SlideShare a Scribd company logo
1 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
2 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรม
2 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
	 ปัจจุบันประเทศไทยมีการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
หรือ Thailand 4.0 ในการพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกเศรษฐกิจยุคใหม่ที่มี
การเปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็ว เพื่อรองรับการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ตามซุปเปอร์คลัสเตอร์ที่มีการส่งเสริมเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะ
เป็นการส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มเป็นพิเศษ
เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเขตเศรษฐกิจชั้นน�ำของอาเซียน ที่เปลี่ยนผ่านจาก
ธุรกิจที่ลงมือท�ำมากได้ผลตอบแทนน้อย มาสู่แบบลงมือท�ำน้อยได้ผลตอบแทน
มาก โดยน�ำเอาความคิดสร้างสรรค์เป็นแรงผลักดัน และนวัตกรรมเข้ามาช่วย
เปลี่ยนรูปแบบการผลิตสินค้าและบริการมากขึ้น รัฐบาลมีความพยายาม
ให้ประชาชนมีคุณภาพที่ดีและสามารถพัฒนาเศรษฐกิจทุกๆ ด้านให้ทัดเทียม
กับนานาประเทศในภูมิภาคและสังคมโลก
	 ในการขับเคลื่อนประเทศด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมภายใต้
บริบทประเทศไทย 4.0 นั้น การวัดที่ถูกต้องและแม่นย�ำ จึงมีบทบาทส�ำคัญ
ต่อภาคการผลิตและบริการ การค้าขาย คุณภาพชีวิต ความปลอดภัยในการใช้
สินค้าอุปโภคและบริโภค ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน งานด้านมาตรวิทยา
ถือว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของ “โครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของประเทศ”
ที่เป็นการสร้างหลักประกันให้กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อันจะส่งผลให้ประเทศ
มีศักยภาพในการผลิตและสร้างความสามารถในการแข่งขันได้ในตลาดระหว่าง
ประเทศ
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
3 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
	 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (มว.) มีหน้าที่หลักในการพัฒนามาตรฐาน
การวัด โดยการใช้เทคนิคและวิธีการทางมาตรวิทยาที่เหมาะสม สร้างมาตรฐาน
การวัดไปสู่การยอมรับในระดับระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนความสามารถในการ
ผลิตและการค้า ผ่านกระบวนการทดสอบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยอมรับจากคู่ค้า
เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์เป็นไปตามข้อก�ำหนดจ�ำเพาะของการผลิตได้มาตรฐาน
เป็นไปตามความคาดหวังของลูกค้าและผู้บริโภคทั้งในด้านราคา คุณภาพ และ
ความน่าเชื่อถือ โดยสถาบันมีวิสัยทัศน์
	 “ระบบมาตรวิทยาเข้มแข็งเพื่อโครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพของ
ประเทศที่เป็นระบบและมีสมรรถนะ สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม ยกระดับ
ประเทศไทยสู่กลุ่มประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงและมี
การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
	 เอกสารนี้เป็นเพียงการรวบรวมฐานข้อมูลผลงานนวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ที่เป็นส่วนหนึ่งในการท�ำให้อุตสาหกรรมไทยมีการพัฒนาศักยภาพนวัตกรรม
ของผลิตภัณฑ์ของตัวเองให้ที่มีประสิทธิภาพและมูลค่าเพิ่มมากยิ่งขึ้น เพื่อให้
ประเทศไทยพัฒนาไปสู่การเป็นเขตเศรษฐกิจชั้นน�ำของอาเซียน สถาบันขอส่งมอบ
นวัตกรรมมาตรวิทยาไปยังผู้ใช้ให้เกิดความตระหนักและความส�ำคัญเรื่อง
งานมาตรวิทยามากยิ่งขึ้น และพร้อมพัฒนาผลงานนวัตกรรมมาตรวิทยาอย่าง
ต่อเนื่องต่อไป
4 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
	 	 หน้า
•	ชุดตรวจสอบจังหวะเวลาของเครื่องทดสอบความแข็ง 	 7
	 Brinell hardness ส�ำหรับงานสอบเทียบนอกสถานที่
•	Extensometer calibrator Gauge length up to 600 mm 	 8
	 และ Travel range up to 70 mm
•	Extensometer calibrator 	 9
•	วิธีการสอบเทียบ Gas Pressure Balance ในพิสัยไม่เกิน	 10
	 10 bar โดยใช้ Differential Pressure Gauge
•	เครื่องมือวัดแรงบิดแบบดัด เลขที่ค�ำขอ 1701007532	 11
•	Software for standard torque transducer with 	 12
	 strain gage input module Model: NS-T1.0
•	Software for standard angle encoder with 	 13
	 interface module Model: NS-A1.0
•	ระบบวัดสภาพแวดล้อมอัจฉริยะ	 14
•	อุปกรณ์ Pulse Sequence ด้วย FPGA	 15
•	อุปกรณ์จ่ายความถี่ด้วย Direct Digital Synthesis	 16
•	อุปกรณ์ Cansat ส�ำหรับตรวจสภาพอากาศที่ระดับความสูงต่างๆ	 17
•	อุปกรณ์วัดความเร็วและทิศทางลมส�ำหรับนักกระโดดร่ม	 18
สารบัญ
5 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
		 หน้า
•	NIMT Line Scale Interferometer	 19
•	การพัฒนาการวัด Taper Thread Plug Gauge ด้วย 	 20
	 Adjustable และ Inclinometer
•	การพัฒนาโปรแกรมสอบเทียบ Gauge Block Comparator	 21
•	Multi-axes Interferometer	 22
•	พัฒนาโปรแกรมบันทึกข้อมูลโดยอัตโนมัติส�ำหรับการวัดเส้น	 23
	 ผ่านศูนย์กลางโดยเครื่อง Internal Diameter Microscope (IDM)
•	วัสดุอ้างอิงอนุภาคนาโน (Nanoparticle reference material)	 24
•	โปรแกรมการวิเคราะห์ค่าความเรียบ Flatness tester	 25
•	ระบบการวัดรูปทรงอิสระด้วยเทคนิคสเตอริโอวิชั่น (Stereo Vision)	 26
•	ระบบเชื่อมต่อข้อมูล Paperless Measurement 	 27
•	เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นไร้สายส�ำหรับควบคุม	 28
	 ภาวะแวดล้อมในโรงเรือน
•	เครื่องมือจุดก�ำเนิดอุณหภูมิมาตรฐานขนาดเล็ก (Mini Cell)	 29
	 ส�ำหรับการทวนสอบเทอร์โมคัปเปิล
•	เครื่องเจือจางก๊าซต้นแบบ (Prototype Gas Dilutor)	 30
•	กล่องเก็บเสียงขนาดเล็กต้นแบบ (Silent Box)	 31
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 ชุดตรวจสอบจังหวะเวลาของเครื่องทดสอบความแข็ง
	 Brinell hardness ส�ำหรับงานสอบเทียบนอกสถานที่
เจ้าของผลงาน:	 ดร.มนตรี ผักกระโทก และนายทัศนัย แสนพลพัฒน์
	 กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล
รายละเอียด:	 นวัตกรรมต้นแบบเครื่องตรวจสอบจังหวะเวลาของเครื่อง
	 ทดสอบความแข็ง Brinell hardness testing machine
	 จ�ำนวน2เครื่องคือ500kgfmodelและ3,000kgfmodel
	 สามารถใช้งานได้ที่แรงกด 500 kgf และ 3,000 kgf และมี
	 การยุบตัวรวมของชิ้นงานเพียง1.2µmที่แรงกดสูงสุดทั้งนี้มี
	 accuracy ดีกว่า 0.2 s
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 นวัตกรรมต้นแบบที่สร้างขึ้นอยู่ระหว่างการขอรับ
	 	 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ เลขที่ค�ำขอ 1701007533 และ
	 	 ได้ถูกน�ำไปใช้ในการสอบเทียบจังหวะเวลาของเครื่อง
	 	 ทดสอบความแข็ง Brinell hardness testing
	 	 machine แบบ onsite service
3,000 kgf model
Computer program
DAQ
500 kgf model
7 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
8 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 Extensometer calibrator Gauge length up to
	 600 mm และ Travel range up to 70 mm
เจ้าของผลงาน:	 นายรัตพล คงชนะ และนายทัศนัย แสนพลพัฒน์
	 กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล
รายละเอียด:	 Extensometer calibrator class 0.2 ตาม ISO 9513 ที่
	 สร้างขึ้น ออกแบบให้สามารถสอบเทียบ extensometer ที่มีพิสัย
	 travel length 70 mm และออกแบบให้สามารถติดตั้ง
	 extensometer ที่มี gauge length กว้างถึง 600 mm
	 ในการออกแบบค�ำนึงถึงการขนย้ายออกไปท�ำงานนอกสถานที่
	 เป็นหลัก จึงออกแบบให้สามารถถอดและขยาย column
	 ที่ใช้ในการหนีบ extensometer ได้
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 เป็น Extensometer calibrator เพื่อใช้ในการ
	 	 ถ่ายทอดค่าให้กับเครื่องมือระดับ  Working  Standard
	 	 และ Testing Machine โดยมีแผนจะน�ำไปใช้งาน
	 	 สอบเทียบ Extensometer แบบนอกสถานที่
9 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 Extensometer calibrator
เจ้าของผลงาน:	 นายรัตพล คงชนะ
	 กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล
รายละเอียด:	 ExtensometercalibratorพิสัยGaugelength:600mm,
	 Travel length : 70 mm, CMC 0.2%
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 ท�ำให้การสอบเทียบ  Extensometer  มีความแม่นย�ำขึ้น
	 	 และสามารถสอบเทียบ Extensometer ที่มี Gauge
	 	 length สูงๆ ได้
10 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
การติดตั้งระบบสอบเทียบ Gas Pressure
Balance โดยใช้ DPG
ชื่อผลงาน:	 วิธีการสอบเทียบ Gas Pressure Balance ในพิสัย
	 ไม่เกิน 10 bar โดยใช้ Differential Pressure Gauge
เจ้าของผลงาน:	 ดร.ทัศนีย์ ไพรรื่นรมย์
	 กลุ่มงานกลศาสตร์ของไหล
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล
รายละเอียด:	 เป็นวิธีการสอบเทียบ Gas Pressure Balance โดยใช้
	 Differential Pressure Gauge (DPG) วัดค่าความดันที่ต่าง
	 กันระหว่าง Pressure Balance 2 ด้าน แทนที่วิธีการเดิม
	 ที่เป็นการวัดอัตราการตกของ Piston ซึ่งวิธีการนี้ช่วยให้
	 ลดเวลาสอบเทียบได้มากกว่า 33%
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 น�ำมาให้บริการสอบเทียบ Gas Pressure Balance
	 	 แก่ลูกค้าแล้ว ในพิสัยการวัด 0.4 bar ถึง 7 bar
11 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 เครื่องมือวัดแรงบิดแบบดัด เลขที่ค�ำขอ 1701007532
เจ้าของผลงาน:	 นายณัฐพล แสนค�ำ และนายทัศนัย แสนพลพัฒน์
	 กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล
รายละเอียด:	 เครื่องมือวัดแรงบิดแบบดัดถูกออกแบบให้เพิ่มความถูกต้อง
	 แม่นย�ำ โดยการกระจายและหักล้างอิทธิพลของแรงด้านข้าง
	 (lateral  force)  ที่เข้ามาปะปนกับแรงบิดที่เกิดจากการเยื้องศูนย์
	 เนื่องจากการติดตั้งขณะท�ำการวัด และการรับแรงบิด
	 จากเครื่องมือประเภทประแจ  มีความถูกต้องในระดับ  Class  0.1
	 ตาม DIN 51309: 2005
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 ใช้เป็นเครื่องมือมาตรฐานในระดับอ้างอิงของ
	 	 ห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบในการถ่ายทอด
	 	 ค่าให้กับเครื่องมือระดับ Working Standard และ
	 	 Testing  Machine  เช่น  เครื่องมือสอบเทียบ  Screwdriver
	 	 ตาม ISO 6789: 2017 และเครื่องทดสอบ Passport
	 	 Books ตาม ISO/IEC 18745-1: 2014 เป็นต้น
12 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 Software for standard torque transducer with
	 strain gauge input module Model: NS-T1.0
เจ้าของผลงาน:	 นายณัฐพล แสนค�ำ
	 กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล
รายละเอียด:	 Softwareforstandardtorquetransducerwithstrain
	 gauge input module Model: NS-T1.0 ถูกเขียนขึ้นจาก
	 โปรแกรม  Lab  Viewที่  มว.  ถือครอง  License   อยู่มีวัตถุประสงค์
	 เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการสอบเทียบเครื่องมือ
	 วัดแรงบิด  โดยไม่ต้องใช้คนในการบันทึกข้อมูล  สามารถบันทึก
	 เป็น  Excel  File  เพื่อน�ำไปประมวลผลต่อในกระบวนการออก
	 ใบรับรองผลการสอบเทียบ  
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	เป็น Software ที่ใช้ในการเชื่อมต่อและดึงข้อมูล
	 	 จากเครื่องมือวัดแรงบิดที่ต่อเข้ากับAmplifierโมเดล
	 	 SGIMAIM+/-1Vผ่านทางModuleUBSIMMK2เข้า
	 	 คอมพิวเตอร์โดยสามารถบันทึกข้อมูลได้ตามกระบวน
	 	 การสอบเทียบ  ทางด้านแรงบิด เช่น BS 7882: 2017
	 	 DIN 51309: 2005 และ EURAMET-cg-14.01 เป็นต้น
	 	 Software ที่เขียนขึ้นสามารถใช้กับระบบปฏิบัติการ
	 	 Windows7 และ Windows10 ประเภท 64-bit
13 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 Software for standard angle encoder with
	 interface module Model: NS-A1.0
เจ้าของผลงาน:	 นายณัฐพล แสนค�ำ
	 กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล
รายละเอียด:	 Software for standard angle encoder with interface
	 module Model: NS-A1.0 ถูกเขียนขึ้นจากโปรแกรม  
	 Lab  View  ที่  มว.  ถือครอง  License  อยู่มีวัตถุประสงค์
	 เพื่อช่วยให้เครื่องมือวัดสามารถบันทึกข้อมูลได้ในแบบReal
	 Time ตามกระบวนการสอบเทียบจริงของเครื่อง Torsion
	 Stress Machine โดยบันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File
	 เพื่อน�ำไปประมวลผลต่อในกระบวนการออกใบรับรองผล
	 การสอบเทียบ  
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 เป็น Software ที่ใช้ในการเชื่อมต่อและดึงข้อมูลจาก
	 	 เครื่องมือวัดมุมที่ต่อเข้ากับCounterโมเดลEIMผ่าน
	 	 ทาง Module UBSIM MK2 เข้าคอมพิวเตอร์โดย
	 	 สามารถบันทึกข้อมูลแบบ Real Time โดยสามารถ
	 	 บันทึกข้อมูลได้ในทุกๆ 50 ms โดยที่ Software ที่
	 	 เขียนขึ้นสามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการWindows7
	 	 และ Windows10 ประเภท 64-bit
14 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 ระบบวัดสภาพแวดล้อมอัจฉริยะ
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง
	 กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่
	 ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า
รายละเอียด:	 ระบบการวัดและบันทึกผลสภาวะแวดล้อมห้องปฏิบัติการ
	 สามารถน�ำไปใช้ในห้องปฏิบัติการได้โดยมีความสามารถ
	 เทียบเท่ากับเครื่องมือมาตรฐานที่มีอยู่เดิม การบันทึกผล
	 ยังสามารถบันทึกได้บนคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเน็ตเวิร์ค
	 ท�ำให้ผู้ใช้งานเกิดความมั่นใจได้ว่าข้อมูลจะไม่สูญหายใน
	 ระหว่างการใช้งาน ส�ำหรับการแสดงผลนั้นใช้โปรแกรม
	 MySQLซึ่งเป็นโปรแกรมพื้นฐานท�ำให้การปรับแต่งโปรแกรม
	 สามารถท�ำได้ง่ายตามที่ผู้ใช้งานมีความต้องการ
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	1.	ใช้ในการวัดและบันทึกผลสภาวะแวดล้อม
	 	 	 ห้องปฏิบัติการ ของห้องปฏิบัติการทดสอบหรือ
	 	 	 สอบเทียบ
	 	 2.	สามารถน�ำไปใช้ในการให้บริการทดสอบหรือ
	 	 	 สอบเทียบแบบออนไซต์ได้
15 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 อุปกรณ์ Pulse Sequence ด้วย FPGA
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง
	 กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่
	 ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า
รายละเอียด:	 Pulse Sequence จะท�ำการสร้างสัญญาณจากจังหวะ
	 สัญญาณนาฬิกาภายใน (Internal Oscillator) ซึ่งมีความถี่
	 50MHz หรือมีคาบ 20ns พื้นฐานในการสร้าง Pulse
	 Sequence จะใช้วงจร Flip-Flop ซึ่งถูกสร้างขึ้นใน FPGA
	 ท�ำให้ช่วงเวลามีความแม่นย�ำมากกว่าการเขียนโปรแกรมด้วย
	 Microcontrollerเนื่องจากบนFPGAจะเป็นการสร้างวงจร
	 จริงขึ้นโดยค่าความละเอียดระหว่างPulseจะมีค่า40นาโน
	 วินาที
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 1.	สามารถควบคุมระบบนาฬิกาอะตอมเชิงแสงได้
	 	 	 อย่างแม่นย�ำ
	 	 2.	น�ำไปประยุกต์ใช้ในระบบ Time Scale ซึ่งต้อง
	 	 	 ควบคุมการวัดสัญญาณจากนาฬิกาอะตอมซีเซียม
	 	 3.	ลดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ส�ำเร็จรูปซึ่งมีราคา
	 	 	 แพงและมีจ�ำนวนช่องสัญญาณจ�ำกัด
16 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 อุปกรณ์จ่ายความถี่ด้วย Direct Digital Synthesis
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง
	 กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่
	 ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า
รายละเอียด:	 ชุดค�ำสั่งจาก FPGA หลักถูกน�ำมาเก็บไว้ในหน่วยความจ�ำ เพื่อ
	 รอสัญญาณเริ่มการท�ำงาน (Trigger) เมื่อได้รับสัญญาณเพื่อ
	 เริ่มการท�ำงาน FPGA จะส่งข้อมูลจ�ำนวน 64bit ไปยัง DDS
	 เพื่อสังเคราะห์ความถี่ตั้งแต่ 0 - 400MHz ที่มีความละเอียด
	 81pHz โดยใช้ความถี่อ้างอิง 1.5GHz และส่งข้อมูลจ�ำนวน
	 14bitไปยังDACเพื่อสร้างสัญญาณอนาล็อกในการควบคุม
	 ก�ำลังขยายสัญญาณ หรือก�ำหนดแอมปลิจูดของสัญญาณได้
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	1.	สามารถควบคุมระบบนาฬิกาอะตอมเชิงแสงได้
	 	 	 อย่างแม่นย�ำ
	 	 2.	น�ำไปประยุกต์ใช้ในระบบ Time Scale ซึ่งต้อง
	 	 	 ควบคุมการวัดสัญญาณจากนาฬิกาอะตอมซีเซียม
	 	 3.	 ลดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ส�ำเร็จรูปซึ่งมีราคาแพง
	 	 	 และมีจ�ำนวนช่องสัญญาณจ�ำกัด
17 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 อุปกรณ์ Cansat ส�ำหรับตรวจสภาพอากาศ
	 ที่ระดับความสูงต่างๆ
เจ้าของผลงาน:	 ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง
	 กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่
	 ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า
รายละเอียด:	 อุปกรณ์ส�ำหรับตรวจวัดต�ำแหน่งและสภาพแวดล้อมที่ระดับ
	 ความสูงต่างๆ สามารถท�ำการวัดตัวแปรได้ ดังนี้
	 1.	ต�ำแหน่งของจรวด (Latitude และ Longitude) ด้วยโมดูล
	 	 GNSS
	 2.	ความสูงของจรวด ด้วยบารอมิเตอร์ชนิดเมมเบรน
	 3.	อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศภายนอก และ
	 	 ภายในจรวดวินาที
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 1.	ใช้ในการตรวจสภาพแวดล้อมก่อนการยิงจรวดดัด
	 	 	 แปรสภาพอากาศ เพื่อใช้ในภารกิจท�ำฝนหลวง
	 	 2.	การน�ำความรู้ทางมาตรวิทยามาประยุกต์ช่วย
	 	 	 ให้การใช้งานเซนเซอร์ท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
	 	 	 มากขึ้น
18 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 อุปกรณ์วัดความเร็วและทิศทางลมส�ำหรับนักกระโดดร่ม
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง
	 กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่
	 ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า
รายละเอียด:	 อุปกรณ์วัดความเร็วและทิศทางลมส�ำหรับนักกระโดดร่ม
	 สามารถท�ำการวัดตัวแปรได้ ดังนี้
	 1.	ต�ำแหน่งของอุปกรณ์ (Latitude และLongitude)
	 	 ความเร็วและทิศทาง ด้วยโมดูล GNSS
	 2.	ความสูง ด้วยบารอมิเตอร์ชนิดเมมเบรน
	 3.	อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศภายนอก
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	1.	ใช้ในการตรวจวัดทิศทางและความเร็วลมเพื่อใช้
	 	 	 ในภารกิจทางการทหาร
	 	 2.	การน�ำความรู้ทางมาตรวิทยามาประยุกต์ช่วย
	 	 	 ให้การใช้งานเซนเซอร์ท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
	 	 	 มากขึ้น
19 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 NIMT Line Scale Interferometer
	
เจ้าของผลงาน:	 นายสุรศักดิ์ เกิดกัญการ
	 กลุ่มงานมาตรฐานปฐมภูมิความยาว
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 เครื่อง NIMT Line Scale Interferometer เป็นเครื่องที่
	 ใช้สอบเทียบ glass scale ที่เป็นระดับ working standard
	 ที่มีพิสัยการวัดตั้งแต่ 0.01 mm ถึง 400 mm และเป็น
	 ระบบการวัดแบบกึ่งอัตโนมัติ ระบบนี้มีความแม่นย�ำสูง
	 ในการวัดเนื่องจากใช้ Laser interferometer system เป็น
	 มาตรฐาน
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 เครื่องที่ NIMT Line Scale Interferometer
	 	 ใช้บริการสอบเทียบ glass scale ที่มีปริมาณมากกว่า
	 	 80 ชิ้นงานต่อปี โดยมีค่าความไม่แน่นอนของการวัด
	 	 ได้ในระดับ0.5ไมครอนลดระยะเวลาการสอบเทียบ
	 	 ประมาณ 20% เมื่อเทียบกับเครื่องระบบเดิม
	 	 (Profile projector)
20 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 การพัฒนาการวัด Taper Thread Plug Gauge ด้วย
	 Adjustable และ Inclinometer
เจ้าของผลงาน:	 นายยอดยิ่ง หมวกงาม
	 กลุ่มงานวิศวกรรมการวัดละเอียด
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 Taper Thread Plug Gauge ถูกสอบเทียบโดยใช้ Electronic
	 Comparator และ Sine Table ซึ่งมีราคาแพง โดยปกติ
	 ห้องปฏิบัติการส่วนใหญ่มี Pin Gauge (3-Wire) เนื่องจาก
	 น�ำมาใช้วัด Parallel Thread Plug Gauge ดังนั้น ถ้าสามารถ
	 Gauge ได้ จะท�ำให้ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ Electronic Comparator
	 และ Sine Table ซึ่งมีราคาแพง
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	การวัด Pitch Diameter ด้วยวิธีการใช้เครื่อง ULM
	 	 ร่วมกับ Pin Gauge และ Electronic Inclinometer
	 	 เป็นผลให้ห้องปฏิบัติการที่ไม่มีเครื่อง Electronic
	 	 Comparator, Sine Table สามารถวัด Pitch
	 	 Diameter ของ Taper Thread Plug Gauge ได้
21 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 การพัฒนาโปรแกรมสอบเทียบGaugeBlockComparator
	
เจ้าของผลงาน:	 นายศมน เพี้ยงบางยาง
	 กลุ่มงานมาตรฐานปฐมภูมิความยาว
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 การปรับปรุงโปรแกรมสอบเทียบเกจบล็อกด้วยเครื่อง gauge
	 blockcomparatorเพื่อช่วยให้ได้ระบบการวัดที่มีความถูก
	 ต้องในเรื่อง การชดเชยความยาวเนื่องจากอุณหภูมิได้อย่าง
	 อัตโนมัติที่มีเสถียรภาพที่ดีกว่าระบบการสอบเทียบเดิม  พร้อม
	 ทั้งถ่ายโอนข้อมูลแบบอัตโนมัติ ไม่ต้องท�ำการบันทึกข้อมูล
	 ด้วยกระดาษ
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 การปรับปรุงโปรแกรมสอบเทียบเกจบล็อกด้วยเครื่อง
	 	 gauge block comparator จ�ำนวน 2 ระบบ ท�ำให้
	 	 งานสอบเทียบเร็วขึ้นกว่าเดิม 20% อีกทั้งยังเป็น
	 	 การลดการใช้กระดาษภายในห้องปฏิบัติการทางหนึ่ง
22 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 Multi-axes Interferometer
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.วิโรจน์ สุดาธรรม
	 กลุ่มงานวิศวกรรมการวัดละเอียด
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 เพื่อชดเชย Motion errors ของโครงสร้างเชิงกลของระบบ
	 เลเซอร์อินเตอร์เฟียร์โรมิเตอร์ โดยการใช้ Plane laser
	 interferometer  ที่สามารถวัดระยะ  (Linear  measurement)
	 ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการหมุนรอบแกนในระนาบเดียว
	 กับทิศการเคลื่อนที่ (Pitch error) และความคลาดเคลื่อน
	 เนื่องจากการหมุนรอบแกนในทิศที่ตั้งฉากในระนาบฉากกับ
	 ทิศการเคลื่อนที่ (Yaw error) ซึ่งท�ำให้ระบบวัดความยาวมี
	 ความถูกต้องสูง
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	สามารถน�ำไปใช้ในการสร้างระบบวัดความยาวด้วย
	 	 เลเซอร์อินเตอร์เฟียร์โรมิเตอร์และพัฒนาต่อเป็น
	 	 ระบบวัดหลายแกนในการวัดเพียงคราวเดียว
	 	 ลดความคลาดเคลื่อนในการถ่ายค่ามาตรฐานของการวัด
	 	 เกจความยาวจึงสามารถเพิ่มความแน่นอนในการถ่าย
	 	 ค่าความยาวมาตรฐานสู่ผู้ใช้ในประเทศอย่างกว้างขวาง
23 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 พัฒนาโปรแกรมบันทึกข้อมูลโดยอัตโนมัติส�ำหรับการวัดเส้นผ่าน
	 ศูนย์กลางโดยเครื่อง Internal Diameter Microscope (IDM)
เจ้าของผลงาน:	 นางสาววิชชุดา จิตต์โกศล
	 กลุ่มงานวิศวกรรมการวัดละเอียด
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 การรายงานผลการวัดจากเครื่อง IDM จ�ำเป็นต้องมีการ
	 ชดเชยอุณหภูมิขณะท�ำการวัดเพื่อให้ได้ผลการวัดที่อ้างอิงไปยัง
	 อุณหภูมิมาตรฐานที่ 20 °C ท�ำการเชื่อมต่อจากเครื่อง IDM
	 และอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นเข้าคอมพิวเตอร์ โดยการดัดแปลง
	 สายเชื่อมRS232ต่อเข้ากับพอร์ตส�ำหรับprinterของIDM
	 เนื่องจากพอร์ตส�ำหรับ printer ไม่ได้เป็นแบบมาตรฐาน
	 สายเชื่อมที่มีอยู่  โปรแกรมการวัดถูกเขียนด้วย  ภาษา  visual
	 basic และบันทึกลงในไฟล์ excel  
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 สามารถลดความผิดพลาดในการออกรายงานผล
	 	 การสอบเทียบ ลดเวลาการออกใบรายงานผล
	 	 การสอบเทียบลงจากเดิม น�ำไปใช้สร้างโปรแกรม
	 	 ต้นแบบส�ำหรับเชื่อมต่อการวัดแบบอัตโนมัติ
24 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 วัสดุอ้างอิงอนุภาคนาโน (Nanoparticle reference material)
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.จริยา บัวเจริญ
	 กลุ่มงานมาตรวิทยานาโน
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ  (ศน.)  ร่วมกับ   มว.  สังเคราะห์อนุภาค
	 พอลิสไตรีนที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง  100nm  –  2μm
	 เมื่อท�ำการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค AFM, TEM และ DLS พบว่า
	 อนุภาคมี Size distribution 3-5% ซึ่งสามารถใช้เป็น
	 วัสดุอ้างอิง (Reference material, RM)
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	เหมาะส�ำหรับตรวจสอบความถูกต้อง (Verify) ของ
	 	 เครื่องมือวัดต่างๆ เช่น เครื่อง DLS, เครื่องวัดอนุภาค
	 	 ฝุ่นในห้อง Clean room หรือห้องที่ต้องควบคุม
	 	 ปริมาณฝุ่น เป็นต้น และสามารถทดแทนการน�ำเข้า
	 	 จากต่างประเทศ
25 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 โปรแกรมการวิเคราะห์ค่าความเรียบ Flatness tester
เจ้าของผลงาน:	 ดร.จริยา บัวเจริญ
	 กลุ่มงานมาตรวิทยานาโน
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 ใช้ส�ำหรับวิเคราะห์ค่าความเรียบของผิวชิ้นงาน โดยใช้แสง
	 สามารถเลือกความยาวคลื่นได้เพื่อให้เหมาะกับวัสดุที่
	 หลากหลาย โปรแกรมเชื่อมต่อกับกล้องได้โดยตรง และ
	 สามารถส่งผลการวัดเข้า excel ได้ทันที ใช้เวลาในการ
	 วัดประมาณ 1 นาที/ชิ้น โปรแกรมสามารถใช้งานแบบ  
	 Stand alone ได้
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 ห้องปฏิบัติการที่ได้น�ำโปรแกรม Flatness tester
	 	 V2.0 จะสามารถเพิ่มศักยภาพ และผลิตภาพใน
	 	 การวัดได้ นอกจากนี้ห้องปฏิบัติการที่มีเครื่องมือ
	 	 อุปกรณ์อยู่แล้ว จะสามารถยกระดับความสามารถ
	 	 ของตนเองโดยการใช้โปรแกรมนี้ ซึ่งจะช่วยให้งาน
	 	 บริการวัดความเรียบเพียงพอต่อความต้องการของ
	 	 ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น
26 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 ระบบการวัดรูปทรงอิสระด้วยเทคนิคสเตอริโอวิชั่น
	 (Stereo Vision)
เจ้าของผลงาน:	 ดร.ธรรมรัตน์ สมทอง
	 กลุ่มงานมาตรวิทยานาโน
	 ฝ่ายมาตรวิทยามิติ
รายละเอียด:	 ระบบการวัดรูปทรงอิสระด้วยเทคนิคสเตอริโอวิชั่น เป็นการใช้
	 เครื่องมือวัดแบบไม่สัมผัส ส�ำหรับชิ้นงานที่มีรูปร่างอิสระที่มี
	 ขนาด 50 มม. X 50 มม. และมีความถูกต้องประมาณ
	 150 ไมครอน
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ในการวัดรูปทรงอิสระของชิ้นงานที่ไม่สามารถวัดได้
	 	 ด้วยเครื่องมือแบบสัมผัสได้   และสามารถถ่ายค่าความถูก
	 	 ต้องจากระบบสเตอริโอวิชั่นที่ถูกสอบเทียบแล้วไปยัง
	 	 ชิ้นงานที่มีรูปทรงอิสระ
27 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 ระบบเชื่อมต่อข้อมูล Paperless Measurement
	
เจ้าของผลงาน:	 นายภาวัต เผือกน้อย
	 กลุ่มงานนวัตกรรมและพัฒนาเครื่องมือวัด
รายละเอียด:	 ในกระบวนการตรวจวัดชิ้นงานซึ่งอาจจะต้องใช้เครื่องมือวัด
	 มากกว่า 1 ชนิด เพื่อความถูกต้องและประสิทธิภาพของ
	 กระบวนการวัด มว. จึงได้พัฒนาอุปกรณ์ชุดระบบเชื่อมต่อ
	 ข้อมูล (Data link) และโปรแกรม i-link ขึ้นมา ท�ำให้การวัด
	 ไม่ต้องอ่านค่า จดบันทึก และถ่ายโอนข้อมูล
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	ส�ำหรับเชื่อมต่อเครื่องมือวัดผ่านกล่องเชื่อมต่อข้อมูล
	 	 (Data link) เพื่อส่งค่าไปยังคอมพิวเตอร์โปรแกรม
	 	 i-link ลักษณะการท�ำงานไม่ยุ่งยากเพียงแค่กดสวิตซ์	
	 	 ข้อมูลการวัดก็จะถูกส่งไปยังโปรแกรม Excel หรือ
	 	 โปรแกรมอื่นบนคอมพิวเตอร์ทันที ซึ่งโปรแกรม
	 	 ที่พัฒนาขึ้นนี้ ผู้ใช้งานสามารถออกแบบ (format)
	 	 ตารางบันทึกผลได้  และสามารถเชื่อมต่อเครื่องมือวัด
	 	 พร้อมกันได้มากกว่า100ตัวต่อคอมพิวเตอร์1เครื่อง
28 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ระบบเครือข่าย อุปกรณ์ลูกข่าย อุปกรณ์
ชื่อผลงาน:	 เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นไร้สายส�ำหรับควบคุม
	 ภาวะแวดล้อมในโรงเรือน
เจ้าของผลงาน:	 นายพิเชษ วงษ์นุช
	 กลุ่มงานมาตรฐานปฐมภูมิอุณหภูมิ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 เป็นอุปกรณ์ที่น�ำหัววัดความดัน (Pressure Sensor) หัววัด
	 ความชื้นในดิน (Soil Moisture Sensor) หัววัดอุณหภูมิ
	 ความชื้น (Temperature and Humidity Sensor) มาพัฒนา
	 ร่วมกับHardwareที่เรียกว่าบอร์ดArduinounoและเขียน
	 โปรแกรมควบคุมการท�ำงานด้วย Free Software IDE เพื่อ
	 ควบคุมภาวะแวดล้อมในโรงเรือนแบบปิด ซึ่งการติดต่อ
	 สื่อสารของอุปกรณ์จะกระท�ำบนเครือข่ายไร้สาย (Wifi)                                   
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	สามารถใช้ควบคุมภาวะแวดล้อมในโรงเรือนทดแทน
	 	 อุปกรณ์ PLC ที่มีราคาสูงและเป็นการส่งเสริมระบบ
	 	 มาตรวิทยาและการวัดสู่ภาคอุตสาหกรรมการเกษตร
29 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 เครื่องมือจุดก�ำเนิดอุณหภูมิมาตรฐานขนาดเล็ก(MiniCell)
	 ส�ำหรับการทวนสอบเทอร์โมคัปเปิล
เจ้าของผลงาน:	 ดร.อ้อยใจ อ่องหร่าย
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 จุดก�ำเนิดอุณหภูมิมาตรฐานขนาดเล็กด้านในบรรจุด้วยวัสดุ
	 Aluminum  ส�ำหรับน�ำไปประยุกต์ใช้ติดตั้งกับเทอร์โมคัปเปิลใน
	 เตาอุตสาหกรรมอบชุบโลหะ  ในช่วงอุณหภูมิที่  (600–700)  °C
	
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 สามารถน�ำไปประกอบกับเทอร์โมคัปเปิลชนิด N, K
	 	 ที่ใช้งานควบคุมอุณหภูมิในเตาสามารถตรวจติดตาม
	 	 การเลื่อนค่าของเทอร์โมคัปเปิลได้แบบต่อเนื่อง เพื่อ
	 	 ยกระดับความสามารถในการทวนสอบเครื่องมือวัด
	 	 ประเภทเทอร์โมคัปเปิลส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมให้มี
	 	 ความถูกต้องแม่นย�ำมากยิ่งขึ้น
30 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 เครื่องเจือจางก๊าซต้นแบบ (Prototype Gas Dilutor)
	
เจ้าของผลงาน:	 นายอาณัฐชัย วงค์จักร์ และนางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 คุณลักษณะเครื่องเจือจางก๊าซต้นแบบมีค่าความถูกต้องของ
	 เครื่องเจือจางก๊าซ ที่ 1% ช่วงอัตราการไหลที่เหมาะสมใช้
	 งานอยู่ระหว่าง  700  ถึง  1,000  sccm  และอัตราส่วนการเจือจาง
	 ที่เหมาะสมใช้งานอยู่ระหว่าง 1/20 ถึง 1/100
การน�ำไปใช้ประโยชน์: 	1.	 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสอบเทียบ
	 	 	 Gas Analyzer และ Gas Detector ของ
	 	 	 กลุ่มงานวิเคราะห์
	 	 2.	เพื่อลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตก๊าซผสม
	 	 	 มาตรฐานของกลุ่มงานวิเคราะห์เนื่องจากมีความ
	 	 	 หลากหลายความเข้มข้นที่ผู้ใช้บริการต้องการ
	 	 3.	 เพื่อใช้ส�ำหรับการให้บริการสอบเทียบ  Gas  Analyzer
	 	 	 และ Gas Detector
31 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
ชื่อผลงาน:	 กล่องเก็บเสียงขนาดเล็กต้นแบบ (Silent Box)
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสุรัตน์ ลีอุดมวงษ์ และนายอธิราช ทองบุญ
	 กลุ่มงานเสียงและการสั่นสะเทือน
รายละเอียด:	 กล่องถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติที่สามารถกั้นเสียงรบกวน
	 จากภายนอก เพื่อให้มีระดับความดันเสียงต�่ำ (Background
	 noise) โดยวัสดุที่ใช้เป็นอลูมิเนียมที่มีความหนา ภายในมี
	 ช่องว่างตรงกลาง ด้านหน้ามีช่องส�ำหรับสวมไมโครโฟน
	 ช่องด้านหน้าถูกออกแบบพิเศษเพื่อป้องกันเสียงจากภายนอก
	 ไม่ให้เข้าไปด้านในกล่อง ซึ่งเป็นจุดที่มีความส�ำคัญที่สุด
	 เนื่องจากส่งผลต่อคุณสมบัติของกล่องโดยตรง	      
การน�ำไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดระดับความดันเสียง
	 	 หัวข้อ Self-generated noise เป็นหัวข้อที่เป็นการ
	 	 ตรวจวัดหาค่าระดับสัญญาณรบกวนขณะที่ไม่มีเสียง
	 	 ใดๆ โดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้ห้องไร้เสียงสะท้อน ซึ่งจะ
	 	 เหมาะส�ำหรับห้องปฏิบัติการที่ใช้อุปกรณ์  Electrostatic
	 	 actuator  Acoustic  coupler  และ  Multi-frequency
	 	 sound calibrator ในการสอบเทียบทางด้านเสียงซึ่ง  
	 	 ห้องปฏิบัติการจะไม่มีห้องไร้เสียงสะท้อน อีกทั้งช่วยใน
	 	 การลดเวลาในการสอบเทียบและลดความผิดพลาด
	 	 ของการสอบเทียบได้อีกด้วย
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
33 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
34 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561

More Related Content

Similar to นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561

เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
Apichaya Savetvijit
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...
การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...
การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...
maruay songtanin
 
การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation
การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation
การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation
maruay songtanin
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
Anakkwee Saeton
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
Anakkwee Saeton
 

Similar to นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 (20)

presentation training
presentation trainingpresentation training
presentation training
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
 
PRODUCT DEVELOPMENT AND COMMERCIALIZATION. FOR COMMUNITY HEALTH DEVELOPMENT
 PRODUCT DEVELOPMENT AND COMMERCIALIZATION.  FOR COMMUNITY HEALTH DEVELOPMENT PRODUCT DEVELOPMENT AND COMMERCIALIZATION.  FOR COMMUNITY HEALTH DEVELOPMENT
PRODUCT DEVELOPMENT AND COMMERCIALIZATION. FOR COMMUNITY HEALTH DEVELOPMENT
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
 
การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...
การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...
การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent r...
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation
การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation
การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ Business model innovation
 
Presentation r4i
Presentation r4i Presentation r4i
Presentation r4i
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
 
V531
V531V531
V531
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
NIA : CMB (The Singha Corporation)
NIA : CMB (The Singha Corporation)NIA : CMB (The Singha Corporation)
NIA : CMB (The Singha Corporation)
 

More from NIMT

NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
NIMT
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
NIMT
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
NIMT
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
NIMT
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
NIMT
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
NIMT
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
NIMT
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
NIMT
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
NIMT
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
NIMT
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
NIMT
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
NIMT
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
NIMT
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
NIMT
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
NIMT
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
NIMT
 

More from NIMT (20)

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
 
Training Course NIMT
Training Course NIMTTraining Course NIMT
Training Course NIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
 

นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561

  • 4. 2 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ปัจจุบันประเทศไทยมีการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม หรือ Thailand 4.0 ในการพัฒนาประเทศให้ทันต่อโลกเศรษฐกิจยุคใหม่ที่มี การเปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็ว เพื่อรองรับการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย ตามซุปเปอร์คลัสเตอร์ที่มีการส่งเสริมเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะ เป็นการส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่มเป็นพิเศษ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเขตเศรษฐกิจชั้นน�ำของอาเซียน ที่เปลี่ยนผ่านจาก ธุรกิจที่ลงมือท�ำมากได้ผลตอบแทนน้อย มาสู่แบบลงมือท�ำน้อยได้ผลตอบแทน มาก โดยน�ำเอาความคิดสร้างสรรค์เป็นแรงผลักดัน และนวัตกรรมเข้ามาช่วย เปลี่ยนรูปแบบการผลิตสินค้าและบริการมากขึ้น รัฐบาลมีความพยายาม ให้ประชาชนมีคุณภาพที่ดีและสามารถพัฒนาเศรษฐกิจทุกๆ ด้านให้ทัดเทียม กับนานาประเทศในภูมิภาคและสังคมโลก ในการขับเคลื่อนประเทศด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมภายใต้ บริบทประเทศไทย 4.0 นั้น การวัดที่ถูกต้องและแม่นย�ำ จึงมีบทบาทส�ำคัญ ต่อภาคการผลิตและบริการ การค้าขาย คุณภาพชีวิต ความปลอดภัยในการใช้ สินค้าอุปโภคและบริโภค ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน งานด้านมาตรวิทยา ถือว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของ “โครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของประเทศ” ที่เป็นการสร้างหลักประกันให้กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อันจะส่งผลให้ประเทศ มีศักยภาพในการผลิตและสร้างความสามารถในการแข่งขันได้ในตลาดระหว่าง ประเทศ นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
  • 5. 3 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (มว.) มีหน้าที่หลักในการพัฒนามาตรฐาน การวัด โดยการใช้เทคนิคและวิธีการทางมาตรวิทยาที่เหมาะสม สร้างมาตรฐาน การวัดไปสู่การยอมรับในระดับระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนความสามารถในการ ผลิตและการค้า ผ่านกระบวนการทดสอบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยอมรับจากคู่ค้า เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์เป็นไปตามข้อก�ำหนดจ�ำเพาะของการผลิตได้มาตรฐาน เป็นไปตามความคาดหวังของลูกค้าและผู้บริโภคทั้งในด้านราคา คุณภาพ และ ความน่าเชื่อถือ โดยสถาบันมีวิสัยทัศน์ “ระบบมาตรวิทยาเข้มแข็งเพื่อโครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพของ ประเทศที่เป็นระบบและมีสมรรถนะ สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม ยกระดับ ประเทศไทยสู่กลุ่มประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงและมี การพัฒนาอย่างยั่งยืน” เอกสารนี้เป็นเพียงการรวบรวมฐานข้อมูลผลงานนวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ที่เป็นส่วนหนึ่งในการท�ำให้อุตสาหกรรมไทยมีการพัฒนาศักยภาพนวัตกรรม ของผลิตภัณฑ์ของตัวเองให้ที่มีประสิทธิภาพและมูลค่าเพิ่มมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ ประเทศไทยพัฒนาไปสู่การเป็นเขตเศรษฐกิจชั้นน�ำของอาเซียน สถาบันขอส่งมอบ นวัตกรรมมาตรวิทยาไปยังผู้ใช้ให้เกิดความตระหนักและความส�ำคัญเรื่อง งานมาตรวิทยามากยิ่งขึ้น และพร้อมพัฒนาผลงานนวัตกรรมมาตรวิทยาอย่าง ต่อเนื่องต่อไป
  • 6. 4 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 หน้า • ชุดตรวจสอบจังหวะเวลาของเครื่องทดสอบความแข็ง 7 Brinell hardness ส�ำหรับงานสอบเทียบนอกสถานที่ • Extensometer calibrator Gauge length up to 600 mm 8 และ Travel range up to 70 mm • Extensometer calibrator 9 • วิธีการสอบเทียบ Gas Pressure Balance ในพิสัยไม่เกิน 10 10 bar โดยใช้ Differential Pressure Gauge • เครื่องมือวัดแรงบิดแบบดัด เลขที่ค�ำขอ 1701007532 11 • Software for standard torque transducer with 12 strain gage input module Model: NS-T1.0 • Software for standard angle encoder with 13 interface module Model: NS-A1.0 • ระบบวัดสภาพแวดล้อมอัจฉริยะ 14 • อุปกรณ์ Pulse Sequence ด้วย FPGA 15 • อุปกรณ์จ่ายความถี่ด้วย Direct Digital Synthesis 16 • อุปกรณ์ Cansat ส�ำหรับตรวจสภาพอากาศที่ระดับความสูงต่างๆ 17 • อุปกรณ์วัดความเร็วและทิศทางลมส�ำหรับนักกระโดดร่ม 18 สารบัญ
  • 7. 5 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 หน้า • NIMT Line Scale Interferometer 19 • การพัฒนาการวัด Taper Thread Plug Gauge ด้วย 20 Adjustable และ Inclinometer • การพัฒนาโปรแกรมสอบเทียบ Gauge Block Comparator 21 • Multi-axes Interferometer 22 • พัฒนาโปรแกรมบันทึกข้อมูลโดยอัตโนมัติส�ำหรับการวัดเส้น 23 ผ่านศูนย์กลางโดยเครื่อง Internal Diameter Microscope (IDM) • วัสดุอ้างอิงอนุภาคนาโน (Nanoparticle reference material) 24 • โปรแกรมการวิเคราะห์ค่าความเรียบ Flatness tester 25 • ระบบการวัดรูปทรงอิสระด้วยเทคนิคสเตอริโอวิชั่น (Stereo Vision) 26 • ระบบเชื่อมต่อข้อมูล Paperless Measurement 27 • เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นไร้สายส�ำหรับควบคุม 28 ภาวะแวดล้อมในโรงเรือน • เครื่องมือจุดก�ำเนิดอุณหภูมิมาตรฐานขนาดเล็ก (Mini Cell) 29 ส�ำหรับการทวนสอบเทอร์โมคัปเปิล • เครื่องเจือจางก๊าซต้นแบบ (Prototype Gas Dilutor) 30 • กล่องเก็บเสียงขนาดเล็กต้นแบบ (Silent Box) 31
  • 9. ชื่อผลงาน: ชุดตรวจสอบจังหวะเวลาของเครื่องทดสอบความแข็ง Brinell hardness ส�ำหรับงานสอบเทียบนอกสถานที่ เจ้าของผลงาน: ดร.มนตรี ผักกระโทก และนายทัศนัย แสนพลพัฒน์ กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล รายละเอียด: นวัตกรรมต้นแบบเครื่องตรวจสอบจังหวะเวลาของเครื่อง ทดสอบความแข็ง Brinell hardness testing machine จ�ำนวน2เครื่องคือ500kgfmodelและ3,000kgfmodel สามารถใช้งานได้ที่แรงกด 500 kgf และ 3,000 kgf และมี การยุบตัวรวมของชิ้นงานเพียง1.2µmที่แรงกดสูงสุดทั้งนี้มี accuracy ดีกว่า 0.2 s การน�ำไปใช้ประโยชน์: นวัตกรรมต้นแบบที่สร้างขึ้นอยู่ระหว่างการขอรับ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ เลขที่ค�ำขอ 1701007533 และ ได้ถูกน�ำไปใช้ในการสอบเทียบจังหวะเวลาของเครื่อง ทดสอบความแข็ง Brinell hardness testing machine แบบ onsite service 3,000 kgf model Computer program DAQ 500 kgf model 7 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
  • 10. 8 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: Extensometer calibrator Gauge length up to 600 mm และ Travel range up to 70 mm เจ้าของผลงาน: นายรัตพล คงชนะ และนายทัศนัย แสนพลพัฒน์ กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล รายละเอียด: Extensometer calibrator class 0.2 ตาม ISO 9513 ที่ สร้างขึ้น ออกแบบให้สามารถสอบเทียบ extensometer ที่มีพิสัย travel length 70 mm และออกแบบให้สามารถติดตั้ง extensometer ที่มี gauge length กว้างถึง 600 mm ในการออกแบบค�ำนึงถึงการขนย้ายออกไปท�ำงานนอกสถานที่ เป็นหลัก จึงออกแบบให้สามารถถอดและขยาย column ที่ใช้ในการหนีบ extensometer ได้ การน�ำไปใช้ประโยชน์: เป็น Extensometer calibrator เพื่อใช้ในการ ถ่ายทอดค่าให้กับเครื่องมือระดับ Working Standard และ Testing Machine โดยมีแผนจะน�ำไปใช้งาน สอบเทียบ Extensometer แบบนอกสถานที่
  • 11. 9 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: Extensometer calibrator เจ้าของผลงาน: นายรัตพล คงชนะ กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล รายละเอียด: ExtensometercalibratorพิสัยGaugelength:600mm, Travel length : 70 mm, CMC 0.2% การน�ำไปใช้ประโยชน์: ท�ำให้การสอบเทียบ Extensometer มีความแม่นย�ำขึ้น และสามารถสอบเทียบ Extensometer ที่มี Gauge length สูงๆ ได้
  • 12. 10 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 การติดตั้งระบบสอบเทียบ Gas Pressure Balance โดยใช้ DPG ชื่อผลงาน: วิธีการสอบเทียบ Gas Pressure Balance ในพิสัย ไม่เกิน 10 bar โดยใช้ Differential Pressure Gauge เจ้าของผลงาน: ดร.ทัศนีย์ ไพรรื่นรมย์ กลุ่มงานกลศาสตร์ของไหล ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล รายละเอียด: เป็นวิธีการสอบเทียบ Gas Pressure Balance โดยใช้ Differential Pressure Gauge (DPG) วัดค่าความดันที่ต่าง กันระหว่าง Pressure Balance 2 ด้าน แทนที่วิธีการเดิม ที่เป็นการวัดอัตราการตกของ Piston ซึ่งวิธีการนี้ช่วยให้ ลดเวลาสอบเทียบได้มากกว่า 33% การน�ำไปใช้ประโยชน์: น�ำมาให้บริการสอบเทียบ Gas Pressure Balance แก่ลูกค้าแล้ว ในพิสัยการวัด 0.4 bar ถึง 7 bar
  • 13. 11 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: เครื่องมือวัดแรงบิดแบบดัด เลขที่ค�ำขอ 1701007532 เจ้าของผลงาน: นายณัฐพล แสนค�ำ และนายทัศนัย แสนพลพัฒน์ กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล รายละเอียด: เครื่องมือวัดแรงบิดแบบดัดถูกออกแบบให้เพิ่มความถูกต้อง แม่นย�ำ โดยการกระจายและหักล้างอิทธิพลของแรงด้านข้าง (lateral force) ที่เข้ามาปะปนกับแรงบิดที่เกิดจากการเยื้องศูนย์ เนื่องจากการติดตั้งขณะท�ำการวัด และการรับแรงบิด จากเครื่องมือประเภทประแจ มีความถูกต้องในระดับ Class 0.1 ตาม DIN 51309: 2005 การน�ำไปใช้ประโยชน์: ใช้เป็นเครื่องมือมาตรฐานในระดับอ้างอิงของ ห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบในการถ่ายทอด ค่าให้กับเครื่องมือระดับ Working Standard และ Testing Machine เช่น เครื่องมือสอบเทียบ Screwdriver ตาม ISO 6789: 2017 และเครื่องทดสอบ Passport Books ตาม ISO/IEC 18745-1: 2014 เป็นต้น
  • 14. 12 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: Software for standard torque transducer with strain gauge input module Model: NS-T1.0 เจ้าของผลงาน: นายณัฐพล แสนค�ำ กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล รายละเอียด: Softwareforstandardtorquetransducerwithstrain gauge input module Model: NS-T1.0 ถูกเขียนขึ้นจาก โปรแกรม Lab Viewที่ มว. ถือครอง License อยู่มีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการสอบเทียบเครื่องมือ วัดแรงบิด โดยไม่ต้องใช้คนในการบันทึกข้อมูล สามารถบันทึก เป็น Excel File เพื่อน�ำไปประมวลผลต่อในกระบวนการออก ใบรับรองผลการสอบเทียบ การน�ำไปใช้ประโยชน์: เป็น Software ที่ใช้ในการเชื่อมต่อและดึงข้อมูล จากเครื่องมือวัดแรงบิดที่ต่อเข้ากับAmplifierโมเดล SGIMAIM+/-1Vผ่านทางModuleUBSIMMK2เข้า คอมพิวเตอร์โดยสามารถบันทึกข้อมูลได้ตามกระบวน การสอบเทียบ ทางด้านแรงบิด เช่น BS 7882: 2017 DIN 51309: 2005 และ EURAMET-cg-14.01 เป็นต้น Software ที่เขียนขึ้นสามารถใช้กับระบบปฏิบัติการ Windows7 และ Windows10 ประเภท 64-bit
  • 15. 13 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: Software for standard angle encoder with interface module Model: NS-A1.0 เจ้าของผลงาน: นายณัฐพล แสนค�ำ กลุ่มงานกลศาสตร์ของแข็งและการทดสอบ ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล รายละเอียด: Software for standard angle encoder with interface module Model: NS-A1.0 ถูกเขียนขึ้นจากโปรแกรม Lab View ที่ มว. ถือครอง License อยู่มีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยให้เครื่องมือวัดสามารถบันทึกข้อมูลได้ในแบบReal Time ตามกระบวนการสอบเทียบจริงของเครื่อง Torsion Stress Machine โดยบันทึกข้อมูลในรูปแบบ Excel File เพื่อน�ำไปประมวลผลต่อในกระบวนการออกใบรับรองผล การสอบเทียบ การน�ำไปใช้ประโยชน์: เป็น Software ที่ใช้ในการเชื่อมต่อและดึงข้อมูลจาก เครื่องมือวัดมุมที่ต่อเข้ากับCounterโมเดลEIMผ่าน ทาง Module UBSIM MK2 เข้าคอมพิวเตอร์โดย สามารถบันทึกข้อมูลแบบ Real Time โดยสามารถ บันทึกข้อมูลได้ในทุกๆ 50 ms โดยที่ Software ที่ เขียนขึ้นสามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการWindows7 และ Windows10 ประเภท 64-bit
  • 16. 14 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: ระบบวัดสภาพแวดล้อมอัจฉริยะ เจ้าของผลงาน: ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่ ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า รายละเอียด: ระบบการวัดและบันทึกผลสภาวะแวดล้อมห้องปฏิบัติการ สามารถน�ำไปใช้ในห้องปฏิบัติการได้โดยมีความสามารถ เทียบเท่ากับเครื่องมือมาตรฐานที่มีอยู่เดิม การบันทึกผล ยังสามารถบันทึกได้บนคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเน็ตเวิร์ค ท�ำให้ผู้ใช้งานเกิดความมั่นใจได้ว่าข้อมูลจะไม่สูญหายใน ระหว่างการใช้งาน ส�ำหรับการแสดงผลนั้นใช้โปรแกรม MySQLซึ่งเป็นโปรแกรมพื้นฐานท�ำให้การปรับแต่งโปรแกรม สามารถท�ำได้ง่ายตามที่ผู้ใช้งานมีความต้องการ การน�ำไปใช้ประโยชน์: 1. ใช้ในการวัดและบันทึกผลสภาวะแวดล้อม ห้องปฏิบัติการ ของห้องปฏิบัติการทดสอบหรือ สอบเทียบ 2. สามารถน�ำไปใช้ในการให้บริการทดสอบหรือ สอบเทียบแบบออนไซต์ได้
  • 17. 15 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: อุปกรณ์ Pulse Sequence ด้วย FPGA เจ้าของผลงาน: ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่ ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า รายละเอียด: Pulse Sequence จะท�ำการสร้างสัญญาณจากจังหวะ สัญญาณนาฬิกาภายใน (Internal Oscillator) ซึ่งมีความถี่ 50MHz หรือมีคาบ 20ns พื้นฐานในการสร้าง Pulse Sequence จะใช้วงจร Flip-Flop ซึ่งถูกสร้างขึ้นใน FPGA ท�ำให้ช่วงเวลามีความแม่นย�ำมากกว่าการเขียนโปรแกรมด้วย Microcontrollerเนื่องจากบนFPGAจะเป็นการสร้างวงจร จริงขึ้นโดยค่าความละเอียดระหว่างPulseจะมีค่า40นาโน วินาที การน�ำไปใช้ประโยชน์: 1. สามารถควบคุมระบบนาฬิกาอะตอมเชิงแสงได้ อย่างแม่นย�ำ 2. น�ำไปประยุกต์ใช้ในระบบ Time Scale ซึ่งต้อง ควบคุมการวัดสัญญาณจากนาฬิกาอะตอมซีเซียม 3. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ส�ำเร็จรูปซึ่งมีราคา แพงและมีจ�ำนวนช่องสัญญาณจ�ำกัด
  • 18. 16 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: อุปกรณ์จ่ายความถี่ด้วย Direct Digital Synthesis เจ้าของผลงาน: ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่ ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า รายละเอียด: ชุดค�ำสั่งจาก FPGA หลักถูกน�ำมาเก็บไว้ในหน่วยความจ�ำ เพื่อ รอสัญญาณเริ่มการท�ำงาน (Trigger) เมื่อได้รับสัญญาณเพื่อ เริ่มการท�ำงาน FPGA จะส่งข้อมูลจ�ำนวน 64bit ไปยัง DDS เพื่อสังเคราะห์ความถี่ตั้งแต่ 0 - 400MHz ที่มีความละเอียด 81pHz โดยใช้ความถี่อ้างอิง 1.5GHz และส่งข้อมูลจ�ำนวน 14bitไปยังDACเพื่อสร้างสัญญาณอนาล็อกในการควบคุม ก�ำลังขยายสัญญาณ หรือก�ำหนดแอมปลิจูดของสัญญาณได้ การน�ำไปใช้ประโยชน์: 1. สามารถควบคุมระบบนาฬิกาอะตอมเชิงแสงได้ อย่างแม่นย�ำ 2. น�ำไปประยุกต์ใช้ในระบบ Time Scale ซึ่งต้อง ควบคุมการวัดสัญญาณจากนาฬิกาอะตอมซีเซียม 3. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ส�ำเร็จรูปซึ่งมีราคาแพง และมีจ�ำนวนช่องสัญญาณจ�ำกัด
  • 19. 17 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: อุปกรณ์ Cansat ส�ำหรับตรวจสภาพอากาศ ที่ระดับความสูงต่างๆ เจ้าของผลงาน: ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่ ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า รายละเอียด: อุปกรณ์ส�ำหรับตรวจวัดต�ำแหน่งและสภาพแวดล้อมที่ระดับ ความสูงต่างๆ สามารถท�ำการวัดตัวแปรได้ ดังนี้ 1. ต�ำแหน่งของจรวด (Latitude และ Longitude) ด้วยโมดูล GNSS 2. ความสูงของจรวด ด้วยบารอมิเตอร์ชนิดเมมเบรน 3. อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศภายนอก และ ภายในจรวดวินาที การน�ำไปใช้ประโยชน์: 1. ใช้ในการตรวจสภาพแวดล้อมก่อนการยิงจรวดดัด แปรสภาพอากาศ เพื่อใช้ในภารกิจท�ำฝนหลวง 2. การน�ำความรู้ทางมาตรวิทยามาประยุกต์ช่วย ให้การใช้งานเซนเซอร์ท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น
  • 20. 18 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: อุปกรณ์วัดความเร็วและทิศทางลมส�ำหรับนักกระโดดร่ม เจ้าของผลงาน: ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง กลุ่มงานปฐมภูมิไฟฟ้า เวลาและความถี่ ฝ่ายมาตรวิทยาไฟฟ้า รายละเอียด: อุปกรณ์วัดความเร็วและทิศทางลมส�ำหรับนักกระโดดร่ม สามารถท�ำการวัดตัวแปรได้ ดังนี้ 1. ต�ำแหน่งของอุปกรณ์ (Latitude และLongitude) ความเร็วและทิศทาง ด้วยโมดูล GNSS 2. ความสูง ด้วยบารอมิเตอร์ชนิดเมมเบรน 3. อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศภายนอก การน�ำไปใช้ประโยชน์: 1. ใช้ในการตรวจวัดทิศทางและความเร็วลมเพื่อใช้ ในภารกิจทางการทหาร 2. การน�ำความรู้ทางมาตรวิทยามาประยุกต์ช่วย ให้การใช้งานเซนเซอร์ท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น
  • 21. 19 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: NIMT Line Scale Interferometer เจ้าของผลงาน: นายสุรศักดิ์ เกิดกัญการ กลุ่มงานมาตรฐานปฐมภูมิความยาว ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: เครื่อง NIMT Line Scale Interferometer เป็นเครื่องที่ ใช้สอบเทียบ glass scale ที่เป็นระดับ working standard ที่มีพิสัยการวัดตั้งแต่ 0.01 mm ถึง 400 mm และเป็น ระบบการวัดแบบกึ่งอัตโนมัติ ระบบนี้มีความแม่นย�ำสูง ในการวัดเนื่องจากใช้ Laser interferometer system เป็น มาตรฐาน การน�ำไปใช้ประโยชน์: เครื่องที่ NIMT Line Scale Interferometer ใช้บริการสอบเทียบ glass scale ที่มีปริมาณมากกว่า 80 ชิ้นงานต่อปี โดยมีค่าความไม่แน่นอนของการวัด ได้ในระดับ0.5ไมครอนลดระยะเวลาการสอบเทียบ ประมาณ 20% เมื่อเทียบกับเครื่องระบบเดิม (Profile projector)
  • 22. 20 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: การพัฒนาการวัด Taper Thread Plug Gauge ด้วย Adjustable และ Inclinometer เจ้าของผลงาน: นายยอดยิ่ง หมวกงาม กลุ่มงานวิศวกรรมการวัดละเอียด ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: Taper Thread Plug Gauge ถูกสอบเทียบโดยใช้ Electronic Comparator และ Sine Table ซึ่งมีราคาแพง โดยปกติ ห้องปฏิบัติการส่วนใหญ่มี Pin Gauge (3-Wire) เนื่องจาก น�ำมาใช้วัด Parallel Thread Plug Gauge ดังนั้น ถ้าสามารถ Gauge ได้ จะท�ำให้ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ Electronic Comparator และ Sine Table ซึ่งมีราคาแพง การน�ำไปใช้ประโยชน์: การวัด Pitch Diameter ด้วยวิธีการใช้เครื่อง ULM ร่วมกับ Pin Gauge และ Electronic Inclinometer เป็นผลให้ห้องปฏิบัติการที่ไม่มีเครื่อง Electronic Comparator, Sine Table สามารถวัด Pitch Diameter ของ Taper Thread Plug Gauge ได้
  • 23. 21 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: การพัฒนาโปรแกรมสอบเทียบGaugeBlockComparator เจ้าของผลงาน: นายศมน เพี้ยงบางยาง กลุ่มงานมาตรฐานปฐมภูมิความยาว ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: การปรับปรุงโปรแกรมสอบเทียบเกจบล็อกด้วยเครื่อง gauge blockcomparatorเพื่อช่วยให้ได้ระบบการวัดที่มีความถูก ต้องในเรื่อง การชดเชยความยาวเนื่องจากอุณหภูมิได้อย่าง อัตโนมัติที่มีเสถียรภาพที่ดีกว่าระบบการสอบเทียบเดิม พร้อม ทั้งถ่ายโอนข้อมูลแบบอัตโนมัติ ไม่ต้องท�ำการบันทึกข้อมูล ด้วยกระดาษ การน�ำไปใช้ประโยชน์: การปรับปรุงโปรแกรมสอบเทียบเกจบล็อกด้วยเครื่อง gauge block comparator จ�ำนวน 2 ระบบ ท�ำให้ งานสอบเทียบเร็วขึ้นกว่าเดิม 20% อีกทั้งยังเป็น การลดการใช้กระดาษภายในห้องปฏิบัติการทางหนึ่ง
  • 24. 22 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: Multi-axes Interferometer เจ้าของผลงาน: ดร.วิโรจน์ สุดาธรรม กลุ่มงานวิศวกรรมการวัดละเอียด ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: เพื่อชดเชย Motion errors ของโครงสร้างเชิงกลของระบบ เลเซอร์อินเตอร์เฟียร์โรมิเตอร์ โดยการใช้ Plane laser interferometer ที่สามารถวัดระยะ (Linear measurement) ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการหมุนรอบแกนในระนาบเดียว กับทิศการเคลื่อนที่ (Pitch error) และความคลาดเคลื่อน เนื่องจากการหมุนรอบแกนในทิศที่ตั้งฉากในระนาบฉากกับ ทิศการเคลื่อนที่ (Yaw error) ซึ่งท�ำให้ระบบวัดความยาวมี ความถูกต้องสูง การน�ำไปใช้ประโยชน์: สามารถน�ำไปใช้ในการสร้างระบบวัดความยาวด้วย เลเซอร์อินเตอร์เฟียร์โรมิเตอร์และพัฒนาต่อเป็น ระบบวัดหลายแกนในการวัดเพียงคราวเดียว ลดความคลาดเคลื่อนในการถ่ายค่ามาตรฐานของการวัด เกจความยาวจึงสามารถเพิ่มความแน่นอนในการถ่าย ค่าความยาวมาตรฐานสู่ผู้ใช้ในประเทศอย่างกว้างขวาง
  • 25. 23 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: พัฒนาโปรแกรมบันทึกข้อมูลโดยอัตโนมัติส�ำหรับการวัดเส้นผ่าน ศูนย์กลางโดยเครื่อง Internal Diameter Microscope (IDM) เจ้าของผลงาน: นางสาววิชชุดา จิตต์โกศล กลุ่มงานวิศวกรรมการวัดละเอียด ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: การรายงานผลการวัดจากเครื่อง IDM จ�ำเป็นต้องมีการ ชดเชยอุณหภูมิขณะท�ำการวัดเพื่อให้ได้ผลการวัดที่อ้างอิงไปยัง อุณหภูมิมาตรฐานที่ 20 °C ท�ำการเชื่อมต่อจากเครื่อง IDM และอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นเข้าคอมพิวเตอร์ โดยการดัดแปลง สายเชื่อมRS232ต่อเข้ากับพอร์ตส�ำหรับprinterของIDM เนื่องจากพอร์ตส�ำหรับ printer ไม่ได้เป็นแบบมาตรฐาน สายเชื่อมที่มีอยู่ โปรแกรมการวัดถูกเขียนด้วย ภาษา visual basic และบันทึกลงในไฟล์ excel การน�ำไปใช้ประโยชน์: สามารถลดความผิดพลาดในการออกรายงานผล การสอบเทียบ ลดเวลาการออกใบรายงานผล การสอบเทียบลงจากเดิม น�ำไปใช้สร้างโปรแกรม ต้นแบบส�ำหรับเชื่อมต่อการวัดแบบอัตโนมัติ
  • 26. 24 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: วัสดุอ้างอิงอนุภาคนาโน (Nanoparticle reference material) เจ้าของผลงาน: ดร.จริยา บัวเจริญ กลุ่มงานมาตรวิทยานาโน ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (ศน.) ร่วมกับ มว. สังเคราะห์อนุภาค พอลิสไตรีนที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 100nm – 2μm เมื่อท�ำการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค AFM, TEM และ DLS พบว่า อนุภาคมี Size distribution 3-5% ซึ่งสามารถใช้เป็น วัสดุอ้างอิง (Reference material, RM) การน�ำไปใช้ประโยชน์: เหมาะส�ำหรับตรวจสอบความถูกต้อง (Verify) ของ เครื่องมือวัดต่างๆ เช่น เครื่อง DLS, เครื่องวัดอนุภาค ฝุ่นในห้อง Clean room หรือห้องที่ต้องควบคุม ปริมาณฝุ่น เป็นต้น และสามารถทดแทนการน�ำเข้า จากต่างประเทศ
  • 27. 25 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: โปรแกรมการวิเคราะห์ค่าความเรียบ Flatness tester เจ้าของผลงาน: ดร.จริยา บัวเจริญ กลุ่มงานมาตรวิทยานาโน ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: ใช้ส�ำหรับวิเคราะห์ค่าความเรียบของผิวชิ้นงาน โดยใช้แสง สามารถเลือกความยาวคลื่นได้เพื่อให้เหมาะกับวัสดุที่ หลากหลาย โปรแกรมเชื่อมต่อกับกล้องได้โดยตรง และ สามารถส่งผลการวัดเข้า excel ได้ทันที ใช้เวลาในการ วัดประมาณ 1 นาที/ชิ้น โปรแกรมสามารถใช้งานแบบ Stand alone ได้ การน�ำไปใช้ประโยชน์: ห้องปฏิบัติการที่ได้น�ำโปรแกรม Flatness tester V2.0 จะสามารถเพิ่มศักยภาพ และผลิตภาพใน การวัดได้ นอกจากนี้ห้องปฏิบัติการที่มีเครื่องมือ อุปกรณ์อยู่แล้ว จะสามารถยกระดับความสามารถ ของตนเองโดยการใช้โปรแกรมนี้ ซึ่งจะช่วยให้งาน บริการวัดความเรียบเพียงพอต่อความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น
  • 28. 26 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: ระบบการวัดรูปทรงอิสระด้วยเทคนิคสเตอริโอวิชั่น (Stereo Vision) เจ้าของผลงาน: ดร.ธรรมรัตน์ สมทอง กลุ่มงานมาตรวิทยานาโน ฝ่ายมาตรวิทยามิติ รายละเอียด: ระบบการวัดรูปทรงอิสระด้วยเทคนิคสเตอริโอวิชั่น เป็นการใช้ เครื่องมือวัดแบบไม่สัมผัส ส�ำหรับชิ้นงานที่มีรูปร่างอิสระที่มี ขนาด 50 มม. X 50 มม. และมีความถูกต้องประมาณ 150 ไมครอน การน�ำไปใช้ประโยชน์: ใช้ในการวัดรูปทรงอิสระของชิ้นงานที่ไม่สามารถวัดได้ ด้วยเครื่องมือแบบสัมผัสได้ และสามารถถ่ายค่าความถูก ต้องจากระบบสเตอริโอวิชั่นที่ถูกสอบเทียบแล้วไปยัง ชิ้นงานที่มีรูปทรงอิสระ
  • 29. 27 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: ระบบเชื่อมต่อข้อมูล Paperless Measurement เจ้าของผลงาน: นายภาวัต เผือกน้อย กลุ่มงานนวัตกรรมและพัฒนาเครื่องมือวัด รายละเอียด: ในกระบวนการตรวจวัดชิ้นงานซึ่งอาจจะต้องใช้เครื่องมือวัด มากกว่า 1 ชนิด เพื่อความถูกต้องและประสิทธิภาพของ กระบวนการวัด มว. จึงได้พัฒนาอุปกรณ์ชุดระบบเชื่อมต่อ ข้อมูล (Data link) และโปรแกรม i-link ขึ้นมา ท�ำให้การวัด ไม่ต้องอ่านค่า จดบันทึก และถ่ายโอนข้อมูล การน�ำไปใช้ประโยชน์: ส�ำหรับเชื่อมต่อเครื่องมือวัดผ่านกล่องเชื่อมต่อข้อมูล (Data link) เพื่อส่งค่าไปยังคอมพิวเตอร์โปรแกรม i-link ลักษณะการท�ำงานไม่ยุ่งยากเพียงแค่กดสวิตซ์ ข้อมูลการวัดก็จะถูกส่งไปยังโปรแกรม Excel หรือ โปรแกรมอื่นบนคอมพิวเตอร์ทันที ซึ่งโปรแกรม ที่พัฒนาขึ้นนี้ ผู้ใช้งานสามารถออกแบบ (format) ตารางบันทึกผลได้ และสามารถเชื่อมต่อเครื่องมือวัด พร้อมกันได้มากกว่า100ตัวต่อคอมพิวเตอร์1เครื่อง
  • 30. 28 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ระบบเครือข่าย อุปกรณ์ลูกข่าย อุปกรณ์ ชื่อผลงาน: เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นไร้สายส�ำหรับควบคุม ภาวะแวดล้อมในโรงเรือน เจ้าของผลงาน: นายพิเชษ วงษ์นุช กลุ่มงานมาตรฐานปฐมภูมิอุณหภูมิ ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: เป็นอุปกรณ์ที่น�ำหัววัดความดัน (Pressure Sensor) หัววัด ความชื้นในดิน (Soil Moisture Sensor) หัววัดอุณหภูมิ ความชื้น (Temperature and Humidity Sensor) มาพัฒนา ร่วมกับHardwareที่เรียกว่าบอร์ดArduinounoและเขียน โปรแกรมควบคุมการท�ำงานด้วย Free Software IDE เพื่อ ควบคุมภาวะแวดล้อมในโรงเรือนแบบปิด ซึ่งการติดต่อ สื่อสารของอุปกรณ์จะกระท�ำบนเครือข่ายไร้สาย (Wifi) การน�ำไปใช้ประโยชน์: สามารถใช้ควบคุมภาวะแวดล้อมในโรงเรือนทดแทน อุปกรณ์ PLC ที่มีราคาสูงและเป็นการส่งเสริมระบบ มาตรวิทยาและการวัดสู่ภาคอุตสาหกรรมการเกษตร
  • 31. 29 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: เครื่องมือจุดก�ำเนิดอุณหภูมิมาตรฐานขนาดเล็ก(MiniCell) ส�ำหรับการทวนสอบเทอร์โมคัปเปิล เจ้าของผลงาน: ดร.อ้อยใจ อ่องหร่าย กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: จุดก�ำเนิดอุณหภูมิมาตรฐานขนาดเล็กด้านในบรรจุด้วยวัสดุ Aluminum ส�ำหรับน�ำไปประยุกต์ใช้ติดตั้งกับเทอร์โมคัปเปิลใน เตาอุตสาหกรรมอบชุบโลหะ ในช่วงอุณหภูมิที่ (600–700) °C การน�ำไปใช้ประโยชน์: สามารถน�ำไปประกอบกับเทอร์โมคัปเปิลชนิด N, K ที่ใช้งานควบคุมอุณหภูมิในเตาสามารถตรวจติดตาม การเลื่อนค่าของเทอร์โมคัปเปิลได้แบบต่อเนื่อง เพื่อ ยกระดับความสามารถในการทวนสอบเครื่องมือวัด ประเภทเทอร์โมคัปเปิลส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมให้มี ความถูกต้องแม่นย�ำมากยิ่งขึ้น
  • 32. 30 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: เครื่องเจือจางก๊าซต้นแบบ (Prototype Gas Dilutor) เจ้าของผลงาน: นายอาณัฐชัย วงค์จักร์ และนางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: คุณลักษณะเครื่องเจือจางก๊าซต้นแบบมีค่าความถูกต้องของ เครื่องเจือจางก๊าซ ที่ 1% ช่วงอัตราการไหลที่เหมาะสมใช้ งานอยู่ระหว่าง 700 ถึง 1,000 sccm และอัตราส่วนการเจือจาง ที่เหมาะสมใช้งานอยู่ระหว่าง 1/20 ถึง 1/100 การน�ำไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสอบเทียบ Gas Analyzer และ Gas Detector ของ กลุ่มงานวิเคราะห์ 2. เพื่อลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตก๊าซผสม มาตรฐานของกลุ่มงานวิเคราะห์เนื่องจากมีความ หลากหลายความเข้มข้นที่ผู้ใช้บริการต้องการ 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการให้บริการสอบเทียบ Gas Analyzer และ Gas Detector
  • 33. 31 นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561 ชื่อผลงาน: กล่องเก็บเสียงขนาดเล็กต้นแบบ (Silent Box) เจ้าของผลงาน: นางสุรัตน์ ลีอุดมวงษ์ และนายอธิราช ทองบุญ กลุ่มงานเสียงและการสั่นสะเทือน รายละเอียด: กล่องถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติที่สามารถกั้นเสียงรบกวน จากภายนอก เพื่อให้มีระดับความดันเสียงต�่ำ (Background noise) โดยวัสดุที่ใช้เป็นอลูมิเนียมที่มีความหนา ภายในมี ช่องว่างตรงกลาง ด้านหน้ามีช่องส�ำหรับสวมไมโครโฟน ช่องด้านหน้าถูกออกแบบพิเศษเพื่อป้องกันเสียงจากภายนอก ไม่ให้เข้าไปด้านในกล่อง ซึ่งเป็นจุดที่มีความส�ำคัญที่สุด เนื่องจากส่งผลต่อคุณสมบัติของกล่องโดยตรง การน�ำไปใช้ประโยชน์: ใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดระดับความดันเสียง หัวข้อ Self-generated noise เป็นหัวข้อที่เป็นการ ตรวจวัดหาค่าระดับสัญญาณรบกวนขณะที่ไม่มีเสียง ใดๆ โดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้ห้องไร้เสียงสะท้อน ซึ่งจะ เหมาะส�ำหรับห้องปฏิบัติการที่ใช้อุปกรณ์ Electrostatic actuator Acoustic coupler และ Multi-frequency sound calibrator ในการสอบเทียบทางด้านเสียงซึ่ง ห้องปฏิบัติการจะไม่มีห้องไร้เสียงสะท้อน อีกทั้งช่วยใน การลดเวลาในการสอบเทียบและลดความผิดพลาด ของการสอบเทียบได้อีกด้วย