In-house Training
- แบบคาขอใช้บริการ In-house Training
หมายเหตุ 1. ค่าใช้จ่ายรวม: วิทยากร เอกสารประกอบการฝึกอบรม และใบรับรองการฝึกอบรม
2. ผู้ใช้บริการรับผิดชอบ: ค่าเดินทาง และที่พักของวิทยากร
- In-house Training Requisition Form (in English)
หมายเหตุ 1. This cost includes lecturer fee, training materials and certificate.
2. All travel expenses of participant(s) and lecturer(s) including
accommodation and full board will be taken care by customer.
เกณฑ์การได้รับใบวุฒิบัตร
2. แบบทดสอบก่อนฝึกอบรม
3. เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลารวม
4. แบบประเมินความพึงพอใจหลังการฝึกอบรมเสร็จสิ้น
5. แบบทดสอบหลังฝึกอบรม และมีผลทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- แบบคาขอใช้บริการบรรยายวิชาการ
หมายเหตุ 1. ค่าใช้จ่ายรวม: วิทยากร
2. ผู้ใช้บริการรับผิดชอบ: ค่าเดินทาง ที่พักของวิทยากร และการสาเนา
เอกสารประกอบการบรรยาย
- แบบขอรับบริการคาปรึกษาด้านมาตรวิทยา
หมายเหตุ ผู้ใช้บริการรับผิดชอบ : ค่าเดินทาง อาหาร และที่พักของวิทยากร
ง
สารบัญ
หลักสูตร หน้า
1. มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 1
1.1 การประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัดในการวิเคราะห์ทางเคมี (EMU) ...................... 2
1.2 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัดทางเคมี (AMV) ............................................................. 3
1.3 การสอบเทียบเครื่องดูดจ่ายอัตโนมัติ .................................................................................. 4
1.4 การสอบเทียบ pH meter .................................................................................................. 5
1.5 การสอบเทียบ Conductivity Meter ................................................................................ 6
1.6 การสอบเทียบเครื่องวัดความหวาน .................................................................................... 7
1.7 การสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี ....................................................... 8
1.8 การสอบเทียบเครื่องตรวจจับก๊าซ ...................................................................................... 9
1.9 การวิเคราะห์ปริมาณองค์ประกอบในก๊าซผสม .................................................................. 10
2. มาตรวิทยาไฟฟ้า 11
2.1 การสอบเทียบดิจิทัลมัลติมิเตอร์ ……..........................................………………………………...... 12
2.2 การสอบเทียบเครื่องสอบเทียบทางไฟฟ้า ….........................................………………………..... 13
2.3 การสอบเทียบ AC Power and Harmonics ……….........................................…………....... 14
2.4 การสอบเทียบและการใช้งานเครื่องมือวัด LCR Meter ........................................……........ 15
2.5 การสอบเทียบมาตรฐานสาหรับวัดค่าความแตกต่างถ่ายเทระหว่างไฟฟ้ากระแสสลับและ
ไฟฟ้ากระแสตรง ................................................................................................................. 16
2.6 การสอบเทียบความถี่ …………………….…………….....................................……………...…........ 17
2.7 การสอบเทียบ Frequency Source Measurement …....................................…............. 18
2.8 การสอบเทียบ Time Interval …………………….....................................…………...…............. 19
2.9 การสอบเทียบออสซิลโลสโคป …………………....................................……………...……............ 20
2.10 การสอบเทียบ Standard Signal Generator ……..……….................................................. 21
2.11 การใช้งานและการสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter ...............……........... 22
2.12 การสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า ………………………...........................................…........ 23
2.13 เทคนิคการวัดด้านไฟฟ้าแรงสูง ........................................................................................... 24
2.14 การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง ............................................................ 25
2.15 การสอบเทียบ Network Analyzer ................................................................................... 26
2.16 การสอบเทียบกาลังเลเซอร์ ................................................................................................. 27
2.17 การสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (Harmonics and Flicker) .................................... 28
3. มาตรวิทยาเชิงกล 29
3.1 การสอบเทียบเครื่อง Universal Testing Machine (UTM) ตามมาตรฐาน ISO7500-1:
2004 …………………………………............................................................…............................. 30
3.2 การวัดและทดสอบความแข็งเบื้องต้น ................................................................................. 31
3.3 การสอบเทียบ Rockwell Hardness Tester ตามมาตรฐาน ISO 6508-2 และ ASTM
E18 ………………………………………........................................................................................ 32
3.4 การทา Intermediate check สาหรับเครื่องมือวัดแรงบิดมาตรฐาน ................................. 33
3.5 การสอบเทียบ Hand Torque Tools ตามมาตรฐาน ISO 6789:2017 ..…………..….......... 34
จ
สารบัญ (ต่อ)
หลักสูตร หน้า
3.6 การสอบเทียบ Torque Wrench Calibrator ตามมาตรฐาน DAkkS-DKD-R 3-8: 2010 35
3.7 การสอบเทียบ Screwdriver Calibrator ………....................................…………………......... 36
3.8 การสอบเทียบ Torque Transducer ตามมาตรฐาน DIN 51039:2005 …………........….... 37
3.9 การสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานแรงบิดชนิด Weight & Beam ……...............………......... 38
3.10 การสอบเทียบ Torque Transfer Wrench ตามมาตรฐาน DKD R 3-7 …….........…......... 39
3.11 การสอบเทียบเครื่องมือวัดความดันขั้นพื้นฐาน ……………....................................…….......... 40
3.12 การทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดความดันและการนาไปใช้งาน .......................... 41
3.13 การสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านสุญญากาศ ......................................................................... 42
3.14 การทดสอบเครื่องมือวัดความดันโลหิตประเภทไม่ต้องเจาะเส้นเลือด ................................ 43
3.15 การสอบเทียบเครื่องมือวัดอัตราการไหลของของเหลว ....................................................... 44
3.16 การสอบเทียบตุ้มน้าหนักมาตรฐานตาม OIML R 111-1 และตุ้มน้าหนักขนาดใหญ่ .......... 45
3.17 การสอบเทียบเครื่องชั่งอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐาน UKAS LAB 14 ................................. 46
3.18 การสอบเทียบ Hydrometer ด้วยวิธี Cuckow (Hydrostatic Weighing) ........…............ 47
3.19 การสอบเทียบเครื่อง Density Meter (Benchtop Oscillation Type) ตามมาตรฐาน
ISO15212-1:1998 ……………………….................................................................................. 48
4. มาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง 49
4.1 การสอบเทียบ Liquid in Glass Thermometer ……...................................….....……....... 50
4.2 การสอบเทียบ Digital Thermometer & Temperature Source …....................……..... 51
4.3 การสอบเทียบเทอร์โมคัปเปิลและตัวอ่านสาหรับเทอร์โมคัปเปิล …………………................... 52
4.4 การสอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานแพลทินัม …......................................……......... 53
4.5 การสอบเทียบ Infrared Thermometer (หลักสูตร 3 วัน) ..................................……....... 54
4.6 การสอบเทียบ Infrared Thermometer (หลักสูตร 2 วัน) ..................................……....... 55
4.7 การใช้งานเทอร์โมมิเตอร์แบบแผ่รังสีอย่างถูกวิธี ………...................................……....…........ 56
4.8 การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางความชื้นในอากาศ ………...................................………......... 57
4.9 การสอบเทียบ Climatic Chamber ตามมาตรฐาน DKD-R 5-7 ….................................... 58
4.1 การสอบเทียบมาตรรังสียูวี ……………………..................................………………………….......... 59
4.11 การทวนสอบหลอดรังสียูวีด้วยมาตรรังสียูวี ………..................................…….………............. 60
4.12 การสอบเทียบและการประยุกต์ใช้ไพรานอมิเตอร์ ………...............................………............. 61
4.13 การสอบเทียบมาตรความสว่าง ……….....................................................…….………............. 62
4.14 การคานวณค่าสีและการประเมินความไม่แน่นอนทางการวัดสี ..............…….………............. 63
5. มาตรวิทยามิติ 64
5.1 การใช้งานและประยุกต์ใช้เลเซอร์อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์ ……..................................….......... 65
5.2 การสอบเทียบความเรียบของโต๊ะระดับ .............................................................................. 66
5.3 การขัดผิวหน้าและบารุงรักษาคุณภาพของเกจบล็อก ......................................................... 67
5.4 หลักการใช้งานและบารุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติ ............................................... 68
ฉ
สารบัญ (ต่อ)
หลักสูตร หน้า
5.5 หลักการสาคัญและการตรวจสอบ GD&T ด้วยเครื่องมือวัดขั้นสูง ....................................... 69
5.6 การสอบเทียบ Thread Ring Gauge และ Thread Plug Gauge ……................…............ 70
5.7 การสอบเทียบไมโครมิเตอร์และเวอร์เนียคาร์ลิปเปอร์ด้วยเกจบล็อก .................................. 71
5.8 วิธีการใช้เกจล็อกมาตรฐานในการสอบเทียบไมโครมิเตอร์ตามมาตรฐาน JIS B 7502 :
1994 และการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด ........................................................ 72
5.9 การสอบเทียบ Dial Gauge และ Dial Test Indicator ตามมาตรฐานญี่ปุ่น (JIS B7503 :
2011, JIS B7533 : 2015) ….............................................................................................. 73
5.1 การสอบเทียบและการประเมินค่าความไม่แน่นอนในการสอบเทียบ Dial Gauge Tester 74
5.11 หลักการใช้งานเครื่องวัดความหยาบตามมาตรฐานสากล ................................................... 75
5.12 การประเมินค่าความไม่แน่นอนในการวัดขนาดวัสดุนาโนด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
แบบส่องกราด ..................................................................................................................... 76
5.13 การสอบเทียบเกจบล็อกด้วยวิธีการวัดเปรียบเทียบเชิงกล และการประเมินความไม่แน่นอน . 77
5.14 หลักเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทางขนาดและเรขาคณิต (GD&T) ระดับ 1 ........................... 78
5.15 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของซีเอ็มเอ็มตามมาตรฐาน ISO/TS 23165 ..................... 79
5.16 การทวนสอบซีเอ็มเอ็มตามมาตรฐาน ISO 10360-2, ISO 10360-5 .................................. 80
5.17 หลักการใช้งานเครื่องวัดความกลม (Roundness measuring instrument) ตาม
มาตรฐานสากล ................................................................................................................... 81
6. เสียงและการสั่นสะเทือน
6.1 การใช้งานเครื่องมือวัดด้านเสียงและการพิจารณาค่าในใบรายงานผลการสอบเทียบ …...... 83
7. ระบบคุณภาพ 84
7.1 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด ……..…....................................………………........ 85
7.2 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดสาหรับทดสอบ ................................................. 86
7.3 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของเครื่องมือวัดทางด้านมิติ .............................................. 87
7.4 ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025:2005(E) ............................................. 88
7.5 ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025:2017(E) ............................................. 89
7.6 การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ …………............................................ 90
7.7 ความเข้าใจและการตีความใบรับรองผลการสอบเทียบ ....................................................... 91
7.8 ระบบควบคุมเครื่องมือวัดตามข้อกาหนด ISO 9001 (2015) ISO 17025 (2005) ISO
14001 (2015) ISO 18001 (2011) ................................................................................... 92
7.9 การแปลความและประยุกต์ใช้ใบรายงานผลการสอบเทียบเพื่อควบคุมคุณภาพ ................. 93
ภาคผนวก ผู้อนุเคราะห์ข้อมูลและร่วมจัดทา 94
1
มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
Chemical Metrology & Biometry
2
ชื่อหลักสูตร (English): Estimation of Measurement Uncertainty in Chemical Analysis
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัดในการวิเคราะห์ทางเคมี (EMU)
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ นักเคมีในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. มีความเข้าใจความสาคัญและกระบวนการของ Measurement Uncertainty ในการวัดทางเคมี
2. สามารถบอกหลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
3. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับงานของตนได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
2. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel
3. มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ทฤษฎี หลักการ วิธีการและฝึกปฏิบัติการประเมินค่าความไม่แน่นอน
2. คอมพิวเตอร์ ในการฝึกปฏิบัติ
เนื้อหาหลักสูตร
1. Introduction to Course / Course Methodology / ระบบมาตรวิทยา /แนะนาฝ่ายมาตรวิทยา
เคมีและชีวภาพ
2. Revision of useful statistics for estimation of measurement uncertainty
3. กระบวนการประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด
4. Reporting of measurement uncertainty and exercise (workshop)
5. การประมาณค่าความไม่แน่นอนจากกราฟมาตรฐาน
6. ตัวอย่างการประมาณค่าความไม่แน่นอน
7. การประมาณค่าความไม่แน่นอนของ Recovery / Bias
8. Workshop การประมาณความไม่แน่นอนของการวัดทางเคมี
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
3
ชื่อหลักสูตร (English): Analytical Method Validation
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัดทางเคมี (AMV)
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ นักเคมีในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. มีความเข้าใจความสาคัญและกระบวนการของ Method Validation ในการวัดทางเคมี
2. สามารถบอกหลักการทา Method Validation ได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
2. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel
3. มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยายทฤษฎี หลักการ และวิธีการทา Method Validation
2. คอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ
เนื้อหาหลักสูตร
1. Introduction to method validation
2. Revision of useful statistics for method validation
3. Revision of useful statistics for method validation (workshop)
4. Key performance characteristics for method validation
- Selectivity
- Linearity and working range
- Analytical Sensitivity
- Trueness
- Precision
- Limit Of Detection (LOD) and Limit Of Quantitation (LOQ)
- Ruggedness and Robustness
- Measurement uncertainty
5. Key performance characteristics for method validation (workshop)
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
4
ชื่อหลักสูตร (English): Piston Pipette Calibration
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องดูดจ่ายอัตโนมัติ
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มีเครื่องมือดังต่อไปนี้
1. เครื่องชั่ง
2. Piston pipette
3. Thermometer
4. Digital Barometer
5. นาฬิกาจับเวลา
6. ภาชนะสาหรับใส่ของเหลว
7. ภาชนะสาหรับชั่ง
8. น้ากลั่น
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถบอกหลักการสอบเทียบตามมาตรฐาน ISO 8655-6 ได้
2. สามารถสอบเทียบ Piston Pipette ชนิด Air Displacement ได้
3. สามารถทาการตรวจสอบระหว่างการใช้งานได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. มีพื้นฐานการใช้งาน Piston Pipette
2. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย
2.1 เครื่องชั่ง 2.2 Piston pipette
2.3 Thermometer 2.4 Digital Barometer
2.5 นาฬิกาจับเวลา 2.6 ภาชนะสาหรับใส่ของเหลว
2.7 ภาชนะสาหรับชั่ง 2.8 น้ากลั่น
เนื้อหาหลักสูตร
1. ชนิดของ Piston Pipette ตามมาตรฐาน ISO 8655
2. ข้อกาหนดการสอบเทียบตามมาตรฐาน ISO 8655-6
3. การสอบเทียบ Piston Pipette
4. เกณฑ์การทา Intermediate Check
5. การคานวณผลการสอบเทียบ
6. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
7. การรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
5
ชื่อหลักสูตร (English): pH Meter Calibration
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ pH meter
ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มีเครื่องมือดังต่อไปนี้
1. pH Meter
2. Calibrator
3. สารละลายมาตรฐานบัฟเฟอร์
4. Digital Barometer
5. นาฬิกาจับเวลา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถบอกถึงความสาคัญของการวัดค่า pH ได้
2. สามารถบอกถึงองค์ประกอบการใช้และการบารุงรักษาเครื่อง pH Meter ได้
3. สามารถสอบเทียบ pH Meter ตามวิธีมาตรฐาน ได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. มีพื้นฐานการใช้งาน pH Meter มาก่อน
2. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย
2.1 pH Meter
2.2 Calibrator
2.3 สารละลายมาตรฐานบัฟเฟอร์
2.3 Digital Barometer
2.5 นาฬิกาจับเวลา
เนื้อหาหลักสูตร
1. ทฤษฎีเบื้องต้นของการวัดค่า pH
2. ความสาคัญของการวัดค่า pH
3. ความสามารถสอบกลับได้และมาตรวิทยาสาหรับการวัดค่า pH
4. วิธีมาตรฐานสาหรับการให้ค่าสารละลายมาตรฐาน
5. องค์ประกอบ การใช้และการบารุงรักษาเครื่อง pH Meter
6. การสอบเทียบ pH meter
7. การคานวณผลการสอบเทียบ
8. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
9. การรายงานผลการสอบเทียบ และการใช้ประโยชน์จากใบรับรองผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
6
ชื่อหลักสูตร (English): Conductivity Meter Calibration
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Conductivity Meter
ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ
เจ้าหน้าที่ในห้องปฏิบัติการทดสอบ,สอบเทียบทางเคมี
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถสอบเทียบเครื่อง conductivity meter ได้
2. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด (ด้านฟิสิกส์)
2. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
3. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel
4. มีความรู้และประสบการณ์ในงานสอบเทียบทางด้านเคมี
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรมประกอบด้วย
2.1 เครื่อง conductivity meter
2.2 Standard resistor (decade, calibration kit)
2.3 สารละลายมาตรฐาน
2.4 น้ากลั่น
3. คอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ
เนื้อหาหลักสูตร
1. ทฤษฎีเบื้องต้นของการวัดค่า conductivity
2. ความสามารถในการสอบกลับได้
3. องค์ประกอบของเครื่อง conductivity meter
4. วิธีการสอบเทียบเครื่อง conductivity meter
5. วิธีการคานวณค่าความไม่แน่นอนของการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
7
ชื่อหลักสูตร (English): Refractometer Calibration
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องวัดความหวาน
ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ
ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถเข้าใจหลักการสอบเทียบเครื่อง Refractometer
2. ประเมินค่าความไม่แน่นอนในการสอบเทียบเครื่อง Refractometer ได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel
2. มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ทฤษฎี หลักการ วิธีการสอบเทียบเครื่อง Refractometer
2. คอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ
เนื้อหาหลักสูตร
1. หลักการวัดค่า brix และ refractive index
2. การสอบเทียบเครื่อง Refractometer
3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการสอบเทียบเครื่อง Refractometer
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
8
ชื่อหลักสูตร (English): Metrological traceability of measurement results in Chemistry
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี
ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ
1. นักเคมีในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี
2. นักวิจัย คณาจารย์จากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานภาคการวิจัย
3. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถเข้าใจความหมายของการสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี
2. บอกความสาคัญของการสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี
3. สามารถอธิบายการสอบกลับได้ของผลการวัดในห้องปฏิบัติการของตัวเองได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย
2. ตัวอย่างภาพถ่าย
3. กรณีศึกษา
เนื้อหาหลักสูตร
1. ข้อกาหนดเกี่ยวกับความสอบกลับได้ของการวัดตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025
2. หน่วยวัด เอสไอ (SI based units)
3. หลักฐานที่แสดงความสอบกลับได้ของการวัด
4. การแปลผลใบรับรองของวัสดุอ้างอิง/วัสดุอ้างอิงรับรอง
5. การเขียน metrological traceability chain ตาม IUPAC Technical report (2011)
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
9
ชื่อหลักสูตร (English): Calibration of Gas Detector
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องตรวจจับก๊าซ
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ
1. ห้องปฏิบัติการที่ต้องควบคุมคุณภาพอากาศในการทางาน
2. ภาคอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังก๊าซพิษ และก๊าซติดไฟ หรือบริเวณอับอากาศ อาทิ โรงงานสารเคมี
กลุ่มงานปิโตรเคมี สถานที่เก็บก๊าซ อุโมงค์เหมืองแร่ เป็นต้น
3. บริษัทผู้ผลิตและจาหน่ายเครื่องมือตรวจจับก๊าซ ที่ต้องสอบเทียบเครื่องมือตรวจจับก๊าซ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้สามารถสอบเทียบเครื่องมือตรวจจับก๊าซได้ตามหลักการด้านมาตรวิทยา
2. เพื่อให้สามารถเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐานได้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน
3. เพื่อให้ทราบวิธีการประมาณค่าความไม่แน่นอนเบื้องต้น เพื่อนาไปประยุกต์กับงานวิเคราะห์ได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
2. การใช้โปรแกรม Excel
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย
2. ตัวอย่างภาพถ่าย
3. กรณีศึกษา
เนื้อหาหลักสูตร
1. เครื่องตรวจจับก๊าซและการใช้งาน
2. หลักการเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐาน
3. หลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
4. วิธีการสอบเทียบและการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
5. การสอบกลับได้ของผลการวัด
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
10
ชื่อหลักสูตร (English): Determination of the composition of gas mixtures
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การวิเคราะห์ปริมาณองค์ประกอบในก๊าซผสม
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ
1. ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพอากาศ
2. ภาคอุตสาหกรรมที่ต้องควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ผ่านการวิเคราะห์องค์ประกอบก๊าซ
อาทิ กลุ่มปิโตรเคมี, กฝผ., ปตท. เป็นต้น
3. บริษัทผู้ผลิตและจาหน่ายก๊าซผสม
4. นักวิจัย คณาจารย์จากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานภาคการวิจัย
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบก๊าซได้ตามหลักการด้านมาตรวิทยา
2. เพื่อให้สามารถเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐานได้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน
3. เพื่อให้ทราบวิธีการประมาณค่าความไม่แน่นอนเบื้องต้นเพื่อนาไปประยุกต์กับงานวิเคราะห์ได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
2. การใช้โปรแกรม Excel
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย
2. ตัวอย่างภาพถ่าย
3. กรณีศึกษา
เนื้อหาหลักสูตร
1. หลักการวิเคราะห์ตามมาตรฐาน ISO 6143
2. หลักการเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐาน
3. หลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
4. แหล่งที่มาของความไม่แน่นอนของการวัด
5. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวัด
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
11
มาตรวิทยาไฟฟ้า
Electrical Metrology
12
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Digital Multimeters
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบดิจิทัลมัลติมิเตอร์
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
DC Voltage Standard, Resistance Standard, AC-DC transfer Standard, Capacitance
Standard, Frequency Standard และหรือ Multi–function Calibrator
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถสอบเทียบ 4-1/2 digit ถึง 6-1/2 digit Digital Multimeters โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรง
กับ Multi-function Calibrator ทุกฟังก์ชันได้
2. สามารถสอบเทียบ 8-1/2 digit Digital Multimeters โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มี
ค่าความถูกต้องที่สูงกว่าในแต่ละฟังก์ชันได้
3. รู้เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้ สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
4. สามารถเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure) ได้อย่างถูกต้อง
5. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรมประกอบด้วย
2.1 Multi-function Calibrator จานวน 3 เครื่อง
2.2 Digital Multimeters จานวน 3 เครื่อง
2.3 Resistance Standard จานวน 3 ตัว (100 ohm, 1 kOhm, 10 kOhm)
2.4 ชุดสายวัดที่เหมาะสม
เนื้อหาหลักสูตร
ภาคทฤษฎี
1. Digital Multimeters และ ความสามารถสอบกลับได้
2. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการสอบเทียบ
3. การใช้คู่มือของ Digital Multimeters และมาตรฐานที่ใช้สอบเทียบ
4. วิธีการสอบเทียบโดย
4.1 การเปรียบเทียบโดยตรงกับ Multi-function Calibrator ทุกฟังก์ชัน
4.2 การเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่าในแต่ละฟังก์ชัน
5. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ
6. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน
7. แนวทางการเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure)
8. การอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบ
ภาคปฏิบัติ
1. การสอบเทียบ Hand Held Digital Multimeters
2. การสอบเทียบ Bench Digital Multimeters
2. การสอบเทียบ Laboratory Digital Multimeters
หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
13
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Calibrator
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องสอบเทียบทางไฟฟ้า
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
AC-DC Voltage Standard, Resistance Standard, AC-DC Current Standard, Capacitance
Standard, Frequency Standard และหรือ 8-1/2 digit Digital Multimeter
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถสอบเทียบ Calibrator โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรงกับ 8-1/2digit Digital Multimeterทุกฟังก์ชันได้
2. สามารถสอบเทียบ Calibrator โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่า
ในแต่ละฟังก์ชันได้
3. รู้เทคนิคการวัด และผลกระทบต่อการวัดได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
5. สามารถเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure) ได้อย่างถูกต้อง
6. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรมประกอบด้วย
2.1 8-1/2 digit Digital Multimeter จานวน 3 เครื่อง 2.2 AC Measurement Standard จานวน 2 เครื่อง
2.3 DC Voltage Source จานวน 1 เครื่อง 2.4 Resistance Standard จานวน 3 เครื่อง
2.5 Process Calibrator จานวน 1 เครื่อง 2.6 Multi-Product Calibrator จานวน 2 เครื่อง
2.7 ชุดสายวัดที่เหมาะสม
เนื้อหาหลักสูตร
ภาคทฤษฎี
1. Calibrator และความสามารถสอบกลับได้
2. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการสอบเทียบ
3. การใช้คู่มือของ Calibrator และตัวมาตรฐานที่ใช้สอบเทียบ
4. วิธีการสอบเทียบโดย
4.3 การเปรียบเทียบโดยตรงกับ 8-1/2 digit Digital Multimeter ทุกฟังก์ชัน
4.2 การเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่าในแต่ละฟังก์ชัน
5. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ
6. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน
7. แนวทางการเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure)
8. การอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบ
ภาคปฏิบัติ
1. การสอบเทียบ Process Calibrator
2. การสอบเทียบ Multi-product Calibrator
หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
14
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of AC Power and Harmonics
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบกาลังไฟฟ้าและฮาร์มอนิกส์
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
แหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้ามาตรฐาน ได้แก่ V-A-W Source, Energy Source, Electrical Power Standard,
Wattmeter, Energy Meter และ Power Analyzer
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.สามารถสอบเทียบกาลังไฟฟ้าและฮาร์มอนิกส์ได้
2.สามารถประเมินความไม่แน่นอนของการวัดกาลังไฟฟ้าและฮาร์มอนิกส์ได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. การใช้เครื่องมือวัดกาลังไฟฟ้า
2. การใช้เครื่องมือวัดคุณภาพไฟฟ้า
3. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย
2.1 Electrical Power Standard จานวน 2 ชุด (Voltage : 1000 V, Current : 80 A, Power : 80 kW,
Frequency : 20 Hz up to 6 kHz Harmonics : 100 th)
2.2 Calibrator จานวน 1 เครื่อง (Voltage : 1000 V, Current : 20, Power : 20 kW)
2.3 Precision Power Analyzer จานวน 1 เครื่อง และ Digital Power Meter จานวน 2 เครื่อง
(1000V, 30 A, Harmonic : 40th)
เนื้อหาหลักสูตร
1. พื้นฐานกาลังไฟฟ้า ฮาร์มอนิกส์ และความสามารถสอบกลับได้
2. วิธีการวัดกาลังไฟฟ้า และฮาร์มอนิกส์
3. ทฤษฎีและปฏิบัติ
3.1 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดกาลังไฟฟ้า แบบวัดตรง
(Direct Measurement Method)
3.2 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดกาลังไฟฟ้า โดยวิธีเปรียบเทียบ
(Comparison Measurement Method)
3.3 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดฮาร์มอนิกส์
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
15
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Capacitance and Inductance by Using LCR Meter
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบและการใช้งานเครื่องมือวัด LCR Meter
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี LCR Meter
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. รู้และเข้าใจพื้นฐานการวัด LCR Meter และสามารถนาไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้งานได้
2. สามารถคานวณหาค่าความถูกต้องและความไม่แน่นอนของการวัดได้
3. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบตามมาตรฐาน
4. สามารถบอกค่าผลการวัดจากใบรับรองการสอบเทียบ
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. มาตรวิทยาเบื้องต้น
2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
3. เป็นผู้ใช้งาน LCR Meter
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการความจุและความเหนี่ยวนาไฟฟ้า ได้แก่
2.1 LCR Meter จานวน 3 เครื่อง
2.2 Standard Inductor จานวน 3 ตัว
2.3 Standard Capacitor จานวน 3 ตัว
เนื้อหาหลักสูตร
1. มาตรฐานและการสอบกลับได้
2. หลักการและทฤษฎี
3. การวิเคราะห์ข้อกาหนด (specification) ของเครื่องมือ
4. วิธีการสอบเทียบตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนา โดยใช้เครื่องมือ LCR Meter (ทฤษฎีและปฏิบัติ)
4.1 Direct Measurement
4.2 Measurement Circuit Mode
4.3 Terminal Configuration
4.4 Measurement error and compensation
5. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการสอบเทียบเครื่องมือ LCR Meter
6. การรายงานผลและความไม่แน่นอนของการวัด
7. การประเมินและวิเคราะห์ผลการวัด
8. การบารุงและรักษาเครื่องมือ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
16
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of AC–DC Transfer Standard
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบมาตรฐานสาหรับวัดค่าความแตกต่างถ่ายเทระหว่างไฟฟ้ากระแสสลับ
และไฟฟ้ากระแสตรง
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
Thermal Converter, AC/DC Transfer Standard, AC Current Shunt หรือ AC–DC Transfer Standard
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถสอบเทียบ AC–DC transfer standard
2. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
3. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบตามมาตรฐาน
4. สามารถบอกค่าผลการวัดจากใบรับรองการสอบเทียบ
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. มาตรวิทยาเบื้องต้นการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ
2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย
2.1 AC-DC Transfer Standard เช่น Thermal Converter, AC/DC Transfer Standard,
AC Current Shunt จานวน 5 เครื่อง
2.2 AC Source / DC Source จานวน 5 เครื่อง
2.3 Digital Multimeter จานวน 5 เครื่อง
เนื้อหาหลักสูตร
1. หลักการเบื้องต้น
1.1 ประวัติความเป็นมาของหน่วยวัดโวลต์ (Volt) และแอมแปร์ (Ampere)
1.2 การวัด AC-DC Transfer Difference
1.3 ความสามารถสอบกลับได้ของการวัด
1.4 มาตรฐานการวัด AC-DC Transfer Standard
1.5 เครื่องมือสาหรับวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ
1.6 ปริมาณที่จะทาการวัด AC-DC Transfer Difference
1.7 การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ
2. ทฤษฎีและปฏิบัติ
2.1 การสอบเทียบ AC-DC Voltage Transfer Difference
2.2 การสอบเทียบ AC-DC Current Transfer Difference
3. การอ่านผลจากใบรับรองการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
17
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Frequency Measurement
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบด้านความถี่
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
Frequency Source และ Frequency Meter ได้แก่ Oscilloscope, Frequency Counter, Quartz
Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard และ Stop-Watch
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและพื้นฐานการสอบเทียบความถี่
2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับความถี่
3. สามารถสอบเทียบมาตรฐานด้านความถี่ได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดและวิเคราะห์ผลการสอบเทียบได้
5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบความถี่ได้
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ รายการใดรายการหนึ่ง ได้แก่ Frequency Counter,
Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard,
Oscilloscope หรือ Signal Generator
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้พื้นฐานทางด้านการวัดความถี่
2. ความรู้พื้นฐานสาหรับการสอบเทียบความถี่
3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบมาตรฐานความถี่
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
18
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Frequency Source Measurement
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Frequency Source Measurement
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
Frequency Source ได้แก่ Oscilloscope, Frequency Counter, Quartz Oscillator, Rubidium
Frequency Standard และ Caesium Frequency Standard
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Frequency Source
2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ Frequency Source
3. สามารถสอบเทียบ Frequency Source ได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดและการสอบเทียบได้
5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ รายการใดรายการหนึ่ง ได้แก่ Frequency Counter,
Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard,
Oscilloscope หรือ Signal Generator
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้พื้นฐานทางด้านการวัด Frequency Source
2. การสอบเทียบ Frequency Source
3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
19
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Time Interval
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Time Interval
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
Frequency Source และ Frequency Meter ได้แก่ Oscilloscope, Frequency Counter, Quartz
Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard และ
Stop-Watch
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบเวลาและความถี่
2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดด้านเวลาและความถี่
3. สามารถสอบเทียบแบบคาบเวลา (Time Interval) ได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดแบบคาบเวลาได้
5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบแบบคาบเวลาได้
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ รายการใดรายการหนึ่ง ได้แก่ Frequency Counter,
Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard,
Oscilloscope หรือ Signal Generator,
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้ทางด้านการวัดความถี่
2. หลักการของ Rise time, Fall Time, Period Measurement, Phase Measurement
3. การสอบเทียบ Stopwatch, Tachometer และ Timer
4. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
20
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Oscilloscope
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบออสซิลโลสโคป
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
1. บุคคลทั่วไป นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจการใช้งาน oscilloscope
2. เจ้าหน้าที่ทดสอบและสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Oscilloscopes
2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ Oscilloscopes
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณและฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้ทางด้านการวัด Oscilloscope
2. การสอบเทียบ Oscilloscope : ทฤษฎีและปฏิบัติ
3. แนวทางการทวนสอบเครื่องมือ oscilloscope
4. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ
Scientific Calculator
21
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Standard Signal Generator
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Standard Signal Generator
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
1. Time Secondary standards : Caesium Frequency Standard, Rubidium Frequency
Standard, Quartz Oscillators, GPS Disciplined Oscillator
2. RF Power standards : RF Power Sensors + RF Power meter
3. เครื่องส่งสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ ไมโครเวฟ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Standard Signal Generator
2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ Standard Signal Generator
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้ทางด้านการวัด Standard Signal Generator
2. การสอบเทียบ Standard Signal Generator : ทฤษฎีและปฏิบัติ
3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
22
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of RF Power Sensor & Power Meter
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การใช้งานและการสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
1. Thermistor Mount หรือ
2. RF Power Sensor & Power Meter
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและการใช้งาน รวมถึงทฤษฎีการสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter
2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ RF Power Sensor & Power Meter
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้ทางด้านการวัด RF Power Sensor & Power Meter
2. การสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter
3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
23
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Energy Meter
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่
ต้องการสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า (Energy Meter) โดยใช้แหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้าและพลังงาน
ไฟฟ้ามาตรฐาน เช่น Electrical Power Standard
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดที่มี pulse outputได้
2. สามารถสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดที่ไม่มี pulse outputได้
3. สามารถประเมินความไม่แน่นอนของการวัดพลังงานไฟฟ้าได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. การสอบเทียบเครื่องมือวัดกาลังไฟฟ้า
2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย
2.1 Electrical Power Standard จานวน 2 ชุด
(Voltage : 1000 V, Current : 50 A, Power : 50 kW, Frequency : 50 Hz to 60 Hz)
2.2 Comparator – มี pulse output จานวน 1 เครื่อง (480V, 50 A,)
2.3 Precision Power Analyzer - ไม่มี pulse output จานวน 1 เครื่อง (1000V, 30 A,)
2.4 Universal Counter จานวน 1 เครื่อง
เนื้อหาหลักสูตร
1. พื้นฐานกาลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และความสามารถสอบกลับได้
2. วิธีการวัดกาลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
3. ทฤษฎีและปฏิบัติ
3.1 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดมี pulse output
3.2 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดไม่มี pulse output
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
24
ชื่อหลักสูตร (English): High voltage measurement techniques
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): เทคนิคการวัดด้านไฟฟ้าแรงสูง
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ
หน่วยงานที่มีเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง เช่น High voltage divider, High voltage meter
และ High voltage source เป็นต้น
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรง
(direct method)
2. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูงโดยวิธีการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานที่
มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่า (comparison method)
3. เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
5. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติประกอบด้วย
2.1 High voltage divider 2.2 High voltage meter
2.3 High voltage source 2.4 Digital multi-meter or measuring device
เนื้อหาหลักสูตร
ภาคทฤษฎี
1. ความรู้พื้นฐานการวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง (DC high voltage, AC high voltage และ Impulse
high voltage )
2. มาตรฐาน IEC 60060 และ ความสามารถสอบกลับได้ (Traceability)
3. วิธีการสอบเทียบระบบการวัด
3.1 DC high voltage
3.2 AC high voltage
3.3 Impulse high voltage
4. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ
5. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน
ภาคปฏิบัติ
1. การสอบเทียบระบบการวัด DC high voltage
2. การสอบเทียบระบบการวัด AC high voltage
3. การสอบเทียบระบบการวัด Impulse high voltage
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ
Scientific Calculator
25
ชื่อหลักสูตร (English): Calibration of High Voltage measuring devices
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
เครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง เช่น High voltage divider, High voltage meter และ High
voltage source เป็นต้น
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรง (direct
method)
2. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูงโดยวิธีการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานที่
มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่า (comparison method)
3. เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้
4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
5. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ควรมี*
1. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
2. ทฤษฎีไฟฟ้าแรงดันสูงเบื้องต้น
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติประกอบด้วย
2.1 High voltage divider 2.2 High voltage meter
2.3 High voltage source 2.4 Digital multi-meter or measuring device
เนื้อหาหลักสูตร
ภาคทฤษฎี
1. ความรู้พื้นฐานการวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง (DC high voltage, AC high voltage และ Impulse
high voltage)
2. มาตรฐาน IEC 60060 และ ความสามารถสอบกลับได้ (Traceability)
3. วิธีการสอบเทียบระบบการวัด
3.1 DC high voltage
3.2 AC high voltage
3.3 Impulse high voltage
4. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ
5. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน
ภาคปฏิบัติ
1. การสอบเทียบระบบการวัด DC high voltage
2. การสอบเทียบระบบการวัด AC high voltage
3. การสอบเทียบระบบการวัด Impulse high voltage
หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่อง
คานวณ Scientific Calculator
26
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Network Analyzer
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Network Analyzer
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
1. บุคคลทั่วไป นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจการใช้งาน Network Analyzer
2. เจ้าหน้าที่ทดสอบและสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการทางานพื้นฐานของ Network Analyzer
2. สามารถสอบเทียบและประเมินค่าความไม่แน่นอนพื้นฐานของเครื่องมือ Network Analyzer
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณและฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
เนื้อหาหลักสูตร
1. หลักการทางานพื้นฐาน
2. วิธีการใช้เครื่องมือ Network Analyzer กรณี 1 พอร์ต และ 2 พอร์ต
3. การสอบเทียบ Network Analyzer : ทฤษฎีและปฏิบัติ
4. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ
Scientific Calculator
27
ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Laser Power Meter
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Laser Power Meter
ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
1. บุคคลทั่วไป นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจการใช้งาน laser power meter
2. เจ้าหน้าที่ทดสอบและสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัดทางด้านกาลังเลเซอร์
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Laser Power
2. เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้
3. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้
4. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณและฝึกปฏิบัติ
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้ทางด้านการวัด laser power
2. การสอบเทียบ laser power : ทฤษฎีและปฏิบัติ
3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ
Scientific Calculator
28
ชื่อหลักสูตร (English): Calibration of Power Quality Analyzers (Harmonics and Flicker)
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (Harmonics and Flicker)
ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน
หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี
1. เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่ต้องการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (Harmonics and Flicker)
2. วิศวกร/เจ้าหน้าที่อาคารที่ทาหน้าที่ดูแลระบบไฟฟ้า
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้เข้าใจหลักการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker)
2. เพื่อให้เข้าใจหลักการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and
flicker)
3. เพื่อให้สามารถสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker) ได้
*ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี*
1. ความรู้พื้นฐานด้านไฟฟ้ากาลัง
2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด
สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้
1. เอกสารบรรยาย
2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม
- Electrical Power and Power Quality Standard
- Precision Power Analyzer
- Digital Power Meter
- Three phase portable working standard and PQ analyzer
เนื้อหาหลักสูตร
1. พื้นฐานคุณภาพไฟฟ้าและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
2. หลักการของการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker)
3. หลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด
4. ฝึกปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker) - workshop
หมายเหตุ
สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ
Scientific Calculator
29
มาตรวิทยาเชิงกล
Mechanical metrology
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT
Training Course NIMT

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
Thepsatri Rajabhat University
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
พัน พัน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
 
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
Kritat Kantiya
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
Terapong Piriyapan
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
Chakkrawut Mueangkhon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
Katewaree Yosyingyong
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
เทวัญ ภูพานทอง
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
Chemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theoryChemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theory
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 

What's hot (20)

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Chemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theoryChemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theory
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 

More from NIMT

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)
NIMT
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
NIMT
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
NIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
NIMT
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityNIMT
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีNIMT
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemNIMT
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque StandardsNIMT
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsNIMT
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...NIMT
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud ComputingNIMT
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศNIMT
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleNIMT
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าNIMT
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยNIMT
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 NIMT
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 NIMT
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยNIMT
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]NIMT
 

More from NIMT (20)

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
 

Training Course NIMT

  • 2. ก Training Course NIMT ผู้เรียบเรียง : นางสาวสร้อยอารดา อินทรพรหม ผู้ออกแบบปกหน้า-หลัง : นางสาวคุณากร จันทร์ไพศรี จัดทาเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ : 5 กันยายน 2561 จานวนเนื้อหา : 97 หน้า หมายเหตุ : สถาบันฯ ขอสงวนสิทธ์ในการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด เนื้อหาหลักสูตร โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
  • 3. ข คานา การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการวัด วิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบ มีบทบาท สาคัญในการเพิ่มขีดความสามารถแก่บุคลากร สาหรับภาคเอกชนและภาครัฐ ทางกลุ่มงานพัฒนา ธุรกิจ (อบรม) จึงจัดทาหนังสือเล่มนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นข้อมูลให้กับผู้ที่ต้องการเข้า รับการฝึกอบรมกับสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ โดยประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากหนังสือเล่มนี้ เพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้ที่ต้องการเข้ารับการฝึกอบรม นาไปพิจารณาก่อนการฝึกอบรมให้เตรียม ความพร้อมและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้เรียบเรียง นักมาตรวิทยา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาหนังสือเล่มนี้ ที่ได้สละ เวลาให้ข้อมูลความรู้ ร่วมออกแบบและจัดทาและหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะให้ความรู้และเป็น ประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้เรียบเรียงขอรับไว้ด้วยความ ขอบพระคุณยิ่ง นางสาวสร้อยอารดา อินทรพรหม 5 กันยายน 2561
  • 4. ค บริการด้านอบรมและการให้คาปรึกษา หลักสูตรมาตรวิทยาประจาปี ณ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ลงทะเบียนฝึกอบรมออนไลน์ได้ที่ http://training.nimt.or.th/OnlineRegister/ เกณฑ์การได้รับใบวุฒิบัตร 1. แบบทดสอบก่อนฝึกอบรม 2. เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลารวม 3. แบบประเมินความพึงพอใจหลังการฝึกอบรมเสร็จสิ้น 4. แบบทดสอบหลังฝึกอบรม และมีผลทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 บริการอบรมนอกสถานที่ ณ สถานประกอบการ Download แบบคาขอใช้บริการได้ที่ http://training.nimt.or.th >> บริการฝึกอบรม In-house Training - แบบคาขอใช้บริการ In-house Training หมายเหตุ 1. ค่าใช้จ่ายรวม: วิทยากร เอกสารประกอบการฝึกอบรม และใบรับรองการฝึกอบรม 2. ผู้ใช้บริการรับผิดชอบ: ค่าเดินทาง และที่พักของวิทยากร - In-house Training Requisition Form (in English) หมายเหตุ 1. This cost includes lecturer fee, training materials and certificate. 2. All travel expenses of participant(s) and lecturer(s) including accommodation and full board will be taken care by customer. เกณฑ์การได้รับใบวุฒิบัตร 2. แบบทดสอบก่อนฝึกอบรม 3. เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลารวม 4. แบบประเมินความพึงพอใจหลังการฝึกอบรมเสร็จสิ้น 5. แบบทดสอบหลังฝึกอบรม และมีผลทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - แบบคาขอใช้บริการบรรยายวิชาการ หมายเหตุ 1. ค่าใช้จ่ายรวม: วิทยากร 2. ผู้ใช้บริการรับผิดชอบ: ค่าเดินทาง ที่พักของวิทยากร และการสาเนา เอกสารประกอบการบรรยาย - แบบขอรับบริการคาปรึกษาด้านมาตรวิทยา หมายเหตุ ผู้ใช้บริการรับผิดชอบ : ค่าเดินทาง อาหาร และที่พักของวิทยากร
  • 5. ง สารบัญ หลักสูตร หน้า 1. มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 1 1.1 การประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัดในการวิเคราะห์ทางเคมี (EMU) ...................... 2 1.2 การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัดทางเคมี (AMV) ............................................................. 3 1.3 การสอบเทียบเครื่องดูดจ่ายอัตโนมัติ .................................................................................. 4 1.4 การสอบเทียบ pH meter .................................................................................................. 5 1.5 การสอบเทียบ Conductivity Meter ................................................................................ 6 1.6 การสอบเทียบเครื่องวัดความหวาน .................................................................................... 7 1.7 การสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี ....................................................... 8 1.8 การสอบเทียบเครื่องตรวจจับก๊าซ ...................................................................................... 9 1.9 การวิเคราะห์ปริมาณองค์ประกอบในก๊าซผสม .................................................................. 10 2. มาตรวิทยาไฟฟ้า 11 2.1 การสอบเทียบดิจิทัลมัลติมิเตอร์ ……..........................................………………………………...... 12 2.2 การสอบเทียบเครื่องสอบเทียบทางไฟฟ้า ….........................................………………………..... 13 2.3 การสอบเทียบ AC Power and Harmonics ……….........................................…………....... 14 2.4 การสอบเทียบและการใช้งานเครื่องมือวัด LCR Meter ........................................……........ 15 2.5 การสอบเทียบมาตรฐานสาหรับวัดค่าความแตกต่างถ่ายเทระหว่างไฟฟ้ากระแสสลับและ ไฟฟ้ากระแสตรง ................................................................................................................. 16 2.6 การสอบเทียบความถี่ …………………….…………….....................................……………...…........ 17 2.7 การสอบเทียบ Frequency Source Measurement …....................................…............. 18 2.8 การสอบเทียบ Time Interval …………………….....................................…………...…............. 19 2.9 การสอบเทียบออสซิลโลสโคป …………………....................................……………...……............ 20 2.10 การสอบเทียบ Standard Signal Generator ……..……….................................................. 21 2.11 การใช้งานและการสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter ...............……........... 22 2.12 การสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า ………………………...........................................…........ 23 2.13 เทคนิคการวัดด้านไฟฟ้าแรงสูง ........................................................................................... 24 2.14 การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง ............................................................ 25 2.15 การสอบเทียบ Network Analyzer ................................................................................... 26 2.16 การสอบเทียบกาลังเลเซอร์ ................................................................................................. 27 2.17 การสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (Harmonics and Flicker) .................................... 28 3. มาตรวิทยาเชิงกล 29 3.1 การสอบเทียบเครื่อง Universal Testing Machine (UTM) ตามมาตรฐาน ISO7500-1: 2004 …………………………………............................................................…............................. 30 3.2 การวัดและทดสอบความแข็งเบื้องต้น ................................................................................. 31 3.3 การสอบเทียบ Rockwell Hardness Tester ตามมาตรฐาน ISO 6508-2 และ ASTM E18 ………………………………………........................................................................................ 32 3.4 การทา Intermediate check สาหรับเครื่องมือวัดแรงบิดมาตรฐาน ................................. 33 3.5 การสอบเทียบ Hand Torque Tools ตามมาตรฐาน ISO 6789:2017 ..…………..….......... 34
  • 6. จ สารบัญ (ต่อ) หลักสูตร หน้า 3.6 การสอบเทียบ Torque Wrench Calibrator ตามมาตรฐาน DAkkS-DKD-R 3-8: 2010 35 3.7 การสอบเทียบ Screwdriver Calibrator ………....................................…………………......... 36 3.8 การสอบเทียบ Torque Transducer ตามมาตรฐาน DIN 51039:2005 …………........….... 37 3.9 การสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานแรงบิดชนิด Weight & Beam ……...............………......... 38 3.10 การสอบเทียบ Torque Transfer Wrench ตามมาตรฐาน DKD R 3-7 …….........…......... 39 3.11 การสอบเทียบเครื่องมือวัดความดันขั้นพื้นฐาน ……………....................................…….......... 40 3.12 การทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดความดันและการนาไปใช้งาน .......................... 41 3.13 การสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านสุญญากาศ ......................................................................... 42 3.14 การทดสอบเครื่องมือวัดความดันโลหิตประเภทไม่ต้องเจาะเส้นเลือด ................................ 43 3.15 การสอบเทียบเครื่องมือวัดอัตราการไหลของของเหลว ....................................................... 44 3.16 การสอบเทียบตุ้มน้าหนักมาตรฐานตาม OIML R 111-1 และตุ้มน้าหนักขนาดใหญ่ .......... 45 3.17 การสอบเทียบเครื่องชั่งอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐาน UKAS LAB 14 ................................. 46 3.18 การสอบเทียบ Hydrometer ด้วยวิธี Cuckow (Hydrostatic Weighing) ........…............ 47 3.19 การสอบเทียบเครื่อง Density Meter (Benchtop Oscillation Type) ตามมาตรฐาน ISO15212-1:1998 ……………………….................................................................................. 48 4. มาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง 49 4.1 การสอบเทียบ Liquid in Glass Thermometer ……...................................….....……....... 50 4.2 การสอบเทียบ Digital Thermometer & Temperature Source …....................……..... 51 4.3 การสอบเทียบเทอร์โมคัปเปิลและตัวอ่านสาหรับเทอร์โมคัปเปิล …………………................... 52 4.4 การสอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์ความต้านทานแพลทินัม …......................................……......... 53 4.5 การสอบเทียบ Infrared Thermometer (หลักสูตร 3 วัน) ..................................……....... 54 4.6 การสอบเทียบ Infrared Thermometer (หลักสูตร 2 วัน) ..................................……....... 55 4.7 การใช้งานเทอร์โมมิเตอร์แบบแผ่รังสีอย่างถูกวิธี ………...................................……....…........ 56 4.8 การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางความชื้นในอากาศ ………...................................………......... 57 4.9 การสอบเทียบ Climatic Chamber ตามมาตรฐาน DKD-R 5-7 ….................................... 58 4.1 การสอบเทียบมาตรรังสียูวี ……………………..................................………………………….......... 59 4.11 การทวนสอบหลอดรังสียูวีด้วยมาตรรังสียูวี ………..................................…….………............. 60 4.12 การสอบเทียบและการประยุกต์ใช้ไพรานอมิเตอร์ ………...............................………............. 61 4.13 การสอบเทียบมาตรความสว่าง ……….....................................................…….………............. 62 4.14 การคานวณค่าสีและการประเมินความไม่แน่นอนทางการวัดสี ..............…….………............. 63 5. มาตรวิทยามิติ 64 5.1 การใช้งานและประยุกต์ใช้เลเซอร์อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์ ……..................................….......... 65 5.2 การสอบเทียบความเรียบของโต๊ะระดับ .............................................................................. 66 5.3 การขัดผิวหน้าและบารุงรักษาคุณภาพของเกจบล็อก ......................................................... 67 5.4 หลักการใช้งานและบารุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดด้านมิติ ............................................... 68
  • 7. ฉ สารบัญ (ต่อ) หลักสูตร หน้า 5.5 หลักการสาคัญและการตรวจสอบ GD&T ด้วยเครื่องมือวัดขั้นสูง ....................................... 69 5.6 การสอบเทียบ Thread Ring Gauge และ Thread Plug Gauge ……................…............ 70 5.7 การสอบเทียบไมโครมิเตอร์และเวอร์เนียคาร์ลิปเปอร์ด้วยเกจบล็อก .................................. 71 5.8 วิธีการใช้เกจล็อกมาตรฐานในการสอบเทียบไมโครมิเตอร์ตามมาตรฐาน JIS B 7502 : 1994 และการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด ........................................................ 72 5.9 การสอบเทียบ Dial Gauge และ Dial Test Indicator ตามมาตรฐานญี่ปุ่น (JIS B7503 : 2011, JIS B7533 : 2015) ….............................................................................................. 73 5.1 การสอบเทียบและการประเมินค่าความไม่แน่นอนในการสอบเทียบ Dial Gauge Tester 74 5.11 หลักการใช้งานเครื่องวัดความหยาบตามมาตรฐานสากล ................................................... 75 5.12 การประเมินค่าความไม่แน่นอนในการวัดขนาดวัสดุนาโนด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน แบบส่องกราด ..................................................................................................................... 76 5.13 การสอบเทียบเกจบล็อกด้วยวิธีการวัดเปรียบเทียบเชิงกล และการประเมินความไม่แน่นอน . 77 5.14 หลักเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทางขนาดและเรขาคณิต (GD&T) ระดับ 1 ........................... 78 5.15 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของซีเอ็มเอ็มตามมาตรฐาน ISO/TS 23165 ..................... 79 5.16 การทวนสอบซีเอ็มเอ็มตามมาตรฐาน ISO 10360-2, ISO 10360-5 .................................. 80 5.17 หลักการใช้งานเครื่องวัดความกลม (Roundness measuring instrument) ตาม มาตรฐานสากล ................................................................................................................... 81 6. เสียงและการสั่นสะเทือน 6.1 การใช้งานเครื่องมือวัดด้านเสียงและการพิจารณาค่าในใบรายงานผลการสอบเทียบ …...... 83 7. ระบบคุณภาพ 84 7.1 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด ……..…....................................………………........ 85 7.2 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดสาหรับทดสอบ ................................................. 86 7.3 การประเมินค่าความไม่แน่นอนของเครื่องมือวัดทางด้านมิติ .............................................. 87 7.4 ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025:2005(E) ............................................. 88 7.5 ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025:2017(E) ............................................. 89 7.6 การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ …………............................................ 90 7.7 ความเข้าใจและการตีความใบรับรองผลการสอบเทียบ ....................................................... 91 7.8 ระบบควบคุมเครื่องมือวัดตามข้อกาหนด ISO 9001 (2015) ISO 17025 (2005) ISO 14001 (2015) ISO 18001 (2011) ................................................................................... 92 7.9 การแปลความและประยุกต์ใช้ใบรายงานผลการสอบเทียบเพื่อควบคุมคุณภาพ ................. 93 ภาคผนวก ผู้อนุเคราะห์ข้อมูลและร่วมจัดทา 94
  • 9. 2 ชื่อหลักสูตร (English): Estimation of Measurement Uncertainty in Chemical Analysis ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัดในการวิเคราะห์ทางเคมี (EMU) ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ นักเคมีในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. มีความเข้าใจความสาคัญและกระบวนการของ Measurement Uncertainty ในการวัดทางเคมี 2. สามารถบอกหลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 3. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับงานของตนได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ 2. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel 3. มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์ สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ทฤษฎี หลักการ วิธีการและฝึกปฏิบัติการประเมินค่าความไม่แน่นอน 2. คอมพิวเตอร์ ในการฝึกปฏิบัติ เนื้อหาหลักสูตร 1. Introduction to Course / Course Methodology / ระบบมาตรวิทยา /แนะนาฝ่ายมาตรวิทยา เคมีและชีวภาพ 2. Revision of useful statistics for estimation of measurement uncertainty 3. กระบวนการประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด 4. Reporting of measurement uncertainty and exercise (workshop) 5. การประมาณค่าความไม่แน่นอนจากกราฟมาตรฐาน 6. ตัวอย่างการประมาณค่าความไม่แน่นอน 7. การประมาณค่าความไม่แน่นอนของ Recovery / Bias 8. Workshop การประมาณความไม่แน่นอนของการวัดทางเคมี หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 10. 3 ชื่อหลักสูตร (English): Analytical Method Validation ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัดทางเคมี (AMV) ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ นักเคมีในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. มีความเข้าใจความสาคัญและกระบวนการของ Method Validation ในการวัดทางเคมี 2. สามารถบอกหลักการทา Method Validation ได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ 2. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel 3. มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์ สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยายทฤษฎี หลักการ และวิธีการทา Method Validation 2. คอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ เนื้อหาหลักสูตร 1. Introduction to method validation 2. Revision of useful statistics for method validation 3. Revision of useful statistics for method validation (workshop) 4. Key performance characteristics for method validation - Selectivity - Linearity and working range - Analytical Sensitivity - Trueness - Precision - Limit Of Detection (LOD) and Limit Of Quantitation (LOQ) - Ruggedness and Robustness - Measurement uncertainty 5. Key performance characteristics for method validation (workshop) หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 11. 4 ชื่อหลักสูตร (English): Piston Pipette Calibration ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องดูดจ่ายอัตโนมัติ ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มีเครื่องมือดังต่อไปนี้ 1. เครื่องชั่ง 2. Piston pipette 3. Thermometer 4. Digital Barometer 5. นาฬิกาจับเวลา 6. ภาชนะสาหรับใส่ของเหลว 7. ภาชนะสาหรับชั่ง 8. น้ากลั่น วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถบอกหลักการสอบเทียบตามมาตรฐาน ISO 8655-6 ได้ 2. สามารถสอบเทียบ Piston Pipette ชนิด Air Displacement ได้ 3. สามารถทาการตรวจสอบระหว่างการใช้งานได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. มีพื้นฐานการใช้งาน Piston Pipette 2. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย 2.1 เครื่องชั่ง 2.2 Piston pipette 2.3 Thermometer 2.4 Digital Barometer 2.5 นาฬิกาจับเวลา 2.6 ภาชนะสาหรับใส่ของเหลว 2.7 ภาชนะสาหรับชั่ง 2.8 น้ากลั่น เนื้อหาหลักสูตร 1. ชนิดของ Piston Pipette ตามมาตรฐาน ISO 8655 2. ข้อกาหนดการสอบเทียบตามมาตรฐาน ISO 8655-6 3. การสอบเทียบ Piston Pipette 4. เกณฑ์การทา Intermediate Check 5. การคานวณผลการสอบเทียบ 6. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด 7. การรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 12. 5 ชื่อหลักสูตร (English): pH Meter Calibration ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ pH meter ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มีเครื่องมือดังต่อไปนี้ 1. pH Meter 2. Calibrator 3. สารละลายมาตรฐานบัฟเฟอร์ 4. Digital Barometer 5. นาฬิกาจับเวลา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถบอกถึงความสาคัญของการวัดค่า pH ได้ 2. สามารถบอกถึงองค์ประกอบการใช้และการบารุงรักษาเครื่อง pH Meter ได้ 3. สามารถสอบเทียบ pH Meter ตามวิธีมาตรฐาน ได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. มีพื้นฐานการใช้งาน pH Meter มาก่อน 2. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย 2.1 pH Meter 2.2 Calibrator 2.3 สารละลายมาตรฐานบัฟเฟอร์ 2.3 Digital Barometer 2.5 นาฬิกาจับเวลา เนื้อหาหลักสูตร 1. ทฤษฎีเบื้องต้นของการวัดค่า pH 2. ความสาคัญของการวัดค่า pH 3. ความสามารถสอบกลับได้และมาตรวิทยาสาหรับการวัดค่า pH 4. วิธีมาตรฐานสาหรับการให้ค่าสารละลายมาตรฐาน 5. องค์ประกอบ การใช้และการบารุงรักษาเครื่อง pH Meter 6. การสอบเทียบ pH meter 7. การคานวณผลการสอบเทียบ 8. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด 9. การรายงานผลการสอบเทียบ และการใช้ประโยชน์จากใบรับรองผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 13. 6 ชื่อหลักสูตร (English): Conductivity Meter Calibration ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Conductivity Meter ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ เจ้าหน้าที่ในห้องปฏิบัติการทดสอบ,สอบเทียบทางเคมี วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถสอบเทียบเครื่อง conductivity meter ได้ 2. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด (ด้านฟิสิกส์) 2. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ 3. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel 4. มีความรู้และประสบการณ์ในงานสอบเทียบทางด้านเคมี สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรมประกอบด้วย 2.1 เครื่อง conductivity meter 2.2 Standard resistor (decade, calibration kit) 2.3 สารละลายมาตรฐาน 2.4 น้ากลั่น 3. คอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ เนื้อหาหลักสูตร 1. ทฤษฎีเบื้องต้นของการวัดค่า conductivity 2. ความสามารถในการสอบกลับได้ 3. องค์ประกอบของเครื่อง conductivity meter 4. วิธีการสอบเทียบเครื่อง conductivity meter 5. วิธีการคานวณค่าความไม่แน่นอนของการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 14. 7 ชื่อหลักสูตร (English): Refractometer Calibration ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องวัดความหวาน ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถเข้าใจหลักการสอบเทียบเครื่อง Refractometer 2. ประเมินค่าความไม่แน่นอนในการสอบเทียบเครื่อง Refractometer ได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. การใช้ Function พื้นฐานใน Excel 2. มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์ สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ทฤษฎี หลักการ วิธีการสอบเทียบเครื่อง Refractometer 2. คอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ เนื้อหาหลักสูตร 1. หลักการวัดค่า brix และ refractive index 2. การสอบเทียบเครื่อง Refractometer 3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการสอบเทียบเครื่อง Refractometer หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 15. 8 ชื่อหลักสูตร (English): Metrological traceability of measurement results in Chemistry ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี ระยะเวลาฝึกอบรม 1 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ 1. นักเคมีในห้องปฏิบัติการทดสอบทางเคมี 2. นักวิจัย คณาจารย์จากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานภาคการวิจัย 3. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถเข้าใจความหมายของการสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี 2. บอกความสาคัญของการสอบกลับได้ทางมาตรวิทยาของผลการวัดทางเคมี 3. สามารถอธิบายการสอบกลับได้ของผลการวัดในห้องปฏิบัติการของตัวเองได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* มีความรู้และประสบการณ์ในงานเคมีวิเคราะห์ สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย 2. ตัวอย่างภาพถ่าย 3. กรณีศึกษา เนื้อหาหลักสูตร 1. ข้อกาหนดเกี่ยวกับความสอบกลับได้ของการวัดตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 2. หน่วยวัด เอสไอ (SI based units) 3. หลักฐานที่แสดงความสอบกลับได้ของการวัด 4. การแปลผลใบรับรองของวัสดุอ้างอิง/วัสดุอ้างอิงรับรอง 5. การเขียน metrological traceability chain ตาม IUPAC Technical report (2011) หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 16. 9 ชื่อหลักสูตร (English): Calibration of Gas Detector ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องตรวจจับก๊าซ ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ 1. ห้องปฏิบัติการที่ต้องควบคุมคุณภาพอากาศในการทางาน 2. ภาคอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังก๊าซพิษ และก๊าซติดไฟ หรือบริเวณอับอากาศ อาทิ โรงงานสารเคมี กลุ่มงานปิโตรเคมี สถานที่เก็บก๊าซ อุโมงค์เหมืองแร่ เป็นต้น 3. บริษัทผู้ผลิตและจาหน่ายเครื่องมือตรวจจับก๊าซ ที่ต้องสอบเทียบเครื่องมือตรวจจับก๊าซ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้สามารถสอบเทียบเครื่องมือตรวจจับก๊าซได้ตามหลักการด้านมาตรวิทยา 2. เพื่อให้สามารถเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐานได้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน 3. เพื่อให้ทราบวิธีการประมาณค่าความไม่แน่นอนเบื้องต้น เพื่อนาไปประยุกต์กับงานวิเคราะห์ได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด 2. การใช้โปรแกรม Excel สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย 2. ตัวอย่างภาพถ่าย 3. กรณีศึกษา เนื้อหาหลักสูตร 1. เครื่องตรวจจับก๊าซและการใช้งาน 2. หลักการเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐาน 3. หลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด 4. วิธีการสอบเทียบและการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด 5. การสอบกลับได้ของผลการวัด หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 17. 10 ชื่อหลักสูตร (English): Determination of the composition of gas mixtures ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การวิเคราะห์ปริมาณองค์ประกอบในก๊าซผสม ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ 1. ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพอากาศ 2. ภาคอุตสาหกรรมที่ต้องควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ผ่านการวิเคราะห์องค์ประกอบก๊าซ อาทิ กลุ่มปิโตรเคมี, กฝผ., ปตท. เป็นต้น 3. บริษัทผู้ผลิตและจาหน่ายก๊าซผสม 4. นักวิจัย คณาจารย์จากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานภาคการวิจัย วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบก๊าซได้ตามหลักการด้านมาตรวิทยา 2. เพื่อให้สามารถเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐานได้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน 3. เพื่อให้ทราบวิธีการประมาณค่าความไม่แน่นอนเบื้องต้นเพื่อนาไปประยุกต์กับงานวิเคราะห์ได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด 2. การใช้โปรแกรม Excel สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย 2. ตัวอย่างภาพถ่าย 3. กรณีศึกษา เนื้อหาหลักสูตร 1. หลักการวิเคราะห์ตามมาตรฐาน ISO 6143 2. หลักการเลือกใช้ก๊าซผสมมาตรฐาน 3. หลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด 4. แหล่งที่มาของความไม่แน่นอนของการวัด 5. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวัด หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 19. 12 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Digital Multimeters ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบดิจิทัลมัลติมิเตอร์ ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี DC Voltage Standard, Resistance Standard, AC-DC transfer Standard, Capacitance Standard, Frequency Standard และหรือ Multi–function Calibrator วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถสอบเทียบ 4-1/2 digit ถึง 6-1/2 digit Digital Multimeters โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรง กับ Multi-function Calibrator ทุกฟังก์ชันได้ 2. สามารถสอบเทียบ 8-1/2 digit Digital Multimeters โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มี ค่าความถูกต้องที่สูงกว่าในแต่ละฟังก์ชันได้ 3. รู้เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้ สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 4. สามารถเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure) ได้อย่างถูกต้อง 5. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรมประกอบด้วย 2.1 Multi-function Calibrator จานวน 3 เครื่อง 2.2 Digital Multimeters จานวน 3 เครื่อง 2.3 Resistance Standard จานวน 3 ตัว (100 ohm, 1 kOhm, 10 kOhm) 2.4 ชุดสายวัดที่เหมาะสม เนื้อหาหลักสูตร ภาคทฤษฎี 1. Digital Multimeters และ ความสามารถสอบกลับได้ 2. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการสอบเทียบ 3. การใช้คู่มือของ Digital Multimeters และมาตรฐานที่ใช้สอบเทียบ 4. วิธีการสอบเทียบโดย 4.1 การเปรียบเทียบโดยตรงกับ Multi-function Calibrator ทุกฟังก์ชัน 4.2 การเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่าในแต่ละฟังก์ชัน 5. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ 6. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน 7. แนวทางการเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure) 8. การอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบ ภาคปฏิบัติ 1. การสอบเทียบ Hand Held Digital Multimeters 2. การสอบเทียบ Bench Digital Multimeters 2. การสอบเทียบ Laboratory Digital Multimeters หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 20. 13 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Calibrator ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องสอบเทียบทางไฟฟ้า ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี AC-DC Voltage Standard, Resistance Standard, AC-DC Current Standard, Capacitance Standard, Frequency Standard และหรือ 8-1/2 digit Digital Multimeter วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถสอบเทียบ Calibrator โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรงกับ 8-1/2digit Digital Multimeterทุกฟังก์ชันได้ 2. สามารถสอบเทียบ Calibrator โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่า ในแต่ละฟังก์ชันได้ 3. รู้เทคนิคการวัด และผลกระทบต่อการวัดได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 5. สามารถเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure) ได้อย่างถูกต้อง 6. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรมประกอบด้วย 2.1 8-1/2 digit Digital Multimeter จานวน 3 เครื่อง 2.2 AC Measurement Standard จานวน 2 เครื่อง 2.3 DC Voltage Source จานวน 1 เครื่อง 2.4 Resistance Standard จานวน 3 เครื่อง 2.5 Process Calibrator จานวน 1 เครื่อง 2.6 Multi-Product Calibrator จานวน 2 เครื่อง 2.7 ชุดสายวัดที่เหมาะสม เนื้อหาหลักสูตร ภาคทฤษฎี 1. Calibrator และความสามารถสอบกลับได้ 2. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการสอบเทียบ 3. การใช้คู่มือของ Calibrator และตัวมาตรฐานที่ใช้สอบเทียบ 4. วิธีการสอบเทียบโดย 4.3 การเปรียบเทียบโดยตรงกับ 8-1/2 digit Digital Multimeter ทุกฟังก์ชัน 4.2 การเปรียบเทียบโดยตรงกับมาตรฐานที่มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่าในแต่ละฟังก์ชัน 5. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ 6. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน 7. แนวทางการเขียนขั้นตอนการสอบเทียบ (Calibration Procedure) 8. การอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบ ภาคปฏิบัติ 1. การสอบเทียบ Process Calibrator 2. การสอบเทียบ Multi-product Calibrator หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 21. 14 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of AC Power and Harmonics ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบกาลังไฟฟ้าและฮาร์มอนิกส์ ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี แหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้ามาตรฐาน ได้แก่ V-A-W Source, Energy Source, Electrical Power Standard, Wattmeter, Energy Meter และ Power Analyzer วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1.สามารถสอบเทียบกาลังไฟฟ้าและฮาร์มอนิกส์ได้ 2.สามารถประเมินความไม่แน่นอนของการวัดกาลังไฟฟ้าและฮาร์มอนิกส์ได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. การใช้เครื่องมือวัดกาลังไฟฟ้า 2. การใช้เครื่องมือวัดคุณภาพไฟฟ้า 3. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย 2.1 Electrical Power Standard จานวน 2 ชุด (Voltage : 1000 V, Current : 80 A, Power : 80 kW, Frequency : 20 Hz up to 6 kHz Harmonics : 100 th) 2.2 Calibrator จานวน 1 เครื่อง (Voltage : 1000 V, Current : 20, Power : 20 kW) 2.3 Precision Power Analyzer จานวน 1 เครื่อง และ Digital Power Meter จานวน 2 เครื่อง (1000V, 30 A, Harmonic : 40th) เนื้อหาหลักสูตร 1. พื้นฐานกาลังไฟฟ้า ฮาร์มอนิกส์ และความสามารถสอบกลับได้ 2. วิธีการวัดกาลังไฟฟ้า และฮาร์มอนิกส์ 3. ทฤษฎีและปฏิบัติ 3.1 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดกาลังไฟฟ้า แบบวัดตรง (Direct Measurement Method) 3.2 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดกาลังไฟฟ้า โดยวิธีเปรียบเทียบ (Comparison Measurement Method) 3.3 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดฮาร์มอนิกส์ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 22. 15 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Capacitance and Inductance by Using LCR Meter ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบและการใช้งานเครื่องมือวัด LCR Meter ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี LCR Meter วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเข้าใจพื้นฐานการวัด LCR Meter และสามารถนาไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้งานได้ 2. สามารถคานวณหาค่าความถูกต้องและความไม่แน่นอนของการวัดได้ 3. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบตามมาตรฐาน 4. สามารถบอกค่าผลการวัดจากใบรับรองการสอบเทียบ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. มาตรวิทยาเบื้องต้น 2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด 3. เป็นผู้ใช้งาน LCR Meter สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการความจุและความเหนี่ยวนาไฟฟ้า ได้แก่ 2.1 LCR Meter จานวน 3 เครื่อง 2.2 Standard Inductor จานวน 3 ตัว 2.3 Standard Capacitor จานวน 3 ตัว เนื้อหาหลักสูตร 1. มาตรฐานและการสอบกลับได้ 2. หลักการและทฤษฎี 3. การวิเคราะห์ข้อกาหนด (specification) ของเครื่องมือ 4. วิธีการสอบเทียบตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนา โดยใช้เครื่องมือ LCR Meter (ทฤษฎีและปฏิบัติ) 4.1 Direct Measurement 4.2 Measurement Circuit Mode 4.3 Terminal Configuration 4.4 Measurement error and compensation 5. การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการสอบเทียบเครื่องมือ LCR Meter 6. การรายงานผลและความไม่แน่นอนของการวัด 7. การประเมินและวิเคราะห์ผลการวัด 8. การบารุงและรักษาเครื่องมือ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 23. 16 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of AC–DC Transfer Standard ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบมาตรฐานสาหรับวัดค่าความแตกต่างถ่ายเทระหว่างไฟฟ้ากระแสสลับ และไฟฟ้ากระแสตรง ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี Thermal Converter, AC/DC Transfer Standard, AC Current Shunt หรือ AC–DC Transfer Standard วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถสอบเทียบ AC–DC transfer standard 2. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด 3. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบตามมาตรฐาน 4. สามารถบอกค่าผลการวัดจากใบรับรองการสอบเทียบ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. มาตรวิทยาเบื้องต้นการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ 2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย 2.1 AC-DC Transfer Standard เช่น Thermal Converter, AC/DC Transfer Standard, AC Current Shunt จานวน 5 เครื่อง 2.2 AC Source / DC Source จานวน 5 เครื่อง 2.3 Digital Multimeter จานวน 5 เครื่อง เนื้อหาหลักสูตร 1. หลักการเบื้องต้น 1.1 ประวัติความเป็นมาของหน่วยวัดโวลต์ (Volt) และแอมแปร์ (Ampere) 1.2 การวัด AC-DC Transfer Difference 1.3 ความสามารถสอบกลับได้ของการวัด 1.4 มาตรฐานการวัด AC-DC Transfer Standard 1.5 เครื่องมือสาหรับวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ 1.6 ปริมาณที่จะทาการวัด AC-DC Transfer Difference 1.7 การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ 2. ทฤษฎีและปฏิบัติ 2.1 การสอบเทียบ AC-DC Voltage Transfer Difference 2.2 การสอบเทียบ AC-DC Current Transfer Difference 3. การอ่านผลจากใบรับรองการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 24. 17 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Frequency Measurement ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบด้านความถี่ ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี Frequency Source และ Frequency Meter ได้แก่ Oscilloscope, Frequency Counter, Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard และ Stop-Watch วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการและพื้นฐานการสอบเทียบความถี่ 2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับความถี่ 3. สามารถสอบเทียบมาตรฐานด้านความถี่ได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดและวิเคราะห์ผลการสอบเทียบได้ 5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบความถี่ได้ *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ รายการใดรายการหนึ่ง ได้แก่ Frequency Counter, Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard, Oscilloscope หรือ Signal Generator เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรู้พื้นฐานทางด้านการวัดความถี่ 2. ความรู้พื้นฐานสาหรับการสอบเทียบความถี่ 3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบมาตรฐานความถี่ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 25. 18 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Frequency Source Measurement ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Frequency Source Measurement ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี Frequency Source ได้แก่ Oscilloscope, Frequency Counter, Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard และ Caesium Frequency Standard วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Frequency Source 2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ Frequency Source 3. สามารถสอบเทียบ Frequency Source ได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดและการสอบเทียบได้ 5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ รายการใดรายการหนึ่ง ได้แก่ Frequency Counter, Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard, Oscilloscope หรือ Signal Generator เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรู้พื้นฐานทางด้านการวัด Frequency Source 2. การสอบเทียบ Frequency Source 3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 26. 19 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Time Interval ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Time Interval ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี Frequency Source และ Frequency Meter ได้แก่ Oscilloscope, Frequency Counter, Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard และ Stop-Watch วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบเวลาและความถี่ 2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดด้านเวลาและความถี่ 3. สามารถสอบเทียบแบบคาบเวลา (Time Interval) ได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดแบบคาบเวลาได้ 5. สามารถออกใบรับรองผลการสอบเทียบแบบคาบเวลาได้ *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ รายการใดรายการหนึ่ง ได้แก่ Frequency Counter, Quartz Oscillator, Rubidium Frequency Standard, Caesium Frequency Standard, Oscilloscope หรือ Signal Generator, เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรู้ทางด้านการวัดความถี่ 2. หลักการของ Rise time, Fall Time, Period Measurement, Phase Measurement 3. การสอบเทียบ Stopwatch, Tachometer และ Timer 4. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 27. 20 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Oscilloscope ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบออสซิลโลสโคป ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี 1. บุคคลทั่วไป นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจการใช้งาน oscilloscope 2. เจ้าหน้าที่ทดสอบและสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Oscilloscopes 2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ Oscilloscopes *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* 1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ 2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณและฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรู้ทางด้านการวัด Oscilloscope 2. การสอบเทียบ Oscilloscope : ทฤษฎีและปฏิบัติ 3. แนวทางการทวนสอบเครื่องมือ oscilloscope 4. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ Scientific Calculator
  • 28. 21 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Standard Signal Generator ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Standard Signal Generator ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี 1. Time Secondary standards : Caesium Frequency Standard, Rubidium Frequency Standard, Quartz Oscillators, GPS Disciplined Oscillator 2. RF Power standards : RF Power Sensors + RF Power meter 3. เครื่องส่งสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ ไมโครเวฟ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Standard Signal Generator 2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ Standard Signal Generator *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรู้ทางด้านการวัด Standard Signal Generator 2. การสอบเทียบ Standard Signal Generator : ทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 29. 22 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of RF Power Sensor & Power Meter ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การใช้งานและการสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี 1. Thermistor Mount หรือ 2. RF Power Sensor & Power Meter วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการและการใช้งาน รวมถึงทฤษฎีการสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter 2. สามารถบ่งชี้ถึงค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดสาหรับ RF Power Sensor & Power Meter *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรู้ทางด้านการวัด RF Power Sensor & Power Meter 2. การสอบเทียบ RF Power Sensor & Power Meter 3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 30. 23 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Energy Meter ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่ ต้องการสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า (Energy Meter) โดยใช้แหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้าและพลังงาน ไฟฟ้ามาตรฐาน เช่น Electrical Power Standard วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดที่มี pulse outputได้ 2. สามารถสอบเทียบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดที่ไม่มี pulse outputได้ 3. สามารถประเมินความไม่แน่นอนของการวัดพลังงานไฟฟ้าได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. การสอบเทียบเครื่องมือวัดกาลังไฟฟ้า 2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม ประกอบด้วย 2.1 Electrical Power Standard จานวน 2 ชุด (Voltage : 1000 V, Current : 50 A, Power : 50 kW, Frequency : 50 Hz to 60 Hz) 2.2 Comparator – มี pulse output จานวน 1 เครื่อง (480V, 50 A,) 2.3 Precision Power Analyzer - ไม่มี pulse output จานวน 1 เครื่อง (1000V, 30 A,) 2.4 Universal Counter จานวน 1 เครื่อง เนื้อหาหลักสูตร 1. พื้นฐานกาลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และความสามารถสอบกลับได้ 2. วิธีการวัดกาลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า 3. ทฤษฎีและปฏิบัติ 3.1 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดมี pulse output 3.2 การสอบเทียบและการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดพลังงานไฟฟ้าชนิดไม่มี pulse output หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook
  • 31. 24 ชื่อหลักสูตร (English): High voltage measurement techniques ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): เทคนิคการวัดด้านไฟฟ้าแรงสูง ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับ หน่วยงานที่มีเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง เช่น High voltage divider, High voltage meter และ High voltage source เป็นต้น วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรง (direct method) 2. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูงโดยวิธีการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานที่ มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่า (comparison method) 3. เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 5. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติประกอบด้วย 2.1 High voltage divider 2.2 High voltage meter 2.3 High voltage source 2.4 Digital multi-meter or measuring device เนื้อหาหลักสูตร ภาคทฤษฎี 1. ความรู้พื้นฐานการวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง (DC high voltage, AC high voltage และ Impulse high voltage ) 2. มาตรฐาน IEC 60060 และ ความสามารถสอบกลับได้ (Traceability) 3. วิธีการสอบเทียบระบบการวัด 3.1 DC high voltage 3.2 AC high voltage 3.3 Impulse high voltage 4. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ 5. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน ภาคปฏิบัติ 1. การสอบเทียบระบบการวัด DC high voltage 2. การสอบเทียบระบบการวัด AC high voltage 3. การสอบเทียบระบบการวัด Impulse high voltage หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ Scientific Calculator
  • 32. 25 ชื่อหลักสูตร (English): Calibration of High Voltage measuring devices ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี เครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง เช่น High voltage divider, High voltage meter และ High voltage source เป็นต้น วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง โดยวิธีการเปรียบเทียบโดยตรง (direct method) 2. สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูงโดยวิธีการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานที่ มีค่าความถูกต้องที่สูงกว่า (comparison method) 3. เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้ 4. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 5. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ควรมี* 1. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด 2. ทฤษฎีไฟฟ้าแรงดันสูงเบื้องต้น สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติประกอบด้วย 2.1 High voltage divider 2.2 High voltage meter 2.3 High voltage source 2.4 Digital multi-meter or measuring device เนื้อหาหลักสูตร ภาคทฤษฎี 1. ความรู้พื้นฐานการวัดทางด้านไฟฟ้าแรงดันสูง (DC high voltage, AC high voltage และ Impulse high voltage) 2. มาตรฐาน IEC 60060 และ ความสามารถสอบกลับได้ (Traceability) 3. วิธีการสอบเทียบระบบการวัด 3.1 DC high voltage 3.2 AC high voltage 3.3 Impulse high voltage 4. การคานวณค่าที่ได้จากการสอบเทียบ 5. การคานวณหาค่าความไม่แน่นอน ภาคปฏิบัติ 1. การสอบเทียบระบบการวัด DC high voltage 2. การสอบเทียบระบบการวัด AC high voltage 3. การสอบเทียบระบบการวัด Impulse high voltage หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่อง คานวณ Scientific Calculator
  • 33. 26 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Network Analyzer ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Network Analyzer ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี 1. บุคคลทั่วไป นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจการใช้งาน Network Analyzer 2. เจ้าหน้าที่ทดสอบและสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการทางานพื้นฐานของ Network Analyzer 2. สามารถสอบเทียบและประเมินค่าความไม่แน่นอนพื้นฐานของเครื่องมือ Network Analyzer *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* 1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ 2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณและฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาหลักสูตร 1. หลักการทางานพื้นฐาน 2. วิธีการใช้เครื่องมือ Network Analyzer กรณี 1 พอร์ต และ 2 พอร์ต 3. การสอบเทียบ Network Analyzer : ทฤษฎีและปฏิบัติ 4. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ Scientific Calculator
  • 34. 27 ชื่อหลักสูตร (English): The Calibration of Laser Power Meter ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบ Laser Power Meter ระยะเวลาฝึกอบรม 3 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี 1. บุคคลทั่วไป นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจการใช้งาน laser power meter 2. เจ้าหน้าที่ทดสอบและสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัดทางด้านกาลังเลเซอร์ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการและทฤษฎีการสอบเทียบ Laser Power 2. เทคนิคการวัดและผลกระทบต่อการวัดได้ 3. สามารถประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ 4. สามารถอ่านใบรายงานผลการสอบเทียบได้ *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* 1. ความรู้พื้นฐานทางสถิติ 2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย ขั้นตอนการคานวณและฝึกปฏิบัติ 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาหลักสูตร 1. ความรู้ทางด้านการวัด laser power 2. การสอบเทียบ laser power : ทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การประเมินค่าความไม่แน่นอนจากการสอบเทียบและการรายงานผลการสอบเทียบ หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ Scientific Calculator
  • 35. 28 ชื่อหลักสูตร (English): Calibration of Power Quality Analyzers (Harmonics and Flicker) ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย): การสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (Harmonics and Flicker) ระยะเวลาฝึกอบรม 2 วัน หลักสูตรนี้เหมาะสาหรับหน่วยงานที่มี 1. เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่ต้องการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (Harmonics and Flicker) 2. วิศวกร/เจ้าหน้าที่อาคารที่ทาหน้าที่ดูแลระบบไฟฟ้า วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้เข้าใจหลักการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker) 2. เพื่อให้เข้าใจหลักการประเมินความไม่แน่นอนของการวัดเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker) 3. เพื่อให้สามารถสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker) ได้ *ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี* 1. ความรู้พื้นฐานด้านไฟฟ้ากาลัง 2. การประเมินความไม่แน่นอนของการวัด สื่อ/อุปกรณ์ฝึกอบรมที่ใช้ 1. เอกสารบรรยาย 2. ชุดสาธิตและฝึกปฏิบัติในห้องอบรม - Electrical Power and Power Quality Standard - Precision Power Analyzer - Digital Power Meter - Three phase portable working standard and PQ analyzer เนื้อหาหลักสูตร 1. พื้นฐานคุณภาพไฟฟ้าและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง 2. หลักการของการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker) 3. หลักการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด 4. ฝึกปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องวัดคุณภาพไฟฟ้า (harmonics and flicker) - workshop หมายเหตุ สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรมควรนามาด้วยในวันอบรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ Notebook หรือเครื่องคานวณ Scientific Calculator