SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.255x
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์และบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
2
สารบัญ
เรื่อง หน้า
หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป
1) รหัสและชื่อหลักสูตร 5
2) ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 5
3) วิชาเอก 5
4) จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 5
5) รูปแบบของหลักสูตร 5
6) สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6
7) ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน 7
8) อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 7
9) ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 8
10) สถานที่จัดการเรียนการสอน 8
11) สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 8
12) ผลกระทบจาก ข้อ 11.1และข้อ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจ
ของสถาบัน 10
13) ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน 10
หมวดที่ 2ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1) ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 11
2) แผนพัฒนาปรับปรุง 12
หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1) ระบบการจัดการศึกษา 14
2) การดาเนินการหลักสูตร 14
3) หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 17
4) องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี) 37
5) ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย 37
หมวดที่ 4ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
1) การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 39
2) การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 40
3) แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping) 45
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
หมวดที่ 5หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
1) กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) 55
2) กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 55
3) เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 56
หมวดที่ 6การพัฒนาคณาจารย์
1) การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 57
2) การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 57
หมวดที่ 7การประกันคุณภาพหลักสูตร
1) การบริหารหลักสูตร 58
2) การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 58
3) การบริหารคณาจารย์ 60
4) การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 60
5) การสนับสนุนและการให้คาแนะนานักศึกษา 61
6) ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 61
7) ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (KeyPerformance Indicators) 62
หมวดที่ 8การประเมิน และปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร
1) การประเมินประสิทธิผลของการสอน 64
2) การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 64
3) การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 64
4) การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตร 64
ภาคผนวก
ภาคผนวก 1 ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุง 66
ภาคผนวก 2 ตารางสรุปหลักการและเหตุผล ปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
และความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ของหลักสูตรกับรายวิชา 71
ภาคผนวก 3 เปรียบเทียบความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิกับการดาเนินการ
ของผู้รับผิดชอบหลักสูตร 75
- 4
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
ภาคผนวก 4 ภาระงานสอนและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร 79
ภาคผนวก 5 ภาระงานสอนและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจา 98
ภาคผนวก 6 ภาระงานสอนและผลงานทางวิชาการของอาจารย์พิเศษ 126
ภาคผนวก 7 สาเนาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 137
ภาคผนวก 8 คาอธิบายรายวิชา 139
ภาคผนวก 9 ระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2549 171
- 5
5
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
0ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตหาดใหญ่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
(ภาษาอังกฤษ): Master of Engineering Program in Environmental Engineering
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
2.1ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)
(ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Environmental Engineering)
2.2 ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)
(ภาษาอังกฤษ) : M. Eng. (Environmental Engineering)
3. วิชาเอก
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
 หลักสูตรปริญญาโท
 อื่น ๆ (ระบุ) ...................................................................................................................................
- 6
6
5.2 ภาษาที่ใช้
 หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
 หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา)......................................................
 หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา) ภาษาอังกฤษ
5.3. การรับเข้าศึกษา
 รับเฉพาะนักศึกษาไทย
 รับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ
 รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ (หลักสูตรเปิดรับนักศึกษาต่างชาติเข้าศึกษาแผน ก
แ บ บ ก 1 ร ว ม ถึ ง ห ลั ก สู ต ร แ ผ น ก แ บ บ ก 2
ที่มีความพร้อมก็สามารถรับนักศึกษาต่างชาติได้เช่นกัน)
5.4. ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
 เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น
ชื่อสถาบัน.................................................................................................................................
รูปแบบของความร่วมมือสนับสนุน..........................................................................................
 เป็นหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่น
ชื่อสถาบัน.......................................................................ประเทศ..................................
รูปแบบของการร่วม
 ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯ เป็นผู้ให้ปริญญา
 ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯอื่น เป็นผู้ให้ปริญญา
 ร่วมมือกัน โดยผู้ศึกษาอาจได้รับปริญญาจากสองสถาบัน (หรือมากกว่า 2 สถาบัน)
5.5. การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
 ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
 ให้ปริญญามากกว่า 1สาขาวิชา (เช่น ทวิปริญญา)
 อื่น ๆ (ระบุ).........................................................................................................................
- 7
7
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
 หลักสูตรใหม่ กาหนดเปิดสอนเดือน.....................................พ.ศ. .....................…….
ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ในการประชุมครั้งที่ .........…../...........…..
เมื่อวันที่................... เดือน............................. พ.ศ. ......................
ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ ..................……...
เมื่อวันที่.................….. เดือน............................. พ.ศ. ......................
ได้รับการรับรองหลักสูตรโดยองค์กร (ถ้ามี)……………………………………………………
เมื่อวันที่................... …เดือน............................. พ.ศ. ......................
 หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555
ปรับปรุงมาจากหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
หลักสูตรใหม่พ.ศ. 2550
ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ในการประชุมครั้งที่ 89(8/2549) เมื่อวันที่
13 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2549
ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ 294 (1/2550)
เมื่อวันที่ 6 เดือน มกราคม พ.ศ. 2550
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ในปีการศึกษา 2557
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
(1) นักวิชาการหรือนักวิจัย
(2) อาจารย์ในสถาบันการศึกษา
(3) วิศวกรใน ห น่วยงาน รัฐและเอกช น ตาแห น่งต่างๆ เช่น วิศวกรสิ่ งแวดล้อม
นักวิชาการสิ่งแวดล้อม วิศวกรโครงการ เป็นต้น
(4) ประกอบอาชีพอิสระ เช่น เจ้าของกิจการ บริษัทรับเหมาก่อสร้าง ที่ปรึกษา เป็ นต้น
ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
- 8
8
9. ชื่ อ น า ม ส กุ ล เ ล ข ป ร ะ จ า ตั ว บั ต ร ป ร ะ ช า ช น ต า แ ห น่ ง
และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง
ทางวิชาการ
ชื่อ-สกุล วุฒิการศึกษาระดับ
ตรี-โท-เอก (สาขาวิชา),
ปีที่สาเร็จการศึกษา
3-9003-00376-56-8 รศ. นายอุดมผล พืชน์ไพบูลย์ วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), ม.สงขลานครินทร์
M.Eng. (Environmental Engineering), AIT
D.Eng. (Environmental Engineering), AIT
3-7399-00168-73-7 ผศ. นายชัยศรี สุขสาโรจน์ วศ.บ. (วิศวกรรมชลประทาน), ม.เกษตรศาสตร์
วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม), ม.เกษตรศาสตร์
D.Eng. (Science and Biological Process and
Industrial: Chemical Engineering), U.
Montpellier II,France
3-3099-01399-54-0 ผศ. นายสุเมธ ไชยประพัทธ์ วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) , ม.เกษตรศาสตร์
M.S. (Environmental Engineering), Iowa State
U., USA
Ph.D. (Biological andAgricultural Engineering),
NorthCarolina State U., USA
3-8099-00358-18-7 ผศ. นายจรงค์พันธ์ มุสิกะวงศ์ วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม),
ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
M.Sc. (Environmental Management),
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D. (Environmental Management),
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3-1998-0000336-7 ผศ. นางสาวธนิยา เกาศล วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร), ม.เกษตรศาสตร์
วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม), ม.เกษตรศาสตร์
D. Eng (Science and Biological Process and
Industrial: Chemical Engineering), U. of
Montpellier II,France
- 9
9
10.สถานที่จัดการเรียนการสอน
 ในสถานที่ตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
 ในสถานที่ตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต…………………….
 นอกสถานที่ตั้ง ได้แก่ (ระบุ)..........................................................………………………………
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางด้านวิชาการ
การ เจริ ญ เติ บ โต ข อ ง ภ าคอุ ต ส าห ก ร รม เก ษ ต ร ก รรม แ ละ ชุ มช น เมือ ง
ต้องการการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและองค์ความรู้หลากหลายสาขา เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างยั่งยืน
ก ล่ า ว คื อ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต้ อ ง ไ ป ด้ ว ย กั น
ดังนั้นการพัฒนาทางด้านความรู้ทางด้านวิชาการเพื่อนาไปใช้ในการป้องกันและประยุกต์เพื่อแก้ไขปัญหาเฉ
พ าะ ท าง ด้ าน สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม จึง เ ป็ น สิ่ ง จ าเป็ น เนื่ อ ง จ าก เป็ น ปั ญ ห าร ะ ดับ โ ล ก
มีการบูรณาการศาสตร์แขนงต่างๆเข้ามาในกระบวนการป้ องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม
ดังจะเห็นได้จากทั้งระดับนโยบายและประเด็นปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมเป็นที่วิภาควิจารณ์กันในวงกว้าง
เช่น ปั ญ ห ามล พิ ษ แ ละ ก ารบ าบัด ปั ญ ห าโล กร้อ น ห รื อ พ ลัง ง าน ท ด แท น เป็ น ต้น
ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม รู้ นั ก วิ จั ย
ห รื อ การร่วม ศึก ษ าค้น คว้าเท คโน โล ยีท าง ด้าน วิศ วก รรมสิ่ ง แ วด ล้อ มใ น วง ก ว้าง
ดังนั้นการทบทวนเนื้อหารายวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรให้ทันสมัยจึงเป็นสิ่งจาเป็นเพื่อให้สามารถผลิ
ตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
เป็ นเรื่องที่มีความเชื่อมโยงกันอย่างแยกไม่ออกกับภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และบริการ
ทั้งในภาคใต้และระดับประเทศ ซึ่งล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบไม่โดยตรงก็โดยอ้อมต่อสิ่งแวดล้อม
หากละเลยแล้วการพัฒนาทางด้าน เศรษฐกิจคงดาเนิน ไปไม่ได้ อีกทั้งปั จจัยด้าน กฎห มาย
เ ช่ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม พ . ศ . 2 5 3 5
ซึ่งมีข้อกฎหมายรายละเอียดมากมายที่ล้วนแล้วแต่ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมสิ่งแ
วดล้อมเพิ่มขึ้น ใน สังคมให้สอดคล้องกับการพัฒ น าทางเศรษฐกิจที่เป็ น ไปอย่างรวดเร็ ว
ไปช่วยกันแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้กลไกการใช้กฎหมายดาเนินไปได้และลดปัญหาที่จะส่งผ
ลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งก็คือพวกเราทุกคน
11.3 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
- 10
10
เป็ นที่ชัดเจนแล้วว่าองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
เ ป็ น เ ส มื อ น เ ก้ า อี้ ส า ม ข า ใ น ก ล ไ ก ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ใ ห้ ยั่ ง ยื น
ค าว่ายั่ง ยื น มีนั ยส าคัญ คื อ ก ารที่ อ ง ค์ ก ร ไ ม่ว่าร ะ ดับ ท้ อ ง ถิ่ น ป ระ เท ศ ห รื อ โล ก
ส า ม า ร ถ เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต แ ล ะ ขั บ เ ค ลื่ อ น ไ ป ไ ด้ ด้ ว ย ตั ว เ อ ง
ห า ก ล ะ เ ล ย ปั จ จั ย ใ ด ไ ป แ ล้ ว อ ง ค์ ก ร ย่อ ม ไ ม่ส า ม า ร ถ ขั บ เค ลื่ อ น ต่อ ไ ป ไ ด้
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ปั ญ ห า ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ซึ่ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ ไ ม่ไ ก ล ตั ว อี ก ต่ อ ไ ป
ทั้งนี้คาว่าเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไม่จาเป็นต้องหมายถึงความสลับซับซ้อน มีราคาแพง
ห รื อ ต้ อ ง พึ่ ง พ า เ ท ค โ น โ ล ยี จ า ก ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
ซึ่ ง ไม่สามารถน ามาแก้ไขปั ญ ห าท าง ด้าน สิ่ ง แ วดล้อ มได้อ ย่าง ทั่วถึง แ ละ ยั่ง ยืน ได้
แต่หากองค์ความรู้ของท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้านสามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และเหมาะสมกับ
ชุ ม ช น นั้ น ๆ
ได้ดังจะเห็นหน่วยงานที่มีการวิจัยเชื่อมโยงกับชุมชนอันเป็นภาพสะท้อนของการพัฒนาทางด้านสังคมและวั
ฒนธรรมควบคู่กันไปกับการป้ องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมเพื่
อเกิดประโยชน์คุ้มค่าและรวมถึงการค้นคว้าวิจัยเชิงลึกเพื่อการต่อยอดทั้งการวิจัยและการประยุกต์ด้วยเช่นกั
น
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
มีความจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรเชิงรุกที่มีศักยภาพในการผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะทั้งในเชิงวิชาการและการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพที่ครบถ้วน ทันสมัย
และมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานที่จะไปปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาเทคโน
โ ล ยี ท า ง ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม
รวมทั้งเป็นผู้ที่เป็นแบบอย่างของความมีคุณธรรมและจริยธรรมทั้งในการดาเนินชีวิตและการปฏิบัติงาน
เพื่อสนองความต้องการกาลังคนที่ยังมีความขาดแคลนอยู่อีกมากในภาคธุรกิจ
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
กระบวนวิชาที่มีการบูรณาการระหว่างศาสตร์ซึ่งเป็นจุดแข็งของมหาวิทยาลัย คือ วิทยาศาสตร์
เท ค โน โ ลยีแ ละ ง าน วิศ วก รรม แ ละ ศาส ต ร์ ท าง ด้าน ก ารบ ริ ห ารจัด การส มัยใ ห ม่
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเป็ นการผสมผสานระหว่างศาสตร์ทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการสอนทั้งในระดับบัณฑิตศึกษา มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต
ดังจะเห็นได้จากการเปิดกว้างทางการศึกษาโดยหลักสูตรมหาบัณฑิตมีการรับนักศึกษาที่จบปริญาตรีทุกสาข
า วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ท ย า ศ า ต ร์ เ ค มี ห รื อ เ ที ย บ เ ท่ า
- 11
11
การบูรณาการความรู้ดังกล่าวส่งผลทางบวกโดยตรงต่อการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ท า ง ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
ดังจะเห็ นได้จากการวิจัยหรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเชิงท้องถิ่น เช่น
ลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา อุตสาหกรรมปาล์มอุตสาหกรรมยางพารา หรืออุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล
เป็ น ต้น ซึ่ งล้วน แล้วแต่เป็ น ป ระ เด็น ที่ ส อดคล้อง ตามพัน ธกิจของมห าวิทยาลัยทั้งสิ้ น
ดังนั้นสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมจึงได้สร้างหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตขึ้นเพื่อเป็นการตอบ
สนองพันธกิจของมหาวิทยาลัยตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
- 12
12
13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่น รายวิชา
ที่เปิดสอนเพื่อให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่น หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น)
13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
 หมวดวิชาบังคับ
 หมวดวิชาเลือก
 วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/การค้นคว้าวิจัย
13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน
 หมวดวิชาบังคับ
 หมวดวิชาเลือก
 วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/การค้นคว้าวิจัย
13.3 การบริหารจัดการ ……………...………………………………………………………………
- 13
13
หมวดที่ 2ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสาคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญา
ห ลัก สู ต รวิศ ว ก รรมศ าส ต รมห าบัณ ฑิ ต ส าขาวิช าวิศ วก รร ม สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม
มุ่งเน้น ใ ห้ผู้เรียน มีองค์ความรู้ ทักษะใน กรอบวิช าชีพ ชั้น สู งด้าน วิศวกรรมสิ่ง แวดล้อม
และมีคุณภาพสูงในเชิงวิจัยปัญหาด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการร่วมกับองค์ความรู้ที่มีกับศาสตร์
ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อื่ น ๆ เ พิ่ ม ขึ้ น
เพื่ อใ ห้ ประ เท ศมีบุ คลากรที่ มีความสามารถใ น การวิเคราะ ห์ และ สั ง เคราะ ห์ ความรู้
ง า น วิ จั ย อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม มี คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม
และจรรยาบรรณที่ดีงามในการประกอบวิชาชีพด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง
1.2 ความสาคัญ/หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมด้าน การบาบัดน้าเสีย การบาบัดมลพิษทางอากาศ
ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ก า จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย
ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในทุกภาคส่วนของการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนเพื่อให้เกิดการป้ องกัน
บ าบั ด แ ล ะ ล ด มล พิ ษ จ าก แ ห ล่ง ก าเนิ ด ชุ มช น อุ ต ส าห ก รร ม แ ล ะ เก ษ ต รก ร ร ม
ให้อยู่ในระดับที่สามารถปล่อยเข้าสู่ระบบสิ่งแวดล้อมได้โดยไม่ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษเพิ่มขึ้
น และสามารถหมุนเวียนทรัพยากรน้าที่ผ่านการบาบัด การแปรรูปของเสียเพื่อหมุนเวียนใช้ใหม่
ท า ใ ห้ ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร อ ย่ า ง คุ้ ม ค่ า แ ล ะ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
อี ก ทั้ ง ก า ร ตื่ น ตั ว ทั้ ง จ า ก ภ า ค รั ฐ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
รวมถึงนโยบายที่ชัดเจนด้านการสนับสนุนการทาวิจัยในทุกด้านเพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศควบคู่กับการ
รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
ความต้องการวิศวกรและนักวิจัยที่มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมในระดับขั้นสูง
เพื่อเข้าไปวิเคราะห์ประเด็นปัญหาเพื่อนาไปสู่งานวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมที่เหมาะส
มเพื่อควบคุมและลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น อีกทั้งสามารถปฏิบัติงานในงานที่ปรึกษา ออกแบบ
ควบคุมระบบวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเพื่อบาบัดและลดมลภาวะให้อยู่ในระดับที่มาตรฐานกาหนดและไม่เกิดผ
ลกระท บต่อระ บบนิ เวศ รวมถึง วาง แผน ระ บบการจัดการทางวิศวกรรมสิ่ ง แวดล้อม
เท ค โน โ ล ยีสิ่ ง แ วด ล้อ ม ที่ สั ม พั น ธ์ กับ ระ บ บ ก าร จัด ก ารสิ่ ง แ ว ด ล้อม อ ย่าง ล ง ตัว
โดยเฉพ าะ ภ าคใต้ที่มีอุตสาห กรรมการเกษตรเป็ น ห ลัก เช่น อุตส าห กรรมยางพ ารา
อุตสาหกรรมอาหารทะเลและอุตสาหกรรมน้ามันปาล์ม
ภาควิช าวิศวกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มห าวิทยาลัยสงขลาน คริน ทร์
ได้เปิดทาการสอนในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มาตั้งแต่ปี พ.ศ.
2550 จน ถึงปั จจุบัน ได้มีการปรับป รุง ภ ายใน ระ ดับส าขาวิช า/รายวิช าอย่าง ต่อเนื่ อ ง
- 14
14
และเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและข้อกาหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ง
ชาติ พ.ศ. 2552จึงเห็นสมควรดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยยิ่งขึ้น
- 15
15
วัตถุประสงค์
1. เพื่อผลิตวิศวกรระดับมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองและวิเครา
ะ ห์ ปั ญ ห า ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไ ด้ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
มีความรู้วิช าการที่ทันสมัยและมีทักษะเชิงวิศวกรรมด้าน การออกแบบ ควบคุม
ดูแลกระบวน การ หน่วยปฏิบัติการด้านการบาบัดมลพิษน้ า อากาศ ขยะมูลฝอย
ของ เสี ยอัน ต ราย แล ะ มีศัก ยภ าพ พัฒ น าเท ค โน โล ยี ที่ ใ ช้ใ น ง าน วิจัย
และปรับปรุงเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมกับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน
2. เพื่อประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีสู่การปฏิบัติในการสังเคราะห์องค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาวิ
ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ อ ยู่ บ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ง า น วิ จั ย
หรือการนาความรู้ทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ร่วมกับสาขาวิชาการด้านอื่นๆ
เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถถ่ายทอดเผยแพร่ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิ
ภาพ
3. เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในองค์กรเอ
ก ช น รั ฐ บ า ล
และท้องถิ่นในภูมิภาคของภาคใต้ให้มีคุณภาพและศักยภาพทางวิชาการด้านวิศวกรรมสิ่งแว
ดล้อมที่สูงขึ้น
4. เพื่อให้บริการและความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆทั้งของภาคราชการและเอกชนทั้งในด้าน
วิชาการและการวิจัยซึ่งต้องใช้ความรู้วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมขั้นสูง ตลอดจนการแลกเปลี่ยน
และช่วยเหลือในด้านความรู้ ระหว่างนักวิชาการในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยต่างๆ
- 16
16
2. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผน ดัชนีชี้วัด
1 .
อาจารย์ประจาหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน
ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
อาจารย์ ประ จ าห ลักสู ตรร้อย ละ 80
เข้าร่วมประชุม
กาหนดให้มีการประชุมคณาจ
2. หลักสูตรสอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ มีรายละเอียดหลักสูตรตามแบบ มคอ.02
ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
-
จัดทาแผนพัฒนา/ปรับปรุงหล
-กาหนดให้มีการประชุมคณะ
3. จั ดท าราย ละ เอี ย ดข อ ง ราย วิชา (ม ค อ.03)
ครบทุกวิชาตามกาหนด
ทุกรายวิชาที่แจ้งเปิดสอนมีรายละเอียดรายวิชา
( ม ค อ . 0 3 )
ครบทุกรายวิชาก่อนเปิดภาคการศึกษา
-รวบรวม มคอ.03 ของทุกราย
4. จัดทารายงานผลการดาเนิ นการของรายวิชาตามแบบ
มคอ.05 ตามกาหนด
มี มคอ.05 ครบทุกรายวิชาภายใน 30 วัน
หลังสิ้นสุดภาคการศึกษา
-รวบรวม มคอ.05 ของทุกราย
5. จัดทารายงานการดาเนิ นการของหลักสูตร (มคอ.07)
ตามกาหนด
มี ม ค อ .0 7 ภ า ย ใ น 6 0 วั น
หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
- 17
17
แผน ดัชนีชี้วัด
6 .
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน
มคอ.03
อย่างน้อยร้อยละ 25ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศ
7. น าผ ลก ารป ระ เมิ น ผล การเรี ย น รู้ที่ ราย ง าน ใ น ม ค อ.07
มาพัฒนา/ปรับปรุงการเรียนการสอนและกลยุทธ์การสอน
มี ก าร น าผ ล ก าร ป ระ เมิ น ผ ล ก ารเ รี ย น รู้ ท
ปีก่อนมาพัฒนา/ปรับปรุงการเรียนการสอนและกลยุทธ์การส
8. มีการปฐมนิเทศหรือให้คาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอนแก่อาจารย์ใหม่ อาจารย์ใหม่ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านกา
9 .
อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการหรือวิชาชีพสม่าเสมอ
อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการห
แผน ดัชนีชี้วัด
10. บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/วิชาชีพ บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาทางวิช
50ต่อปี
11. นักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพหลักสูตร นักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่มีความพึงพอใจต่อคุณภ
จากคะแนนเต็ม 5.0
12. ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อมหาบัณฑิตของหลักสูตร ผู้ใช้บัณฑิตใหม่มีความพึงพอใจต่อมหาบัณฑิตขอ
จากคะแนนเต็ม 5.0
13.
- 18
18
หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
 ระบบทวิภาค ภาคการศึกษาละ 16 สัปดาห์
 ระบบไตรภาค ภาคการศึกษาละ......................................สัปดาห์
 ระบบจตุรภาค ภาคการศึกษาละ......................................สัปดาห์
 ระบบอื่น ๆ(ระบุรายละเอียด)...................................................................................................
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
 มีภาคฤดูร้อน
 ไม่มีภาคฤดูร้อน
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1. วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
 วัน – เวลาราชการปกติ
 นอกวัน –เวลาราชการ (ระบุ)...............................................................................
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
 ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้สาเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต
 มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม
1. หลักสูตรแผน 1 แบบ ก 1
ก. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมสิ่
งแวดล้อมสาขาวิศวกรรมเคมีหรือเทียบเท่า มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00
สาหรับการให้คะแนนที่กาหนดระดับขั้นสูงสุดมีค่าเท่ากับ 4.00
- 19
19
2. หลักสูตรแผน ก แบบ ก 2
ก. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตทุกสาขา
ห รือวิทยาศาสตรบัณ ฑิตทุกสาขา มีคะแน น เฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.50
สาหรับการให้คะแนนที่กาหนดระดับขั้นสูงสุดมีค่าเท่ากับ 4.00 หรือ
ข. ผู้สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตทุกสาขา
หรือวิทยาศาสตรบัณฑิตทุกสาขา ที่มีประสบการณ์การทางานไม่น้อยกว่า 3 ปี
คุณสมบัติอื่นๆ นอกเหนือจากข้อ 1 และ 2 ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
 มีเกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะ (เช่น เฉพาะนักบริหาร เฉพาะข้าราชการ)
(ระบุ)....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
นักศึกษา มีข้อจากัดใน ทักษะ ภ าษาอัง กฤษ และ นักศึกษาไม่มีเวลาเรียน เต็มที่
เนื่องจากมีธุรกิจส่วนตัว หรือขาดประสบการณ์ในการทาวิจัย
2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา /ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3
นักศึกษาต้องสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ข้อสอบ PSU-Graduate English Test
ก่อน จบการศึก ษา ห รือ ต้อง ลง ทะ เบียน เรียน วิช าภ าษาอังก ฤษจาน วน 1 วิช า
แ ล ะ ส อ บ ผ่ า น ไ ด้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ S
หรือผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันอื่นที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน
2 ปี ณ วัน เ ข้ าศึ ก ษ า ส่ ว น นั ก ศึ ก ษ า ที่ ไ ม่มี เว ล า เรี ย น อ ย่า ง เต็ ม ที่
นั ก ศึ ก ษ าแ ล ะ อ าจ าร ย์ที่ ป รึ ก ษ าต้อ ง ท าค ว ามเข้าใ จ กัน ใ น เรื่ อ ง ข อ ง เวล า
และจัดตารางเวลาให้ตรงกันเพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้ามาปรึกษาข้อมูลกับอาจารย์ที่ปรึกษาได้
นักศึกษาที่ขาดประสบการณ์ในการวิจัยควรสอดแทรกหลักการวิจัยในวิชาเรียนหรือเชิญผู้มีประสบ
การณ์งานวิจัยมาถ่ายทอดประสบการณ์ในวิชาสัมมนา
- 20
20
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5ปี
จานวนนักศึกษา
จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา
2555 2556 2557 2558 2559
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ชั้นปีที่ 1 15 15 15 20 20
ชั้นปีที่ 2 - 15 15 15 20
รวม 15 30 30 35 40
คาดว่าจะจบการศึกษา - - 15 15 15
หมายเหตุ:จานวนนักศึกษาที่ระบุข้างต้นเป็นจานวนรวมในแผนการศึกษาแผน ก แบบก 1และ แบบ ก
2 โดย จานวนนักศึกษาสาหรับแผนการศึกษาประเภท แผน ก แบบ ก1 จานวน 3 คน/ปี
ทั้ ง นี้ ส า ม า ร ถ ป รั บ จ า น ว น เ พิ่ ม -ล ด
ได้ตามความเหมาะสมและผ่านความเห็นชอบอย่างเป็ นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตร
2.6 งบประมาณตามแผน
รา ย จ่าย ข อ ง ห ลัก สู ต ร ใ ช้ ง บ ป ร ะ มา ณ จ าก เงิ น ง บ ป ร ะ ม าณ แ ผ่น ดิ น
และเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ วิทยาเขตหาดให ญ่
รวมทั้งงบประมาณในส่วนที่คณาจารย์ของภาควิชาได้รับในโครงการวิจัยที่เสนอขอรับจากแหล่งทุน
ต่างๆ โดยค่าใช้จ่ายเฉพาะดาเนินการในการผลิตมหาบัณฑิตต่อคน ประมาณ 120,000 บาท ดังนี้
1. ค่าครุภัณฑ์เฉลี่ย 40,000 บาท
2. ค่าซ่อม-ปรับปรุงอาคารเฉลี่ย 9,000 บาท
3. ค่าใช้สอย, เงินเดือน-ค่าจ้าง 38,400 บาท
4. ค่าใช้สอย-วัสดุ 19,100 บาท
5. ค่าสาธารณูปโภค 8,000 บาท
6. อุดหนุน/รายจ่ายอื่น 5,500 บาท
รวม 120,000 บาท
- 21
21
2.7 ระบบการศึกษา
 แบบชั้นเรียน
 แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก
 แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก
 แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก (E-learning)
 แบบทางไกลทางอินเตอร์เนต
 อื่นๆ (ระบุ) ..............................................................................................................................
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี)
ไม่มี
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
3.1 หลักสูตรให้ระบุรายละเอียดดังต่อไปนี้
3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร
 แผน ก แบบ ก 1 36 หน่วยกิต
- วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
 แผน ก แบบ ก 2 36 หน่วยกิต
- หมวดวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกิต
- วิทยานิพนธ์ 18 หน่วยกิต
นักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนวิชาสัมมนาตามแผนที่กาหนด แต่จะไม่นับหน่วยกิต
และต้องผ่านการประเมินจากกรรมการสอบวิชาสัมมนา ดังนี้
223-551 สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
Seminar in Environmental Engineering
0(0-1-2)
ก) นั ก ศึ ก ษ าใ น แ ผ น ก าร ศึ ก ษ า แ ผ น ก แ บ บ ก 1 แ ล ะ แ ผ น ก แ บ บ ก 2
จ ะ ต้ อ ง ล ง ท ะ เ บี ย น เ รี ย น โ ด ย ไ ม่ นั บ ห น่ ว ย กิ ต
ในรายวิชาระดับปริญญาโทที่เปิ ดสอนใน มห าวิทยาลัยตามความเห มาะสม หรือ
สั ม พั น ธ์ กั บ หั ว ข้ อ ที่ ส น ใ จ ใ น ก า ร ท า วิ ท ย า นิ พ น ธ์
โ ด ย อ ยู่ใ น ดุ ล ย พิ นิ จ ข อ ง อ า จ า ร ย์ ที่ ป รึ ก ษ า วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ห ลั ก
อ า จ าร ย์ ที่ ค า ด ว่าจ ะ แ ต่ง ตั้ ง เป็ น ที่ ป รึ ก ษ าวิท ย านิ พ น ธ์ ห ลั ก แ ล ะ
ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
- 22
22
ข) นักศึกษาสามารถเปลี่ยนแผนการศึกษาระหว่าง แผน ก แบบ ก1 และ แผน ก แบบ ก2 ได้
โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
3.1.3 รายวิชา
3.1.3.1 รายวิชา
หมวดวิชาบังคับ (Core Courses)
วิชาบังคับ เเผน ก เเบบก 2 จานวน 12 หน่วยกิต
223-501 วิศวกรรมการบาบัดน้าเสียขั้นสูง 3(3-0-6)
(Advanced Wastewater Treatment and Engineering)
223-502 เทคโนโลยีประปาขั้นสูงและการออกแบบ 3(3-0-6)
(Advanced Water Supply Technology andDesign)
223-511 วิศวกรรมกากของเสียและการวางแผน 3(3-0-6)
(Solid Waste Engineering and Planning)
223-522 ระบบการควบคุมมลพิษอากาศและการออกแบบ 3(3-0-6)
(Air Pollution Control System and Design)
หมวดวิชาเลือก(Elective Courses)รอปรับ---เปลี่ยนแปลง
วิชาเลือกเเผน กเเบบ ก 2 จานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
223-503 แหล่งน้าและการจัดการคุณภาพน้า 3(3-0-6)
(Water Resource andWater Quality Management)
223-504 เทคโนโลยีเมมเบรนสาหรับการปรับปรุงคุณภาพน้าและบาบัดน้าเสีย 3(3-0-6)
(Membrane Technology for Water and Wastewater Treatment)
223-512 การจัดการและการออกแบบหลุมฝังกลบมูลฝอยชุมชน 3(3-0-6)
(Municipal Solid Waste Landfill Design and Management)
223-513 การประเมินวัฏจักรชีวิตเพื่อการวางแผนของเสีย 3(3-0-6)
(Life Cycle Assessment for Waste Planning)
223-514 การจัดการของเสีย 3(3-0-6)
(Waste Management)
223-515 การจัดการของเสียอันตรายและการออกแบบ 3(3-0-6)
(Hazardous Waste Management and Design)
223-521 เสียงรบกวนในสิ่งแวดล้อมเมืองและการควบคุม 3(3-0-6)
- 23
23
(UrbanEnvironmental Noise and Control)
223-531 การเปลี่ยน-แปรรูปชีวมวลและสารอินทรีย์ 3(3-0-6)
เพื่อเป็นพลังงานหมุนเวียน
(Biomass and Organics Conversion for Renewable Energy)
223-541 การป้องกันมลพิษเพื่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
(Pollution Prevention for Environment)
223-542 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
(Environmental Impact Assessment)
223-543 การฟื้นฟูสภาพโดยวิธีทางชีวภาพ 3(3-0-6)
(Bioremediation)
223-552 ปฏิบัติการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(0-6-3)
(Environmental Engineering Laboratory)
223-553 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1 3(3-0-6)
(Special Topic in Environmental Engineering I)
223-554 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 2 3(3-0-6)
(Special Topic in Environmental Engineering II)
223-555 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3 3(3-0-6)
(Special Topic in Environmental Engineering III)
223-556 ระบบนิเวศเพื่อการลดภาวะมลพิษ 3(3-0-6)
(Ecological System for Pollution Abatement)
223-557 อนามัยสิ่งแวดล้อมและการสุขาภิบาล 3(3-0-6)
(Environmental Health and Sanitation)
220-524 ธรณีเทคนิคของของเสีย 3(3-0-6)
(Waste Geotechnics)
220-622 การจาลองการไหลของน้าใต้ดินและการเคลื่อนที่ 3(3-0-6)
ของสารปนเปื้อน
(Groundwater Flow and Contaminant Transport Modeling)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนในหลักสูตรอื่นๆ
ข อ ง บั ณ ฑิ ต วิท ย า ลัย แ ล ะ ย อ ม ใ ห้ ล ง ท ะ เบี ย น เรี ย น ได้ ไ ม่เกิ น 6 ห น่ ว ย กิ ต
ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรก่อนลงทะเบียนเรียน
หมวดวิชาวิทยานิพนธ์
เเผน กเเบบ ก 2
- 24
24
223-850 วิทยานิพนธ์ 18(0-36-18)
(Thesis)
เเผน กเเบบ ก 1
223-851 วิทยานิพนธ์ 36(0-72-36)
(Thesis)
รายวิชาที่นักศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเอง เพื่อปรับพื้นฐานทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ส าห รั บ ผู้ ที่ ไ ม่ไ ด้ส า เร็ จ ก าร ศึ ก ษ า ชั้ น ป ริ ญ ญ าต รี ส าข า วิศ วก รร ม สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม
ให้ เรี ยน รายวิช าป รับ พื้ น ฐาน ตามที่ค ณ ะ ก รรมการบ ริ ห ารห ลักสู ตรฯ เห็ น ส มค วร
(ไม่นับรวมเป็นหน่วยกิตสะสมของหลักสูตร)
- 25
25
3.1.3.2 ความหมายของรหัสวิชา
รหัสวิชา ประกอบด้วยรหัสตัวเลข 6หลัก มีความหมายดังต่อไปนี้
ตัวเลข 3ตัวแรก คือ 223-xxx หมายถึงรหัสประจาสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา (แสดงถึงภาควิชาที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในรายวิชานั้นๆ)
ตัวเลขหลักร้อย หมายถึง ชั้นปีหรือระดับการศึกษาของรายวิชานั้น
เลข 1-4 หมายถึง วิชาในระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4ตามลาดับ
เลข 5-6 หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา
เลข 8X2หมายถึง วิทยานิพนธ์แบบ ก2
เลข 8X3หมายถึง วิทยานิพนธ์แบบ ก1
ตัวเลขหลักสิบ หมายถึง กลุ่มวิชา
เลข 0 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านน้าและน้าเสีย
เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านวิศวกรรมและการจัดการขยะมูลฝอย
เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านอากาศและเสียง
เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านพลังงานและการเผาไหม้
เลข 4 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
เลข 5 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านอื่นๆ
ตัวเลขหลักหน่วย หมายถึง ลาดับรายวิชา หมายถึง อันดับของรายวิชาโดยจะเริ่มจาก 1 ถึง 9
3.1.3.3 ความหมายของจานวนหน่วยกิตเช่น 3(2-3-4) มีความหมายดังต่อไปนี้
ตัวเลขที่ 1(3) หมายถึง จานวนหน่วยกิตรวม
ตัวเลขที่ 2(2) หมายถึง จานวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์
ตัวเลขที่ 3(3) หมายถึง จานวนชั่วโมงปฏิบัติการต่อสัปดาห์
ตัวเลขที่ 4(4) หมายถึง จานวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเองต่อสัปดาห์
- 26
26
3.1.4 แผนการศึกษา
3.1.4.1 แผนการศึกษาเเผน ก แบบ ก1
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9)
Thesis
220-582* ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Research Methodology in Environmental Engineering
หากเพิ่มตรงนี้ต้องปรับด้านหน้าตามด้วย และคานวณหน่วยกิตรวมที้งหมดใหม่
รวม 6(0-18-
15)
ชั่วโมง /สัปดาห์ =21
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9)
Thesis
รวม 9(0-18-9)
ชั่วโมง /สัปดาห์ =28
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
223-551 สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 0(0-1-2)
Seminar in Environmental Engineering
223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9)
Thesis
รวม 9(0-27-0)
ชั่วโมง /สัปดาห์ =27
- 27
27
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9)
Thesis
รวม 12(0-36-0)
ชั่วโมง /สัปดาห์ =36
*รวมรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต (non-
credit) ไว้ในหมวดวิชาบังคับด้วย และต้องผ่านการประเมินจากอาจารย์ผู้สอน
3.1.4.2 เเผน กแบบ ก 2
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
223-5xx ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Research Methodology in Environmental Engineering
223-522 ระบบการควบคุมมลพิษอากาศและการออกแบบ 3(3-0-6)
Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
223-501 วิศวกรรมการบาบัดน้าเสียขั้นสูง 3(3-0-6)
Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
223-502 เทคโนโลยีประปาขั้นสูงและการออกแบบ 3(3-0-6)
Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
223-5XX วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
รวม 12(12-0-24)
ชั่วโมง /สัปดาห์ =12
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
223-511 วิศวกรรมกากของเสียและการวางแผน 3(3-0-6)
Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
223-551 สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 0(0-1-2)
Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
223-5XX วิชาเลือก 3(3-0-6)
223-850 วิทยานิพนธ์ 3(0-12-6)
Thesis
รวม 8(6-6-12)
ชั่วโมง /สัปดาห์ =12
- 28
28
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
223-850 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9)
Thesis
รวม 9(0-18-9)
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 18
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
223-850 วิทยานิพนธ์ 6(0-6-3)
Thesis
รวม 6(0-6-3)
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 6
*สัมมน าวิศวกรรมสิ่ งแวดล้อมเป็ น รายวิชาบังคับที่ไม่นับห น่วยกิต (non-credit)
แ ล ะ ต้ อ ง ผ่ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น จ า ก ก ร ร ม ก า ร ส อ บ วิ ช า สั ม ม น า
ซึ่งนักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาสัมมนาตามแผนที่กาหนด
- 29
29
3.1.5 คาอธิบายรายวิชา
หมวดวิชาบังคับ (Core Courses)
223-501 วิศวกรรมการบาบัดน้าเสียขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Wastewater Treatment and Engineering
ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี
ผลของภาวะมลพิษน้าต่อระบบนิเวศและการปรับกระบวนการต่างๆในระบบนิเวศเนื่องจากภาวะมลพิษน้า
ความสาคัญของการบาบัดน้ าเสียจากชุมชนและอุตสาหกรรมด้วยกระบวนการทางกายภาพ-เคมี
ชีววิทยาและการออกแบบขั้นสูง การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงสาหรับการบาบัดขั้นที่สามเพื่อกาจัดธาตุอาหาร
แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ชี ว ภ า พ แ บ บ ไ ร้ อ า ก า ศ ที่ อั ต ร า ก า ร บ า บั ด สู ง
เทคโน โลยีน วัตกรรมเพื่อกาจัดสารมลพิษอนิ น ทรี ย์และ อิน ท รีย์ปน เปื้ อน ใน น้ า ฯลฯ
การนาน้าทิ้งกลับมาใช้ซ้าและใช้ใหม่ในภาคชุมชนและอุตสาหกรรม
Definition and Theory; effect of water pollution on ecosystem and adapted processes
in ecosystem from water pollution; importance of urban wastewater and industrial treatment by
physiochemical process; biological and advanced design; application of advanced technologies for tertiary
treatment of nutrients and high rate anaerobic process; innovation technology for removalof inorganic and
organic pollutants contamination in water; wastewater reuse and recycling in community and industry
223-502 เทคโนโลยีประปาขั้นสูงและการออกแบบ 3(3-0-6)
Advanced Water SupplyTechnology and Design
หลักการและกลไกของการปรับปรุงคุณภาพน้าเพื่อการประปา คุณภาพน้าประปา
การวิเคราะ ห์ ปั ญ ห าระ บ บ ประ ปา ห ลักการตกต ะ กอ น การกรอง การฆ่าเชื้อ โรค
เทคโน โลยีและการบาบัดขั้น สู งสาห รับบาบัดน้ าเพื่อผลิตน้ าประ ปาและ น้ าอุตสาหกรรม
กระบวนการออกซิเดชันขั้นสูง การดูดซับ การแลกเปลี่ยนประจุ และการกรองแบบใช้เยื่อแผ่น
การออกแบบระบบประปา
Principle and mechanism of water treatment for water supply production; quality of
water supply; analysis of water supply systems; principle of settling, filtration and disinfection;
technology and advanced treatment for water treatment to water supply industrial water production;
advanced oxidation- adsorption-ion exchange andmembrane filtration; design of water supply systems
- 30
30
223-511 วิศวกรรมกากของเสียและการวางแผน 3(3-0-6)
Solid Waste Engineering and Planning
ห ลั ก ก า ร จั ด ก า ร ข อ ง เ สี ย ที่ เ ป็ น ข อ ง แ ข็ ง
ผลของภ าวะ มลพิษของเสียที่เป็ น ของแข็งต่อระบบนิ เวศและการปรับกระบวน การต่างๆ
ในระบบนิเวศเนื่องจากภาวะมลพิษของเสียที่เป็ นของแข็ง การวิเคราะห์ปัญหาและศักยภาพ
ก า ร พั ฒ น า แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
ก า ร อ อ ก แ บ บ ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม เ พื่ อ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร
การควบคุมและตรวจสอบระบบทางวิศวกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการออกแบบ
Principle of solid waste management; effect of solid waste pollution on ecosystem
and adapted processes in ecosystem from solid waste pollution; problem and performance analysis;
development of management plan; environmental law and economic; engineering design for effective
management system; control and monitoring of engineering system; computer programming for the
design
223-522ระบบการควบคุมมลพิษอากาศและการออกแบบ 3(3-0-6)
Air Pollution Control System and Design
ลั ก ษ ณ ะ ก า ย ภ า พ แ ล ะ เ ค มี ข อ ง ส า ร ม ล พิ ษ อ า ก า ศ
ผลของภาวะมลพิษอากาศต่อระบบนิเวศและการปรับกระบวนการต่างๆในระบบนิเวศเนื่องจากภาวะมลพิษ
อากาศ มาตรฐานการปล่อยอากาศเสียและการจัดการ การเลือกอุปกรณ์ควบคุมมลพิษอากาศ
พื้นฐานการเผาไหม้และผลิตภัณฑ์เหลือค้างจากการเผาไหม้วิธีการลดอุณหภูมิก๊าซร้อน กลไกการควบคุม
ก า ร อ อ ก แ บ บ อุ ป ก ร ณ์ ค ว บ คุ ม
และ ประ สิ ทธิ ภาพ การรวบรวมสารมลพิษจากแห ล่งกาเนิ ดอยู่กับที่ให้อยู่ใน รูปของแข็ง
กลไกการควบคุมสารมลพิ ษรูปก๊าซจากแห ล่งกาเนิ ดอยู่กับที่โดยการดูดติดผิว การเผา
พื้นฐานการออกแบบอุปกรณ์ควบคุม และการควบคุมการปล่อยของเสียจากแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่ เช่น
ยานพาหนะ กฎหมายและเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม
Physical and chemical characteristics of air pollutants; effect of air pollution on
ecosystem and adapted processes in ecosystem from air pollution; emission standard and management;
selection of air pollution equipments; basic of incineration and residual products; methods for reducing
temperature of gaseous; mechanism control; design of control equipment and efficiency of pollutants
- 31
31
collection from stationary sources into solid form; mechanism for gaseous control at stationary source by
adsorption; incineration and basic design of control equipments and emission control from mobile sources
such as vehicles; environmental law and economic
- 32
32
223-551สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 0(0-1-2)
Seminarin Environmental Engineering
การน าเสน อหั วข้อ ป ระ เด็น ท าง วิศ วก รรมสิ่ ง แวดล้อมที่ น่าสน ใ จ
การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของภาวะมลพิษต่อระบบนิเวศ
การมีส่วนร่วมในการนาเสนอและการอภิปรายรายละเอียดจากเอกสารวิชาการ หรือ งานวิจัย
น า ส่ ง ร า ย ง าน แ ล ะ ส รุ ป ก า ร สั ม ม น า ภ า ย ใ ต้ ค า แ น ะ น า ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร
ของอาจารย์ประจาวิชาหรือคณาจารย์สาขาวิชาฯ
Interested topics and issues presentation in environmental engineering; development
of new technology for environmental engineering; impact of pollution on ecosystem; participation in
presentation and discussion in details study of academic paper or research paper; report preparation and
seminar conclusion under instructor of department seminar
หมวดวิชาเลือก (Elective Courses)
223-503 แหล่งน้าและการจัดการคุณภาพน้า 3(3-0-6)
Water Resource and Water QualityManagement
แ ห ล่ง น้ าจื ด แ ล ะ คุณ ภ า พ น้ า ก าร จัด ก า รน้ า แ ล ะ พื้ น ที่ ลุ่ม น้ า
ชนิดและแหล่งของเสียปนเปื้ อนในน้ า ผลกระทบของน้าเสียต่อสิ่งแวดล้อม ควบคุมและป้ องกัน
ก า ร ว า ง แ ผ น จั ด ก า ร คุ ณ ภ า พ น้ า
การประยุกต์ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์สาหรับการจัดการคุณภาพน้าในแม่น้า ลาคลองและปากแม่น้า
การจัดรูปองค์กรเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพน้าในประเทศไทย
Fresh water resources and water quality; water and catchments area management;
types and sources of wastes contamination in water; wastewater impacts on environment; protection and
control; water quality planning; application of modeling tool for water quality management in rivers;
canals and estuaries; organization of water quality control in Thailand
223-504 เทคโนโลยีเมมเบรนสาหรับการปรับปรุงคุณภาพน้าและบาบัดน้าเสีย 3(3-0-6)
Membrane Technology for Water and Wastewater treatment
เทคโนโลยเมมเบรน รูปแบบชุดเมมเบรน หลักพื้นฐานของการแยกด้วยเมมเบรน
ฟาวลิ่งและการป้ องกัน ระบบเทคโนโลยีเมมเบรนสาหรับผลิตน้ าใช้และน้ าดื่มคุณภาพสู ง
การประยุกต์ใช้สาหรับบาบัดน้าเสียชุมชน อุตสาหกรรม ข้อดี-ข้อจากัดเปรียบเทียบรูปแบบการใช้งาน
- 33
33
ได้แ ก่ ไม โค รฟิ ลเต รชั่น อัล ตร าฟิ ล เต รชั่น น าโน ฟิ ล เต รชั่น รี เวอ ร์ อ อส โมซิ ส
ระบบเทคโนโลยีเมมเบรนแบบผสมผสาน การฟื้นสภาพ การเดินระบบฯ และการออกแบบ
Membrane technology; types of membrane module; basic principle of membrane
separation; systems of membrane technology for potable water and drinking water production; application
for domestic wastewater and industrial treatment; advantages and limitations; comparison of
configurations application; such as microfiltration, ultrafiltration, nanofiltration and reverse osmosis;
integrated membrane systems; regeneration; operations and designs
223-512 การจัดการและการออกแบบหลุมฝังกลบมูลฝอยชุมชน 3(3-0-6)
Municipal Solid Waste LandfillDesign and Management
บทบาทของห ลุมฝังกลบในการจัดการขยะชุมชน ช นิดของห ลุมฝังกลบ
ห ลัก ท าง วิศ วก รรมข อง ห ลุ มฝั ง ก ลบ ก าร ออ ก แ บ บ ลัก ษ ณ ะ น้ าช ะ ข ยะ แ ละ ก๊าซ
ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ร ว บ ร ว ม น้ า ช ะ ข ย ะ แ ล ะ ร ะ บ บ ร ว บ ร ว ม ก๊ า ซ
กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการและจัดการ การควบคุมหลุมฝังกลบและจัดการ
Role of landfill in municipal solid waste management; type of landfill; engineering
principle of landfill; design of landfill; characteristics of landfill leachate and gas; design of leachate
collection system and gas collection system; legislation and standard relevant to landfill operation and
management; landfill management and control
223-513 การวิเคราะห์วัฏจักรชีวิตเพื่อการวางแผนของเสีย 3(3-0-6)
Life Cycle Assessment for Waste Planning
ภ าพ รวมข อง การวิเค ราะ ห์ วัฏ จักรชี วิต วิธี วิเค ราะ ห์ วัฏ จัก รชี วิต
ภ าพ รวมขอ ง ค่าใ ช้จ่ายวัฏ จัก รชี วิต กร ะ บ วน ก ารป ระ เมิน ค่าใ ช้จ่ายวัฏ จัก รชี วิต
การประยุกต์ใช้วัฏจักรชีวิตในการการวางแผนของเสีย แบบจาลองคอมพิวเตอร์ในวัฏจักรชีวิต
Overview of LCA; LCA methodology; overview of life cycle cost; life cycle
cost assessment process; application of LCA in waste planning, computer model in LCA
223-514 การจัดการของเสีย 3(3-0-6)
Waste Management
ประเภทของของเสีย ธรรมชาติและสมบัติของของเสียในรูปต่างๆ(ของเหลว ของแข็ง
และ ก๊าซ) แห ล่งกาเนิ ดและกระบวน การเกิดของ เสี ยต่าง ๆ ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
- 34
34
ปรัช ญาการจัดการปั จจุบัน มาตรฐาน และ กฏระเบียบที่จาเป็ น น โยบายและแผน การ
เทคโนโลยีทางวิศวกรรมที่ดีและเหมาะสม การจัดการองค์กร
Types of waste; nature and properties of waste (liquid, solid, air); generation sources
and formation process of wastes; effects on the environment; current management philosophy; necessary
regulation and standard; policy and plan; best available engineering technology; management organization
223-515 การจัดการของเสียอันตรายและการออกแบบ 3(3-0-6)
Hazardous Waste Management and Design
การ วิเค ร าะ ห์ ลัก ษ ณ ะ ข อ ง เสี ยอัน ต ร าย ก าร เลื อ ก วิธี ก ารจัด ก าร
การออกแบบระบบการเก็บรวบรวม การออกแบบระบบการขนส่ง การออกแบบระบบการบาบัด
ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ก า ร ก า จั ด ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม
กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการของเสียอันตราย
Analysis of hazardous waste characteristics; selection of management method; design
of collection system; design of transportation system; design of treatment system; design of disposal
system; system management and control; legislation and standard relevant to hazardous waste
management
223-521 เสียงรบกวนในสิ่งแวดล้อมเมืองและการควบคุม 3(3-0-6)
Urban Environmental Noise and Control
สมบัติทางกายภ าพ ของเสี ยง มาตราส่วน และระ ดับ เครื่องมือวัดเสี ยง
ก า ร ส า ร ว จ เ สี ย ง ร บ ก ว น ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง เ สี ย ง ร บ ก ว น ต่ อ สุ ข ภ า พ
กลไกและชนิดเสียงรบกวนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ การรบกวนการนอนหลับจากเสียงรบกวน
ผลกระทบต่อโสตประสาทจากเสียงรบกวน ผลตอบสน องของชุมชนในมลภาวะทางเสียง
แหล่งกาเนิดเสียงรบกวน การทานายเสียงรบกวน วิธีการลดเสียงรบกวน การควบคุมเสียงรบกวนในเมือง
จราจร อุตสาหกรรม อากาศยาน รถไฟ ชุมชน ฉนวนกั้นเสียงในอาคาร
Physical properties of sound; scales and ratings; measurement instrumentation;
noise surveys; effect of noise on health; mechanisms and types of noise health effects; sleep disturbance
by noise; pathological non-auditory effects of noise; community response to environmental noise; sources
of noise; prediction of noise; methods for reducing noise; urban noise control; road traffic noise control;
- 35
35
industrial noise control; aircraft noise control; railway noise control; community noise control; acoustical
insulation of buildings
- 36
36
223-531การเปลี่ยน-แปรรูปชีวมวล สารอินทรีย์ 3(3-0-6)
เพื่อเป็นพลังงานหมุนเวียน
Biomass and Organics Conversion forRenewable Energy
ศักยภาพของชีวมวล สารอินทรีย์ที่จะใช้เป็นพลังงาน แหล่งชีวมวลและสารอินทรีย์
การผลิตชีวมวล รูปชีวมวลและปัญหาการนากลับมาใช้ การแปรรูปโดยกระบวนการความร้อน
ก ารสั น ด าป โด ย ต ร ง ก ารเป ลี่ ย น เป็ น ก๊ าซ เชื้ อ เพ ลิ ง ก ร ะ บ วน ก าร ไ พ โร ไร ซิ ส
การผลิตพลังงานระดับกาลังผลิตสูงและการผลิตเมทานอล การแปรรูปโดยกระบวนการชีววิทยา
ก า ร ย่ อ ย ส ล า ย แ บ บ ไ ม่ ใ ช้ อ า ก า ศ แ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต เ อ ทิ ล แ อ ล ก อ ฮ อ ล์
การผลิตก๊าซชีวภาพในอุตสาหกรรมและการควบคุมมลภาวะ การใช้น้ามันพืชเชื้อเพลิงเป็นแหล่งพลังงาน
การใช้พ ลังงาน ชีวมวลเดินเครื่องยนต์แบบกังหันก๊าซ เทคโนโลยีสาหรับพลังงานทดแทน
การประเมินเชิงเศรษฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
Potential of biomass and organic as an energy source; sources of biomass and
organic; biomass production; forms of biomass and problems in recovering of biomass; thermal
conversion; direct combustion; gasification; pyrolysis; large scale power production from biomass and
methanol; biological conversion; anaerobic digestion and ethanol production; industrial biogas production
and pollution control: plant-derived oil as an energy source; operation of gas turbine on biomass fuels;
technology for renewable energy; economic andenvironmental assessment
223-541 การป้ องกันมลพิษเพื่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Pollution Prevention forEnvironment
ปรัชญาปัจจุบันของการจัดการของเสีย ทฤษฎีการป้องกันมลพิษ (การลดของเสีย
การจัดการแบบยั่งยืน การจัดการเชิงบูรณาการ) แนวปฏิบัติการป้องกันมลพิษ (การปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ
กระบวนการ การแลกของเสีย นิเวศวิทยาอุตสาหกรรม) เครื่องมือการป้องกันมลพิษ
(การประเมินวัฏจักรชีวิต ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม) การออกแบบโปรแกรมป้ องกันมลพิษ
Current philosophy of waste management hierarchy; pollution prevention theory
(waste minimization, sustainable waste management, integrated waste management); pollution prevention
practices (material changes, process changes, waste exchange, industrial ecology); pollution prevention
tool(life cycle assessment, environmental management system); pollution prevention program design
- 37
37
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)
Tqf env(1)

More Related Content

What's hot

จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
นายจักราวุธ คำทวี
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
vittaya411
 
แผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหาแผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหา
Khon Kaen University
 

What's hot (14)

ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
 
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่7แผนการจัดการเรียนรู้ที่7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่7
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3แผนการจัดการเรียนรู้ที่3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่5แผนการจัดการเรียนรู้ที่5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่5
 
Computer project2564
Computer project2564Computer project2564
Computer project2564
 
แผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหาแผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้หลักการแก้ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6แผนการจัดการเรียนรู้ที่6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่4แผนการจัดการเรียนรู้ที่4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่4
 

Similar to Tqf env(1)

ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
pentanino
 
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
nam-kaew_25
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
Nang Ka Nangnarak
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4
Surapong Jakang
 

Similar to Tqf env(1) (20)

ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
 
Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่10แผนการจัดการเรียนรู้ที่10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่10
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
 
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 600 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
 
04 curriculum
04 curriculum04 curriculum
04 curriculum
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Ad sast56
Ad sast56Ad sast56
Ad sast56
 

Tqf env(1)

  • 2. 2 สารบัญ เรื่อง หน้า หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป 1) รหัสและชื่อหลักสูตร 5 2) ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 5 3) วิชาเอก 5 4) จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 5 5) รูปแบบของหลักสูตร 5 6) สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6 7) ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน 7 8) อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 7 9) ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 8 10) สถานที่จัดการเรียนการสอน 8 11) สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 8 12) ผลกระทบจาก ข้อ 11.1และข้อ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจ ของสถาบัน 10 13) ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน 10 หมวดที่ 2ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1) ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 11 2) แผนพัฒนาปรับปรุง 12 หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1) ระบบการจัดการศึกษา 14 2) การดาเนินการหลักสูตร 14 3) หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 17 4) องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี) 37 5) ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย 37 หมวดที่ 4ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1) การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 39 2) การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 40 3) แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 45
  • 3. สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า หมวดที่ 5หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 1) กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) 55 2) กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 55 3) เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 56 หมวดที่ 6การพัฒนาคณาจารย์ 1) การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 57 2) การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 57 หมวดที่ 7การประกันคุณภาพหลักสูตร 1) การบริหารหลักสูตร 58 2) การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 58 3) การบริหารคณาจารย์ 60 4) การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 60 5) การสนับสนุนและการให้คาแนะนานักศึกษา 61 6) ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 61 7) ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (KeyPerformance Indicators) 62 หมวดที่ 8การประเมิน และปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร 1) การประเมินประสิทธิผลของการสอน 64 2) การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 64 3) การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 64 4) การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตร 64 ภาคผนวก ภาคผนวก 1 ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุง 66 ภาคผนวก 2 ตารางสรุปหลักการและเหตุผล ปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ของหลักสูตรกับรายวิชา 71 ภาคผนวก 3 เปรียบเทียบความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิกับการดาเนินการ ของผู้รับผิดชอบหลักสูตร 75
  • 4. - 4 สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า ภาคผนวก 4 ภาระงานสอนและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร 79 ภาคผนวก 5 ภาระงานสอนและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจา 98 ภาคผนวก 6 ภาระงานสอนและผลงานทางวิชาการของอาจารย์พิเศษ 126 ภาคผนวก 7 สาเนาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 137 ภาคผนวก 8 คาอธิบายรายวิชา 139 ภาคผนวก 9 ระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2549 171
  • 5. - 5 5 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 0ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตหาดใหญ่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (ภาษาอังกฤษ): Master of Engineering Program in Environmental Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 2.1ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Environmental Engineering) 2.2 ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) (ภาษาอังกฤษ) : M. Eng. (Environmental Engineering) 3. วิชาเอก หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ  หลักสูตรปริญญาโท  อื่น ๆ (ระบุ) ...................................................................................................................................
  • 6. - 6 6 5.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา)......................................................  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา) ภาษาอังกฤษ 5.3. การรับเข้าศึกษา  รับเฉพาะนักศึกษาไทย  รับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ  รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ (หลักสูตรเปิดรับนักศึกษาต่างชาติเข้าศึกษาแผน ก แ บ บ ก 1 ร ว ม ถึ ง ห ลั ก สู ต ร แ ผ น ก แ บ บ ก 2 ที่มีความพร้อมก็สามารถรับนักศึกษาต่างชาติได้เช่นกัน) 5.4. ความร่วมมือกับสถาบันอื่น  เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ  เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น ชื่อสถาบัน................................................................................................................................. รูปแบบของความร่วมมือสนับสนุน..........................................................................................  เป็นหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่น ชื่อสถาบัน.......................................................................ประเทศ.................................. รูปแบบของการร่วม  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯ เป็นผู้ให้ปริญญา  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯอื่น เป็นผู้ให้ปริญญา  ร่วมมือกัน โดยผู้ศึกษาอาจได้รับปริญญาจากสองสถาบัน (หรือมากกว่า 2 สถาบัน) 5.5. การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  ให้ปริญญามากกว่า 1สาขาวิชา (เช่น ทวิปริญญา)  อื่น ๆ (ระบุ).........................................................................................................................
  • 7. - 7 7 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรใหม่ กาหนดเปิดสอนเดือน.....................................พ.ศ. .....................……. ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ในการประชุมครั้งที่ .........…../...........….. เมื่อวันที่................... เดือน............................. พ.ศ. ...................... ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ ..................……... เมื่อวันที่.................….. เดือน............................. พ.ศ. ...................... ได้รับการรับรองหลักสูตรโดยองค์กร (ถ้ามี)…………………………………………………… เมื่อวันที่................... …เดือน............................. พ.ศ. ......................  หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 ปรับปรุงมาจากหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หลักสูตรใหม่พ.ศ. 2550 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ในการประชุมครั้งที่ 89(8/2549) เมื่อวันที่ 13 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2549 ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ 294 (1/2550) เมื่อวันที่ 6 เดือน มกราคม พ.ศ. 2550 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2557 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา (1) นักวิชาการหรือนักวิจัย (2) อาจารย์ในสถาบันการศึกษา (3) วิศวกรใน ห น่วยงาน รัฐและเอกช น ตาแห น่งต่างๆ เช่น วิศวกรสิ่ งแวดล้อม นักวิชาการสิ่งแวดล้อม วิศวกรโครงการ เป็นต้น (4) ประกอบอาชีพอิสระ เช่น เจ้าของกิจการ บริษัทรับเหมาก่อสร้าง ที่ปรึกษา เป็ นต้น ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
  • 8. - 8 8 9. ชื่ อ น า ม ส กุ ล เ ล ข ป ร ะ จ า ตั ว บั ต ร ป ร ะ ช า ช น ต า แ ห น่ ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง ทางวิชาการ ชื่อ-สกุล วุฒิการศึกษาระดับ ตรี-โท-เอก (สาขาวิชา), ปีที่สาเร็จการศึกษา 3-9003-00376-56-8 รศ. นายอุดมผล พืชน์ไพบูลย์ วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), ม.สงขลานครินทร์ M.Eng. (Environmental Engineering), AIT D.Eng. (Environmental Engineering), AIT 3-7399-00168-73-7 ผศ. นายชัยศรี สุขสาโรจน์ วศ.บ. (วิศวกรรมชลประทาน), ม.เกษตรศาสตร์ วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม), ม.เกษตรศาสตร์ D.Eng. (Science and Biological Process and Industrial: Chemical Engineering), U. Montpellier II,France 3-3099-01399-54-0 ผศ. นายสุเมธ ไชยประพัทธ์ วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) , ม.เกษตรศาสตร์ M.S. (Environmental Engineering), Iowa State U., USA Ph.D. (Biological andAgricultural Engineering), NorthCarolina State U., USA 3-8099-00358-18-7 ผศ. นายจรงค์พันธ์ มุสิกะวงศ์ วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม), ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี M.Sc. (Environmental Management), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Ph.D. (Environmental Management), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3-1998-0000336-7 ผศ. นางสาวธนิยา เกาศล วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร), ม.เกษตรศาสตร์ วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม), ม.เกษตรศาสตร์ D. Eng (Science and Biological Process and Industrial: Chemical Engineering), U. of Montpellier II,France
  • 9. - 9 9 10.สถานที่จัดการเรียนการสอน  ในสถานที่ตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่  ในสถานที่ตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต…………………….  นอกสถานที่ตั้ง ได้แก่ (ระบุ)..........................................................……………………………… 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางด้านวิชาการ การ เจริ ญ เติ บ โต ข อ ง ภ าคอุ ต ส าห ก ร รม เก ษ ต ร ก รรม แ ละ ชุ มช น เมือ ง ต้องการการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและองค์ความรู้หลากหลายสาขา เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างยั่งยืน ก ล่ า ว คื อ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต้ อ ง ไ ป ด้ ว ย กั น ดังนั้นการพัฒนาทางด้านความรู้ทางด้านวิชาการเพื่อนาไปใช้ในการป้องกันและประยุกต์เพื่อแก้ไขปัญหาเฉ พ าะ ท าง ด้ าน สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม จึง เ ป็ น สิ่ ง จ าเป็ น เนื่ อ ง จ าก เป็ น ปั ญ ห าร ะ ดับ โ ล ก มีการบูรณาการศาสตร์แขนงต่างๆเข้ามาในกระบวนการป้ องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม ดังจะเห็นได้จากทั้งระดับนโยบายและประเด็นปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมเป็นที่วิภาควิจารณ์กันในวงกว้าง เช่น ปั ญ ห ามล พิ ษ แ ละ ก ารบ าบัด ปั ญ ห าโล กร้อ น ห รื อ พ ลัง ง าน ท ด แท น เป็ น ต้น ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม รู้ นั ก วิ จั ย ห รื อ การร่วม ศึก ษ าค้น คว้าเท คโน โล ยีท าง ด้าน วิศ วก รรมสิ่ ง แ วด ล้อ มใ น วง ก ว้าง ดังนั้นการทบทวนเนื้อหารายวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรให้ทันสมัยจึงเป็นสิ่งจาเป็นเพื่อให้สามารถผลิ ตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับความต้องการของสังคม 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เป็ นเรื่องที่มีความเชื่อมโยงกันอย่างแยกไม่ออกกับภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และบริการ ทั้งในภาคใต้และระดับประเทศ ซึ่งล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบไม่โดยตรงก็โดยอ้อมต่อสิ่งแวดล้อม หากละเลยแล้วการพัฒนาทางด้าน เศรษฐกิจคงดาเนิน ไปไม่ได้ อีกทั้งปั จจัยด้าน กฎห มาย เ ช่ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม พ . ศ . 2 5 3 5 ซึ่งมีข้อกฎหมายรายละเอียดมากมายที่ล้วนแล้วแต่ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมสิ่งแ วดล้อมเพิ่มขึ้น ใน สังคมให้สอดคล้องกับการพัฒ น าทางเศรษฐกิจที่เป็ น ไปอย่างรวดเร็ ว ไปช่วยกันแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้กลไกการใช้กฎหมายดาเนินไปได้และลดปัญหาที่จะส่งผ ลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งก็คือพวกเราทุกคน 11.3 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
  • 10. - 10 10 เป็ นที่ชัดเจนแล้วว่าองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เ ป็ น เ ส มื อ น เ ก้ า อี้ ส า ม ข า ใ น ก ล ไ ก ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ใ ห้ ยั่ ง ยื น ค าว่ายั่ง ยื น มีนั ยส าคัญ คื อ ก ารที่ อ ง ค์ ก ร ไ ม่ว่าร ะ ดับ ท้ อ ง ถิ่ น ป ระ เท ศ ห รื อ โล ก ส า ม า ร ถ เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต แ ล ะ ขั บ เ ค ลื่ อ น ไ ป ไ ด้ ด้ ว ย ตั ว เ อ ง ห า ก ล ะ เ ล ย ปั จ จั ย ใ ด ไ ป แ ล้ ว อ ง ค์ ก ร ย่อ ม ไ ม่ส า ม า ร ถ ขั บ เค ลื่ อ น ต่อ ไ ป ไ ด้ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ปั ญ ห า ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ซึ่ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ ไ ม่ไ ก ล ตั ว อี ก ต่ อ ไ ป ทั้งนี้คาว่าเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไม่จาเป็นต้องหมายถึงความสลับซับซ้อน มีราคาแพง ห รื อ ต้ อ ง พึ่ ง พ า เ ท ค โ น โ ล ยี จ า ก ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ซึ่ ง ไม่สามารถน ามาแก้ไขปั ญ ห าท าง ด้าน สิ่ ง แ วดล้อ มได้อ ย่าง ทั่วถึง แ ละ ยั่ง ยืน ได้ แต่หากองค์ความรู้ของท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้านสามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และเหมาะสมกับ ชุ ม ช น นั้ น ๆ ได้ดังจะเห็นหน่วยงานที่มีการวิจัยเชื่อมโยงกับชุมชนอันเป็นภาพสะท้อนของการพัฒนาทางด้านสังคมและวั ฒนธรรมควบคู่กันไปกับการป้ องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมเพื่ อเกิดประโยชน์คุ้มค่าและรวมถึงการค้นคว้าวิจัยเชิงลึกเพื่อการต่อยอดทั้งการวิจัยและการประยุกต์ด้วยเช่นกั น 12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร มีความจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรเชิงรุกที่มีศักยภาพในการผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะทั้งในเชิงวิชาการและการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพที่ครบถ้วน ทันสมัย และมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานที่จะไปปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาเทคโน โ ล ยี ท า ง ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม รวมทั้งเป็นผู้ที่เป็นแบบอย่างของความมีคุณธรรมและจริยธรรมทั้งในการดาเนินชีวิตและการปฏิบัติงาน เพื่อสนองความต้องการกาลังคนที่ยังมีความขาดแคลนอยู่อีกมากในภาคธุรกิจ 12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน กระบวนวิชาที่มีการบูรณาการระหว่างศาสตร์ซึ่งเป็นจุดแข็งของมหาวิทยาลัย คือ วิทยาศาสตร์ เท ค โน โ ลยีแ ละ ง าน วิศ วก รรม แ ละ ศาส ต ร์ ท าง ด้าน ก ารบ ริ ห ารจัด การส มัยใ ห ม่ สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเป็ นการผสมผสานระหว่างศาสตร์ทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการสอนทั้งในระดับบัณฑิตศึกษา มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต ดังจะเห็นได้จากการเปิดกว้างทางการศึกษาโดยหลักสูตรมหาบัณฑิตมีการรับนักศึกษาที่จบปริญาตรีทุกสาข า วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ท ย า ศ า ต ร์ เ ค มี ห รื อ เ ที ย บ เ ท่ า
  • 11. - 11 11 การบูรณาการความรู้ดังกล่าวส่งผลทางบวกโดยตรงต่อการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ท า ง ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ดังจะเห็ นได้จากการวิจัยหรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเชิงท้องถิ่น เช่น ลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา อุตสาหกรรมปาล์มอุตสาหกรรมยางพารา หรืออุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล เป็ น ต้น ซึ่ งล้วน แล้วแต่เป็ น ป ระ เด็น ที่ ส อดคล้อง ตามพัน ธกิจของมห าวิทยาลัยทั้งสิ้ น ดังนั้นสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมจึงได้สร้างหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตขึ้นเพื่อเป็นการตอบ สนองพันธกิจของมหาวิทยาลัยตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
  • 12. - 12 12 13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่น รายวิชา ที่เปิดสอนเพื่อให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่น หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น) 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น  หมวดวิชาบังคับ  หมวดวิชาเลือก  วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/การค้นคว้าวิจัย 13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน  หมวดวิชาบังคับ  หมวดวิชาเลือก  วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/การค้นคว้าวิจัย 13.3 การบริหารจัดการ ……………...………………………………………………………………
  • 13. - 13 13 หมวดที่ 2ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา ห ลัก สู ต รวิศ ว ก รรมศ าส ต รมห าบัณ ฑิ ต ส าขาวิช าวิศ วก รร ม สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม มุ่งเน้น ใ ห้ผู้เรียน มีองค์ความรู้ ทักษะใน กรอบวิช าชีพ ชั้น สู งด้าน วิศวกรรมสิ่ง แวดล้อม และมีคุณภาพสูงในเชิงวิจัยปัญหาด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการร่วมกับองค์ความรู้ที่มีกับศาสตร์ ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อื่ น ๆ เ พิ่ ม ขึ้ น เพื่ อใ ห้ ประ เท ศมีบุ คลากรที่ มีความสามารถใ น การวิเคราะ ห์ และ สั ง เคราะ ห์ ความรู้ ง า น วิ จั ย อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม มี คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม และจรรยาบรรณที่ดีงามในการประกอบวิชาชีพด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง 1.2 ความสาคัญ/หลักการและเหตุผล ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมด้าน การบาบัดน้าเสีย การบาบัดมลพิษทางอากาศ ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ก า จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในทุกภาคส่วนของการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนเพื่อให้เกิดการป้ องกัน บ าบั ด แ ล ะ ล ด มล พิ ษ จ าก แ ห ล่ง ก าเนิ ด ชุ มช น อุ ต ส าห ก รร ม แ ล ะ เก ษ ต รก ร ร ม ให้อยู่ในระดับที่สามารถปล่อยเข้าสู่ระบบสิ่งแวดล้อมได้โดยไม่ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษเพิ่มขึ้ น และสามารถหมุนเวียนทรัพยากรน้าที่ผ่านการบาบัด การแปรรูปของเสียเพื่อหมุนเวียนใช้ใหม่ ท า ใ ห้ ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร อ ย่ า ง คุ้ ม ค่ า แ ล ะ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อี ก ทั้ ง ก า ร ตื่ น ตั ว ทั้ ง จ า ก ภ า ค รั ฐ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม รวมถึงนโยบายที่ชัดเจนด้านการสนับสนุนการทาวิจัยในทุกด้านเพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศควบคู่กับการ รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ความต้องการวิศวกรและนักวิจัยที่มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมในระดับขั้นสูง เพื่อเข้าไปวิเคราะห์ประเด็นปัญหาเพื่อนาไปสู่งานวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมที่เหมาะส มเพื่อควบคุมและลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น อีกทั้งสามารถปฏิบัติงานในงานที่ปรึกษา ออกแบบ ควบคุมระบบวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเพื่อบาบัดและลดมลภาวะให้อยู่ในระดับที่มาตรฐานกาหนดและไม่เกิดผ ลกระท บต่อระ บบนิ เวศ รวมถึง วาง แผน ระ บบการจัดการทางวิศวกรรมสิ่ ง แวดล้อม เท ค โน โ ล ยีสิ่ ง แ วด ล้อ ม ที่ สั ม พั น ธ์ กับ ระ บ บ ก าร จัด ก ารสิ่ ง แ ว ด ล้อม อ ย่าง ล ง ตัว โดยเฉพ าะ ภ าคใต้ที่มีอุตสาห กรรมการเกษตรเป็ น ห ลัก เช่น อุตส าห กรรมยางพ ารา อุตสาหกรรมอาหารทะเลและอุตสาหกรรมน้ามันปาล์ม ภาควิช าวิศวกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มห าวิทยาลัยสงขลาน คริน ทร์ ได้เปิดทาการสอนในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จน ถึงปั จจุบัน ได้มีการปรับป รุง ภ ายใน ระ ดับส าขาวิช า/รายวิช าอย่าง ต่อเนื่ อ ง
  • 15. - 15 15 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อผลิตวิศวกรระดับมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองและวิเครา ะ ห์ ปั ญ ห า ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไ ด้ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ มีความรู้วิช าการที่ทันสมัยและมีทักษะเชิงวิศวกรรมด้าน การออกแบบ ควบคุม ดูแลกระบวน การ หน่วยปฏิบัติการด้านการบาบัดมลพิษน้ า อากาศ ขยะมูลฝอย ของ เสี ยอัน ต ราย แล ะ มีศัก ยภ าพ พัฒ น าเท ค โน โล ยี ที่ ใ ช้ใ น ง าน วิจัย และปรับปรุงเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมกับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน 2. เพื่อประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีสู่การปฏิบัติในการสังเคราะห์องค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาวิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ อ ยู่ บ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ง า น วิ จั ย หรือการนาความรู้ทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ร่วมกับสาขาวิชาการด้านอื่นๆ เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถถ่ายทอดเผยแพร่ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิ ภาพ 3. เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในองค์กรเอ ก ช น รั ฐ บ า ล และท้องถิ่นในภูมิภาคของภาคใต้ให้มีคุณภาพและศักยภาพทางวิชาการด้านวิศวกรรมสิ่งแว ดล้อมที่สูงขึ้น 4. เพื่อให้บริการและความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆทั้งของภาคราชการและเอกชนทั้งในด้าน วิชาการและการวิจัยซึ่งต้องใช้ความรู้วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมขั้นสูง ตลอดจนการแลกเปลี่ยน และช่วยเหลือในด้านความรู้ ระหว่างนักวิชาการในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยต่างๆ
  • 16. - 16 16 2. แผนพัฒนาปรับปรุง แผน ดัชนีชี้วัด 1 . อาจารย์ประจาหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร อาจารย์ ประ จ าห ลักสู ตรร้อย ละ 80 เข้าร่วมประชุม กาหนดให้มีการประชุมคณาจ 2. หลักสูตรสอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ มีรายละเอียดหลักสูตรตามแบบ มคอ.02 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ - จัดทาแผนพัฒนา/ปรับปรุงหล -กาหนดให้มีการประชุมคณะ 3. จั ดท าราย ละ เอี ย ดข อ ง ราย วิชา (ม ค อ.03) ครบทุกวิชาตามกาหนด ทุกรายวิชาที่แจ้งเปิดสอนมีรายละเอียดรายวิชา ( ม ค อ . 0 3 ) ครบทุกรายวิชาก่อนเปิดภาคการศึกษา -รวบรวม มคอ.03 ของทุกราย 4. จัดทารายงานผลการดาเนิ นการของรายวิชาตามแบบ มคอ.05 ตามกาหนด มี มคอ.05 ครบทุกรายวิชาภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษา -รวบรวม มคอ.05 ของทุกราย 5. จัดทารายงานการดาเนิ นการของหลักสูตร (มคอ.07) ตามกาหนด มี ม ค อ .0 7 ภ า ย ใ น 6 0 วั น หลังสิ้นสุดปีการศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  • 17. - 17 17 แผน ดัชนีชี้วัด 6 . มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน มคอ.03 อย่างน้อยร้อยละ 25ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศ 7. น าผ ลก ารป ระ เมิ น ผล การเรี ย น รู้ที่ ราย ง าน ใ น ม ค อ.07 มาพัฒนา/ปรับปรุงการเรียนการสอนและกลยุทธ์การสอน มี ก าร น าผ ล ก าร ป ระ เมิ น ผ ล ก ารเ รี ย น รู้ ท ปีก่อนมาพัฒนา/ปรับปรุงการเรียนการสอนและกลยุทธ์การส 8. มีการปฐมนิเทศหรือให้คาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอนแก่อาจารย์ใหม่ อาจารย์ใหม่ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านกา 9 . อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการหรือวิชาชีพสม่าเสมอ อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการห แผน ดัชนีชี้วัด 10. บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/วิชาชีพ บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาทางวิช 50ต่อปี 11. นักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพหลักสูตร นักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่มีความพึงพอใจต่อคุณภ จากคะแนนเต็ม 5.0 12. ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อมหาบัณฑิตของหลักสูตร ผู้ใช้บัณฑิตใหม่มีความพึงพอใจต่อมหาบัณฑิตขอ จากคะแนนเต็ม 5.0 13.
  • 18. - 18 18 หมวดที่ 3ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ  ระบบทวิภาค ภาคการศึกษาละ 16 สัปดาห์  ระบบไตรภาค ภาคการศึกษาละ......................................สัปดาห์  ระบบจตุรภาค ภาคการศึกษาละ......................................สัปดาห์  ระบบอื่น ๆ(ระบุรายละเอียด)................................................................................................... 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน  มีภาคฤดูร้อน  ไม่มีภาคฤดูร้อน 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1. วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน  วัน – เวลาราชการปกติ  นอกวัน –เวลาราชการ (ระบุ)............................................................................... 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา  ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า  ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้สาเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต  มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม 1. หลักสูตรแผน 1 แบบ ก 1 ก. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมสิ่ งแวดล้อมสาขาวิศวกรรมเคมีหรือเทียบเท่า มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 สาหรับการให้คะแนนที่กาหนดระดับขั้นสูงสุดมีค่าเท่ากับ 4.00
  • 19. - 19 19 2. หลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 ก. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตทุกสาขา ห รือวิทยาศาสตรบัณ ฑิตทุกสาขา มีคะแน น เฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.50 สาหรับการให้คะแนนที่กาหนดระดับขั้นสูงสุดมีค่าเท่ากับ 4.00 หรือ ข. ผู้สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตทุกสาขา หรือวิทยาศาสตรบัณฑิตทุกสาขา ที่มีประสบการณ์การทางานไม่น้อยกว่า 3 ปี คุณสมบัติอื่นๆ นอกเหนือจากข้อ 1 และ 2 ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร  มีเกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะ (เช่น เฉพาะนักบริหาร เฉพาะข้าราชการ) (ระบุ).................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. 2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า นักศึกษา มีข้อจากัดใน ทักษะ ภ าษาอัง กฤษ และ นักศึกษาไม่มีเวลาเรียน เต็มที่ เนื่องจากมีธุรกิจส่วนตัว หรือขาดประสบการณ์ในการทาวิจัย 2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา /ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 นักศึกษาต้องสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ข้อสอบ PSU-Graduate English Test ก่อน จบการศึก ษา ห รือ ต้อง ลง ทะ เบียน เรียน วิช าภ าษาอังก ฤษจาน วน 1 วิช า แ ล ะ ส อ บ ผ่ า น ไ ด้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ S หรือผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันอื่นที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน 2 ปี ณ วัน เ ข้ าศึ ก ษ า ส่ ว น นั ก ศึ ก ษ า ที่ ไ ม่มี เว ล า เรี ย น อ ย่า ง เต็ ม ที่ นั ก ศึ ก ษ าแ ล ะ อ าจ าร ย์ที่ ป รึ ก ษ าต้อ ง ท าค ว ามเข้าใ จ กัน ใ น เรื่ อ ง ข อ ง เวล า และจัดตารางเวลาให้ตรงกันเพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้ามาปรึกษาข้อมูลกับอาจารย์ที่ปรึกษาได้ นักศึกษาที่ขาดประสบการณ์ในการวิจัยควรสอดแทรกหลักการวิจัยในวิชาเรียนหรือเชิญผู้มีประสบ การณ์งานวิจัยมาถ่ายทอดประสบการณ์ในวิชาสัมมนา
  • 20. - 20 20 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5ปี จานวนนักศึกษา จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา 2555 2556 2557 2558 2559 วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ชั้นปีที่ 1 15 15 15 20 20 ชั้นปีที่ 2 - 15 15 15 20 รวม 15 30 30 35 40 คาดว่าจะจบการศึกษา - - 15 15 15 หมายเหตุ:จานวนนักศึกษาที่ระบุข้างต้นเป็นจานวนรวมในแผนการศึกษาแผน ก แบบก 1และ แบบ ก 2 โดย จานวนนักศึกษาสาหรับแผนการศึกษาประเภท แผน ก แบบ ก1 จานวน 3 คน/ปี ทั้ ง นี้ ส า ม า ร ถ ป รั บ จ า น ว น เ พิ่ ม -ล ด ได้ตามความเหมาะสมและผ่านความเห็นชอบอย่างเป็ นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ บริหารหลักสูตร 2.6 งบประมาณตามแผน รา ย จ่าย ข อ ง ห ลัก สู ต ร ใ ช้ ง บ ป ร ะ มา ณ จ าก เงิ น ง บ ป ร ะ ม าณ แ ผ่น ดิ น และเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ วิทยาเขตหาดให ญ่ รวมทั้งงบประมาณในส่วนที่คณาจารย์ของภาควิชาได้รับในโครงการวิจัยที่เสนอขอรับจากแหล่งทุน ต่างๆ โดยค่าใช้จ่ายเฉพาะดาเนินการในการผลิตมหาบัณฑิตต่อคน ประมาณ 120,000 บาท ดังนี้ 1. ค่าครุภัณฑ์เฉลี่ย 40,000 บาท 2. ค่าซ่อม-ปรับปรุงอาคารเฉลี่ย 9,000 บาท 3. ค่าใช้สอย, เงินเดือน-ค่าจ้าง 38,400 บาท 4. ค่าใช้สอย-วัสดุ 19,100 บาท 5. ค่าสาธารณูปโภค 8,000 บาท 6. อุดหนุน/รายจ่ายอื่น 5,500 บาท รวม 120,000 บาท
  • 21. - 21 21 2.7 ระบบการศึกษา  แบบชั้นเรียน  แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก  แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก  แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก (E-learning)  แบบทางไกลทางอินเตอร์เนต  อื่นๆ (ระบุ) .............................................................................................................................. 2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี) ไม่มี 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตรให้ระบุรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร  แผน ก แบบ ก 1 36 หน่วยกิต - วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต  แผน ก แบบ ก 2 36 หน่วยกิต - หมวดวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต - หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกิต - วิทยานิพนธ์ 18 หน่วยกิต นักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนวิชาสัมมนาตามแผนที่กาหนด แต่จะไม่นับหน่วยกิต และต้องผ่านการประเมินจากกรรมการสอบวิชาสัมมนา ดังนี้ 223-551 สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม Seminar in Environmental Engineering 0(0-1-2) ก) นั ก ศึ ก ษ าใ น แ ผ น ก าร ศึ ก ษ า แ ผ น ก แ บ บ ก 1 แ ล ะ แ ผ น ก แ บ บ ก 2 จ ะ ต้ อ ง ล ง ท ะ เ บี ย น เ รี ย น โ ด ย ไ ม่ นั บ ห น่ ว ย กิ ต ในรายวิชาระดับปริญญาโทที่เปิ ดสอนใน มห าวิทยาลัยตามความเห มาะสม หรือ สั ม พั น ธ์ กั บ หั ว ข้ อ ที่ ส น ใ จ ใ น ก า ร ท า วิ ท ย า นิ พ น ธ์ โ ด ย อ ยู่ใ น ดุ ล ย พิ นิ จ ข อ ง อ า จ า ร ย์ ที่ ป รึ ก ษ า วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ห ลั ก อ า จ าร ย์ ที่ ค า ด ว่าจ ะ แ ต่ง ตั้ ง เป็ น ที่ ป รึ ก ษ าวิท ย านิ พ น ธ์ ห ลั ก แ ล ะ ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  • 22. - 22 22 ข) นักศึกษาสามารถเปลี่ยนแผนการศึกษาระหว่าง แผน ก แบบ ก1 และ แผน ก แบบ ก2 ได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 3.1.3 รายวิชา 3.1.3.1 รายวิชา หมวดวิชาบังคับ (Core Courses) วิชาบังคับ เเผน ก เเบบก 2 จานวน 12 หน่วยกิต 223-501 วิศวกรรมการบาบัดน้าเสียขั้นสูง 3(3-0-6) (Advanced Wastewater Treatment and Engineering) 223-502 เทคโนโลยีประปาขั้นสูงและการออกแบบ 3(3-0-6) (Advanced Water Supply Technology andDesign) 223-511 วิศวกรรมกากของเสียและการวางแผน 3(3-0-6) (Solid Waste Engineering and Planning) 223-522 ระบบการควบคุมมลพิษอากาศและการออกแบบ 3(3-0-6) (Air Pollution Control System and Design) หมวดวิชาเลือก(Elective Courses)รอปรับ---เปลี่ยนแปลง วิชาเลือกเเผน กเเบบ ก 2 จานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 223-503 แหล่งน้าและการจัดการคุณภาพน้า 3(3-0-6) (Water Resource andWater Quality Management) 223-504 เทคโนโลยีเมมเบรนสาหรับการปรับปรุงคุณภาพน้าและบาบัดน้าเสีย 3(3-0-6) (Membrane Technology for Water and Wastewater Treatment) 223-512 การจัดการและการออกแบบหลุมฝังกลบมูลฝอยชุมชน 3(3-0-6) (Municipal Solid Waste Landfill Design and Management) 223-513 การประเมินวัฏจักรชีวิตเพื่อการวางแผนของเสีย 3(3-0-6) (Life Cycle Assessment for Waste Planning) 223-514 การจัดการของเสีย 3(3-0-6) (Waste Management) 223-515 การจัดการของเสียอันตรายและการออกแบบ 3(3-0-6) (Hazardous Waste Management and Design) 223-521 เสียงรบกวนในสิ่งแวดล้อมเมืองและการควบคุม 3(3-0-6)
  • 23. - 23 23 (UrbanEnvironmental Noise and Control) 223-531 การเปลี่ยน-แปรรูปชีวมวลและสารอินทรีย์ 3(3-0-6) เพื่อเป็นพลังงานหมุนเวียน (Biomass and Organics Conversion for Renewable Energy) 223-541 การป้องกันมลพิษเพื่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Pollution Prevention for Environment) 223-542 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Environmental Impact Assessment) 223-543 การฟื้นฟูสภาพโดยวิธีทางชีวภาพ 3(3-0-6) (Bioremediation) 223-552 ปฏิบัติการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(0-6-3) (Environmental Engineering Laboratory) 223-553 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1 3(3-0-6) (Special Topic in Environmental Engineering I) 223-554 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 2 3(3-0-6) (Special Topic in Environmental Engineering II) 223-555 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3 3(3-0-6) (Special Topic in Environmental Engineering III) 223-556 ระบบนิเวศเพื่อการลดภาวะมลพิษ 3(3-0-6) (Ecological System for Pollution Abatement) 223-557 อนามัยสิ่งแวดล้อมและการสุขาภิบาล 3(3-0-6) (Environmental Health and Sanitation) 220-524 ธรณีเทคนิคของของเสีย 3(3-0-6) (Waste Geotechnics) 220-622 การจาลองการไหลของน้าใต้ดินและการเคลื่อนที่ 3(3-0-6) ของสารปนเปื้อน (Groundwater Flow and Contaminant Transport Modeling) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนในหลักสูตรอื่นๆ ข อ ง บั ณ ฑิ ต วิท ย า ลัย แ ล ะ ย อ ม ใ ห้ ล ง ท ะ เบี ย น เรี ย น ได้ ไ ม่เกิ น 6 ห น่ ว ย กิ ต ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรก่อนลงทะเบียนเรียน หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ เเผน กเเบบ ก 2
  • 24. - 24 24 223-850 วิทยานิพนธ์ 18(0-36-18) (Thesis) เเผน กเเบบ ก 1 223-851 วิทยานิพนธ์ 36(0-72-36) (Thesis) รายวิชาที่นักศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเอง เพื่อปรับพื้นฐานทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ส าห รั บ ผู้ ที่ ไ ม่ไ ด้ส า เร็ จ ก าร ศึ ก ษ า ชั้ น ป ริ ญ ญ าต รี ส าข า วิศ วก รร ม สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม ให้ เรี ยน รายวิช าป รับ พื้ น ฐาน ตามที่ค ณ ะ ก รรมการบ ริ ห ารห ลักสู ตรฯ เห็ น ส มค วร (ไม่นับรวมเป็นหน่วยกิตสะสมของหลักสูตร)
  • 25. - 25 25 3.1.3.2 ความหมายของรหัสวิชา รหัสวิชา ประกอบด้วยรหัสตัวเลข 6หลัก มีความหมายดังต่อไปนี้ ตัวเลข 3ตัวแรก คือ 223-xxx หมายถึงรหัสประจาสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา (แสดงถึงภาควิชาที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในรายวิชานั้นๆ) ตัวเลขหลักร้อย หมายถึง ชั้นปีหรือระดับการศึกษาของรายวิชานั้น เลข 1-4 หมายถึง วิชาในระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4ตามลาดับ เลข 5-6 หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา เลข 8X2หมายถึง วิทยานิพนธ์แบบ ก2 เลข 8X3หมายถึง วิทยานิพนธ์แบบ ก1 ตัวเลขหลักสิบ หมายถึง กลุ่มวิชา เลข 0 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านน้าและน้าเสีย เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านวิศวกรรมและการจัดการขยะมูลฝอย เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านอากาศและเสียง เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านพลังงานและการเผาไหม้ เลข 4 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เลข 5 หมายถึง กลุ่มวิชาด้านอื่นๆ ตัวเลขหลักหน่วย หมายถึง ลาดับรายวิชา หมายถึง อันดับของรายวิชาโดยจะเริ่มจาก 1 ถึง 9 3.1.3.3 ความหมายของจานวนหน่วยกิตเช่น 3(2-3-4) มีความหมายดังต่อไปนี้ ตัวเลขที่ 1(3) หมายถึง จานวนหน่วยกิตรวม ตัวเลขที่ 2(2) หมายถึง จานวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์ ตัวเลขที่ 3(3) หมายถึง จานวนชั่วโมงปฏิบัติการต่อสัปดาห์ ตัวเลขที่ 4(4) หมายถึง จานวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเองต่อสัปดาห์
  • 26. - 26 26 3.1.4 แผนการศึกษา 3.1.4.1 แผนการศึกษาเเผน ก แบบ ก1 ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9) Thesis 220-582* ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Research Methodology in Environmental Engineering หากเพิ่มตรงนี้ต้องปรับด้านหน้าตามด้วย และคานวณหน่วยกิตรวมที้งหมดใหม่ รวม 6(0-18- 15) ชั่วโมง /สัปดาห์ =21 ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9) Thesis รวม 9(0-18-9) ชั่วโมง /สัปดาห์ =28 ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 223-551 สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 0(0-1-2) Seminar in Environmental Engineering 223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9) Thesis รวม 9(0-27-0) ชั่วโมง /สัปดาห์ =27
  • 27. - 27 27 ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 223-851 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9) Thesis รวม 12(0-36-0) ชั่วโมง /สัปดาห์ =36 *รวมรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต (non- credit) ไว้ในหมวดวิชาบังคับด้วย และต้องผ่านการประเมินจากอาจารย์ผู้สอน 3.1.4.2 เเผน กแบบ ก 2 ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 223-5xx ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Research Methodology in Environmental Engineering 223-522 ระบบการควบคุมมลพิษอากาศและการออกแบบ 3(3-0-6) Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 223-501 วิศวกรรมการบาบัดน้าเสียขั้นสูง 3(3-0-6) Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 223-502 เทคโนโลยีประปาขั้นสูงและการออกแบบ 3(3-0-6) Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 223-5XX วิชาเลือก 3 หน่วยกิต รวม 12(12-0-24) ชั่วโมง /สัปดาห์ =12 ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 223-511 วิศวกรรมกากของเสียและการวางแผน 3(3-0-6) Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 223-551 สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 0(0-1-2) Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 223-5XX วิชาเลือก 3(3-0-6) 223-850 วิทยานิพนธ์ 3(0-12-6) Thesis รวม 8(6-6-12) ชั่วโมง /สัปดาห์ =12
  • 28. - 28 28 ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 223-850 วิทยานิพนธ์ 9(0-18-9) Thesis รวม 9(0-18-9) ชั่วโมง /สัปดาห์ = 18 ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 223-850 วิทยานิพนธ์ 6(0-6-3) Thesis รวม 6(0-6-3) ชั่วโมง /สัปดาห์ = 6 *สัมมน าวิศวกรรมสิ่ งแวดล้อมเป็ น รายวิชาบังคับที่ไม่นับห น่วยกิต (non-credit) แ ล ะ ต้ อ ง ผ่ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น จ า ก ก ร ร ม ก า ร ส อ บ วิ ช า สั ม ม น า ซึ่งนักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาสัมมนาตามแผนที่กาหนด
  • 29. - 29 29 3.1.5 คาอธิบายรายวิชา หมวดวิชาบังคับ (Core Courses) 223-501 วิศวกรรมการบาบัดน้าเสียขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Wastewater Treatment and Engineering ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ผลของภาวะมลพิษน้าต่อระบบนิเวศและการปรับกระบวนการต่างๆในระบบนิเวศเนื่องจากภาวะมลพิษน้า ความสาคัญของการบาบัดน้ าเสียจากชุมชนและอุตสาหกรรมด้วยกระบวนการทางกายภาพ-เคมี ชีววิทยาและการออกแบบขั้นสูง การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงสาหรับการบาบัดขั้นที่สามเพื่อกาจัดธาตุอาหาร แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ชี ว ภ า พ แ บ บ ไ ร้ อ า ก า ศ ที่ อั ต ร า ก า ร บ า บั ด สู ง เทคโน โลยีน วัตกรรมเพื่อกาจัดสารมลพิษอนิ น ทรี ย์และ อิน ท รีย์ปน เปื้ อน ใน น้ า ฯลฯ การนาน้าทิ้งกลับมาใช้ซ้าและใช้ใหม่ในภาคชุมชนและอุตสาหกรรม Definition and Theory; effect of water pollution on ecosystem and adapted processes in ecosystem from water pollution; importance of urban wastewater and industrial treatment by physiochemical process; biological and advanced design; application of advanced technologies for tertiary treatment of nutrients and high rate anaerobic process; innovation technology for removalof inorganic and organic pollutants contamination in water; wastewater reuse and recycling in community and industry 223-502 เทคโนโลยีประปาขั้นสูงและการออกแบบ 3(3-0-6) Advanced Water SupplyTechnology and Design หลักการและกลไกของการปรับปรุงคุณภาพน้าเพื่อการประปา คุณภาพน้าประปา การวิเคราะ ห์ ปั ญ ห าระ บ บ ประ ปา ห ลักการตกต ะ กอ น การกรอง การฆ่าเชื้อ โรค เทคโน โลยีและการบาบัดขั้น สู งสาห รับบาบัดน้ าเพื่อผลิตน้ าประ ปาและ น้ าอุตสาหกรรม กระบวนการออกซิเดชันขั้นสูง การดูดซับ การแลกเปลี่ยนประจุ และการกรองแบบใช้เยื่อแผ่น การออกแบบระบบประปา Principle and mechanism of water treatment for water supply production; quality of water supply; analysis of water supply systems; principle of settling, filtration and disinfection; technology and advanced treatment for water treatment to water supply industrial water production; advanced oxidation- adsorption-ion exchange andmembrane filtration; design of water supply systems
  • 30. - 30 30 223-511 วิศวกรรมกากของเสียและการวางแผน 3(3-0-6) Solid Waste Engineering and Planning ห ลั ก ก า ร จั ด ก า ร ข อ ง เ สี ย ที่ เ ป็ น ข อ ง แ ข็ ง ผลของภ าวะ มลพิษของเสียที่เป็ น ของแข็งต่อระบบนิ เวศและการปรับกระบวน การต่างๆ ในระบบนิเวศเนื่องจากภาวะมลพิษของเสียที่เป็ นของแข็ง การวิเคราะห์ปัญหาและศักยภาพ ก า ร พั ฒ น า แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก า ร อ อ ก แ บ บ ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม เ พื่ อ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร การควบคุมและตรวจสอบระบบทางวิศวกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการออกแบบ Principle of solid waste management; effect of solid waste pollution on ecosystem and adapted processes in ecosystem from solid waste pollution; problem and performance analysis; development of management plan; environmental law and economic; engineering design for effective management system; control and monitoring of engineering system; computer programming for the design 223-522ระบบการควบคุมมลพิษอากาศและการออกแบบ 3(3-0-6) Air Pollution Control System and Design ลั ก ษ ณ ะ ก า ย ภ า พ แ ล ะ เ ค มี ข อ ง ส า ร ม ล พิ ษ อ า ก า ศ ผลของภาวะมลพิษอากาศต่อระบบนิเวศและการปรับกระบวนการต่างๆในระบบนิเวศเนื่องจากภาวะมลพิษ อากาศ มาตรฐานการปล่อยอากาศเสียและการจัดการ การเลือกอุปกรณ์ควบคุมมลพิษอากาศ พื้นฐานการเผาไหม้และผลิตภัณฑ์เหลือค้างจากการเผาไหม้วิธีการลดอุณหภูมิก๊าซร้อน กลไกการควบคุม ก า ร อ อ ก แ บ บ อุ ป ก ร ณ์ ค ว บ คุ ม และ ประ สิ ทธิ ภาพ การรวบรวมสารมลพิษจากแห ล่งกาเนิ ดอยู่กับที่ให้อยู่ใน รูปของแข็ง กลไกการควบคุมสารมลพิ ษรูปก๊าซจากแห ล่งกาเนิ ดอยู่กับที่โดยการดูดติดผิว การเผา พื้นฐานการออกแบบอุปกรณ์ควบคุม และการควบคุมการปล่อยของเสียจากแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่ เช่น ยานพาหนะ กฎหมายและเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม Physical and chemical characteristics of air pollutants; effect of air pollution on ecosystem and adapted processes in ecosystem from air pollution; emission standard and management; selection of air pollution equipments; basic of incineration and residual products; methods for reducing temperature of gaseous; mechanism control; design of control equipment and efficiency of pollutants
  • 31. - 31 31 collection from stationary sources into solid form; mechanism for gaseous control at stationary source by adsorption; incineration and basic design of control equipments and emission control from mobile sources such as vehicles; environmental law and economic
  • 32. - 32 32 223-551สัมมนาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 0(0-1-2) Seminarin Environmental Engineering การน าเสน อหั วข้อ ป ระ เด็น ท าง วิศ วก รรมสิ่ ง แวดล้อมที่ น่าสน ใ จ การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของภาวะมลพิษต่อระบบนิเวศ การมีส่วนร่วมในการนาเสนอและการอภิปรายรายละเอียดจากเอกสารวิชาการ หรือ งานวิจัย น า ส่ ง ร า ย ง าน แ ล ะ ส รุ ป ก า ร สั ม ม น า ภ า ย ใ ต้ ค า แ น ะ น า ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร ของอาจารย์ประจาวิชาหรือคณาจารย์สาขาวิชาฯ Interested topics and issues presentation in environmental engineering; development of new technology for environmental engineering; impact of pollution on ecosystem; participation in presentation and discussion in details study of academic paper or research paper; report preparation and seminar conclusion under instructor of department seminar หมวดวิชาเลือก (Elective Courses) 223-503 แหล่งน้าและการจัดการคุณภาพน้า 3(3-0-6) Water Resource and Water QualityManagement แ ห ล่ง น้ าจื ด แ ล ะ คุณ ภ า พ น้ า ก าร จัด ก า รน้ า แ ล ะ พื้ น ที่ ลุ่ม น้ า ชนิดและแหล่งของเสียปนเปื้ อนในน้ า ผลกระทบของน้าเสียต่อสิ่งแวดล้อม ควบคุมและป้ องกัน ก า ร ว า ง แ ผ น จั ด ก า ร คุ ณ ภ า พ น้ า การประยุกต์ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์สาหรับการจัดการคุณภาพน้าในแม่น้า ลาคลองและปากแม่น้า การจัดรูปองค์กรเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพน้าในประเทศไทย Fresh water resources and water quality; water and catchments area management; types and sources of wastes contamination in water; wastewater impacts on environment; protection and control; water quality planning; application of modeling tool for water quality management in rivers; canals and estuaries; organization of water quality control in Thailand 223-504 เทคโนโลยีเมมเบรนสาหรับการปรับปรุงคุณภาพน้าและบาบัดน้าเสีย 3(3-0-6) Membrane Technology for Water and Wastewater treatment เทคโนโลยเมมเบรน รูปแบบชุดเมมเบรน หลักพื้นฐานของการแยกด้วยเมมเบรน ฟาวลิ่งและการป้ องกัน ระบบเทคโนโลยีเมมเบรนสาหรับผลิตน้ าใช้และน้ าดื่มคุณภาพสู ง การประยุกต์ใช้สาหรับบาบัดน้าเสียชุมชน อุตสาหกรรม ข้อดี-ข้อจากัดเปรียบเทียบรูปแบบการใช้งาน
  • 33. - 33 33 ได้แ ก่ ไม โค รฟิ ลเต รชั่น อัล ตร าฟิ ล เต รชั่น น าโน ฟิ ล เต รชั่น รี เวอ ร์ อ อส โมซิ ส ระบบเทคโนโลยีเมมเบรนแบบผสมผสาน การฟื้นสภาพ การเดินระบบฯ และการออกแบบ Membrane technology; types of membrane module; basic principle of membrane separation; systems of membrane technology for potable water and drinking water production; application for domestic wastewater and industrial treatment; advantages and limitations; comparison of configurations application; such as microfiltration, ultrafiltration, nanofiltration and reverse osmosis; integrated membrane systems; regeneration; operations and designs 223-512 การจัดการและการออกแบบหลุมฝังกลบมูลฝอยชุมชน 3(3-0-6) Municipal Solid Waste LandfillDesign and Management บทบาทของห ลุมฝังกลบในการจัดการขยะชุมชน ช นิดของห ลุมฝังกลบ ห ลัก ท าง วิศ วก รรมข อง ห ลุ มฝั ง ก ลบ ก าร ออ ก แ บ บ ลัก ษ ณ ะ น้ าช ะ ข ยะ แ ละ ก๊าซ ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ร ว บ ร ว ม น้ า ช ะ ข ย ะ แ ล ะ ร ะ บ บ ร ว บ ร ว ม ก๊ า ซ กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการและจัดการ การควบคุมหลุมฝังกลบและจัดการ Role of landfill in municipal solid waste management; type of landfill; engineering principle of landfill; design of landfill; characteristics of landfill leachate and gas; design of leachate collection system and gas collection system; legislation and standard relevant to landfill operation and management; landfill management and control 223-513 การวิเคราะห์วัฏจักรชีวิตเพื่อการวางแผนของเสีย 3(3-0-6) Life Cycle Assessment for Waste Planning ภ าพ รวมข อง การวิเค ราะ ห์ วัฏ จักรชี วิต วิธี วิเค ราะ ห์ วัฏ จัก รชี วิต ภ าพ รวมขอ ง ค่าใ ช้จ่ายวัฏ จัก รชี วิต กร ะ บ วน ก ารป ระ เมิน ค่าใ ช้จ่ายวัฏ จัก รชี วิต การประยุกต์ใช้วัฏจักรชีวิตในการการวางแผนของเสีย แบบจาลองคอมพิวเตอร์ในวัฏจักรชีวิต Overview of LCA; LCA methodology; overview of life cycle cost; life cycle cost assessment process; application of LCA in waste planning, computer model in LCA 223-514 การจัดการของเสีย 3(3-0-6) Waste Management ประเภทของของเสีย ธรรมชาติและสมบัติของของเสียในรูปต่างๆ(ของเหลว ของแข็ง และ ก๊าซ) แห ล่งกาเนิ ดและกระบวน การเกิดของ เสี ยต่าง ๆ ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
  • 34. - 34 34 ปรัช ญาการจัดการปั จจุบัน มาตรฐาน และ กฏระเบียบที่จาเป็ น น โยบายและแผน การ เทคโนโลยีทางวิศวกรรมที่ดีและเหมาะสม การจัดการองค์กร Types of waste; nature and properties of waste (liquid, solid, air); generation sources and formation process of wastes; effects on the environment; current management philosophy; necessary regulation and standard; policy and plan; best available engineering technology; management organization 223-515 การจัดการของเสียอันตรายและการออกแบบ 3(3-0-6) Hazardous Waste Management and Design การ วิเค ร าะ ห์ ลัก ษ ณ ะ ข อ ง เสี ยอัน ต ร าย ก าร เลื อ ก วิธี ก ารจัด ก าร การออกแบบระบบการเก็บรวบรวม การออกแบบระบบการขนส่ง การออกแบบระบบการบาบัด ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ก า ร ก า จั ด ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการของเสียอันตราย Analysis of hazardous waste characteristics; selection of management method; design of collection system; design of transportation system; design of treatment system; design of disposal system; system management and control; legislation and standard relevant to hazardous waste management 223-521 เสียงรบกวนในสิ่งแวดล้อมเมืองและการควบคุม 3(3-0-6) Urban Environmental Noise and Control สมบัติทางกายภ าพ ของเสี ยง มาตราส่วน และระ ดับ เครื่องมือวัดเสี ยง ก า ร ส า ร ว จ เ สี ย ง ร บ ก ว น ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง เ สี ย ง ร บ ก ว น ต่ อ สุ ข ภ า พ กลไกและชนิดเสียงรบกวนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ การรบกวนการนอนหลับจากเสียงรบกวน ผลกระทบต่อโสตประสาทจากเสียงรบกวน ผลตอบสน องของชุมชนในมลภาวะทางเสียง แหล่งกาเนิดเสียงรบกวน การทานายเสียงรบกวน วิธีการลดเสียงรบกวน การควบคุมเสียงรบกวนในเมือง จราจร อุตสาหกรรม อากาศยาน รถไฟ ชุมชน ฉนวนกั้นเสียงในอาคาร Physical properties of sound; scales and ratings; measurement instrumentation; noise surveys; effect of noise on health; mechanisms and types of noise health effects; sleep disturbance by noise; pathological non-auditory effects of noise; community response to environmental noise; sources of noise; prediction of noise; methods for reducing noise; urban noise control; road traffic noise control;
  • 35. - 35 35 industrial noise control; aircraft noise control; railway noise control; community noise control; acoustical insulation of buildings
  • 36. - 36 36 223-531การเปลี่ยน-แปรรูปชีวมวล สารอินทรีย์ 3(3-0-6) เพื่อเป็นพลังงานหมุนเวียน Biomass and Organics Conversion forRenewable Energy ศักยภาพของชีวมวล สารอินทรีย์ที่จะใช้เป็นพลังงาน แหล่งชีวมวลและสารอินทรีย์ การผลิตชีวมวล รูปชีวมวลและปัญหาการนากลับมาใช้ การแปรรูปโดยกระบวนการความร้อน ก ารสั น ด าป โด ย ต ร ง ก ารเป ลี่ ย น เป็ น ก๊ าซ เชื้ อ เพ ลิ ง ก ร ะ บ วน ก าร ไ พ โร ไร ซิ ส การผลิตพลังงานระดับกาลังผลิตสูงและการผลิตเมทานอล การแปรรูปโดยกระบวนการชีววิทยา ก า ร ย่ อ ย ส ล า ย แ บ บ ไ ม่ ใ ช้ อ า ก า ศ แ ล ะ ก า ร ผ ลิ ต เ อ ทิ ล แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ การผลิตก๊าซชีวภาพในอุตสาหกรรมและการควบคุมมลภาวะ การใช้น้ามันพืชเชื้อเพลิงเป็นแหล่งพลังงาน การใช้พ ลังงาน ชีวมวลเดินเครื่องยนต์แบบกังหันก๊าซ เทคโนโลยีสาหรับพลังงานทดแทน การประเมินเชิงเศรษฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อม Potential of biomass and organic as an energy source; sources of biomass and organic; biomass production; forms of biomass and problems in recovering of biomass; thermal conversion; direct combustion; gasification; pyrolysis; large scale power production from biomass and methanol; biological conversion; anaerobic digestion and ethanol production; industrial biogas production and pollution control: plant-derived oil as an energy source; operation of gas turbine on biomass fuels; technology for renewable energy; economic andenvironmental assessment 223-541 การป้ องกันมลพิษเพื่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Pollution Prevention forEnvironment ปรัชญาปัจจุบันของการจัดการของเสีย ทฤษฎีการป้องกันมลพิษ (การลดของเสีย การจัดการแบบยั่งยืน การจัดการเชิงบูรณาการ) แนวปฏิบัติการป้องกันมลพิษ (การปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ กระบวนการ การแลกของเสีย นิเวศวิทยาอุตสาหกรรม) เครื่องมือการป้องกันมลพิษ (การประเมินวัฏจักรชีวิต ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม) การออกแบบโปรแกรมป้ องกันมลพิษ Current philosophy of waste management hierarchy; pollution prevention theory (waste minimization, sustainable waste management, integrated waste management); pollution prevention practices (material changes, process changes, waste exchange, industrial ecology); pollution prevention tool(life cycle assessment, environmental management system); pollution prevention program design