SlideShare a Scribd company logo
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ

ชาวนา คืออาชีพทางเกษตรกรรม ในประเทศไทยมักมีความหมายถึงอาชีพปลูกข้าวเป็นหลัก
ชาวนาในประเทศไทยนับว่าเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุด เพราะข้าวเป็นอาหาร หลักของคนไทย อาชีพ
ทานาเป็นอาชีพดั้งเดิมของคนไทย ที่สืบทอดมายังอนุชนรุ่นหลัง โดยส่วนใหญ่แล้วชาวนาจะใช้
ชีวิตอยู่โดยสงบเงียบในชนบท




การทางานของชาวนาจะเริ่มทางานตั้งแต่เช้าจรดค่าตลอดทั้งปี เพราะหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยว
ประจาปีแล้ว พวกเขาก็จะเริ่มปลูกข้าวนาปรัง หรือพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ต่ออีก หรือไม่ก็เลี้ยงปศุ
สัตว์หรือสัตว์อื่น ๆ เสริม เช่น ปลา และ เป็ด เป็นตัน โดยปกติปลาจะอาศัยอยู่ตามธรรมชาติใน
นาข้าว ดังนั้น ต้นกล้าและปลาจะเติบโตไปพร้อม ๆ กัน

ในประเทศไทยส่วนใหญ่จะปลูกข้าวกันทั้งประเทศ และปลูกกันมากในภาคกลาง ซึ่งจนถึงกับ
บางครั้งคาเรียกภาคกลาง ว่า "อู่ข้าวอู่น้า" ของเอเซีย

การทานา
ประเทศไทยทานาได้ทุกภาค การทานามี 2 ประเภท คือ การทานาปรัง เเละ นาปี นาปี หมายถึง
การทานาในฤดูฝน ส่วนนาปรัง หมายถึง การทานานอกฤดูฝน ชาวนาได้ใช้ น้าจากลาคลอง เเละ
เขื่อนระบายน้าผลผลิต ที่ได้จากการทานา
การทางานของชาวนาจะเริ่มทางานตั้งแต่เช้าจรดค่าตลอดทั้งปี เพราะหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยว
ประจาปีแล้ว พวกเขาก็จะเริ่มปลูกข้าวนาปรัง หรือพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ต่ออีก หรือไม่ก็เลี้ยงปศุ
สัตว์หรือสัตว์อื่น ๆ เสริม เช่น ปลา และ เป็ด เป็นตัน โดยปกติปลาจะอาศัยอยู่ตามธรรมชาติใน
นาข้าว ดังนั้น ต้นกล้าและปลาจะเติบโตไปพร้อม ๆ กัน

ในประเทศไทยส่วนใหญ่จะปลูกข้าวกันทั้งประเทศ และปลูกกันมากในภาคกลาง ซึ่งจนถึงกับ
บางครั้งคาเรียกภาคกลาง ว่า "อู่ข้าวอู่น้า" ของเอเซีย

การทานา
ประเทศไทยทานาได้ทุกภาค การทานามี 2 ประเภท คือ การทานาปรัง เเละ นาปี นาปี หมายถึง
การทานาในฤดูฝน ส่วนนาปรัง หมายถึง การทานานอกฤดูฝน ชาวนาได้ใช้ น้าจากลาคลอง เเละ
เขื่อนระบายน้าผลผลิต ที่ได้จากการทานา




พิธีสู่ขวัญควายของชาวนาไทย
ควาย เป็นสัตว์เลี้ยงที่อยู่คู่ชาวไร่ชาวนามาช้านานตั้งแต่อดีตกาล เป็นสัตว์ให้คุณเป็น
กาลังหลัก ของชาวนาในการปลูกข้าวเลี้ยงผู้คนมาโดยตลอด ปัจจุบันควายถูกใช้งาน
น้อยลงเพราะวิถีชีวิตเกษตรกร เปลี่ยนไปจากใช้แรงงานควายหันไปใช้แรงงานจาก
เครื่องจักรแทน


ในสมัยก่อนการทานากว่าจะแล้วเสร็จต้องใช้เวลานานถึง 3 เดือน ไม่เร่งรีบเหมือน
ปัจจุบัน ในการ ใช้ควายไถนา ถ้าพื้นที่ประมาณ 1 งาน จะใช้เวลา 1-2 วัน ชาวนาจะ
ใช้เวลาทางานในตอนเช้าและเย็น เท่านั้น เพราะตอนกลางวันอากาศร้อน ทั้งคนและ
ควายจะได้พักผ่อนเอาแรงก่อน


ควายให้คุณแก่ผู้เป็นเจ้าของอย่างมากมาย นอกจากจะช่วยในการไถคราดแล้ว มูล
ควายยังนามา ใช้ประโยชน์ได้อีก ชาวบ้านจะนามาทาเสวียน เป็นอุปกรณ์ใส่เก็บ
ข้าวเปลือกชนิดหนึ่งสานด้วยไม้ไผ่รูป ทรงกลมเป็นแท่งยาว ขนาดตามความต้องการ
หลังสานเสร็จแล้วเอามูลควายผสมดินเหนียว ทาผิว ไม้ไผ่ทั้งด้านนอกและด้านในตาก
ให้แห้ง เป็นเสวียนที่แข็งแรงทนทานใช้งาน ได้ตลอดไปจนกว่า ไม้ไผ่จะผุ มูลควายเป็น
ปุ๋ยบารุงดินในนาข้าว นอกจากนี้ มูลควายยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของแมงจู้จี้ เด็ก ๆ
จะชอบไปขุดในช่วงหน้าหนาว ในเรือกสวนไร่นาก็ประหยัดไม่ต้องใช้เครื่องตัดหญ้า
หรือ ยาฆ่าแมลง แต่จะอาศัยให้ควายกินหญ้าทาให้ไม่รก


คนมีความผูกพันกับควายถือว่าควายเปรียบเสมือนเป็นสมาชิกผู้หนึ่งในครอบครัว
เช่นเดียวกับ หมาแมวของคนในสมัยนี้ ควายยังเป็นเพื่อนเล่นของลูก เด็ก ๆ ในชนบท
จะชอบขี่หลังควาย ช่วยหา เห็บหาเหาให้ควาย อาบน้าให้ควาย ควายก็ให้ความเป็น
มิตร สัตว์ทุกชนิดถ้าเราใส่ใจให้ความรัก มันก็ทอนคืนความรักให้เราเช่นเดียวกัน
ในชนบท เวลา 3-4 โมงเย็น ก่อนเอาควายเข้าแหล่ง (คอก) เจ้าของโดยเฉพาะเด็ก ๆ
จะอาบน้า ให้ควาย โดยขี่หลังควายลงในแหล่งน้า ม่ว่าจะเป็นแม่น้า หนองบึงต่าง ๆ
ควายก็จะชอบดาผุดดาว่าย เด็กจะใช้แปรงจากกาบมะพร้าว ลูกบวบแห้ง ฟางข้าว
หรือหญ้าแห้งถูทาความสะอาดหลังควาย จนเป็น สีดามันเงา สบายตัวสบายใจทั้งคน
และควาย


ในฤดูทานาหน้าฝน เป็นช่วงใช้แรงงานควาย ชาวนาจะเลี้ยงควายไว้ใต้ถุนบ้าน พอย่า
ค่าใช้ฟืน สุมไฟให้ควายกันยุง ได้ทั้งควายใต้ถุนและคนบนบ้าน
 เช้ามืดชาวนาจะจูงควายและแบกไถออกไปนา จะไถนาโดยเวียนซ้ายวนเข็มนาฬิกา
เพื่อให้ขี้ไถ ออกจากไถเพราะเวลาไถนา ขี้ไถจะออกทางด้านขวา ชาวนาจึงต้องเดิน
เวียนซ้ายและ ขี้ไถจะช่วยกลบ หญ้าให้เป็นปุ๋ยในนาได้อีก ชาวนาจะไถนาและหมักไว้
1 เดือน เรียกว่า ดองนา รอจนกระทั่งดินร่วนซุย หญ้าเน่า หลังการไถดองจะมีไส้เดือน
ขึ้นอยู่ตามขี้ไถ เป็นไส้เดือนสีแดง เด็ก ๆ จะใช้ไส้เดือน เป็น เหยื่อล่อปลา ชาวนาจะ
สังเกตถ้ามีไส้เดือนปริมาณมากแสดงว่าดินเน่าได้ที่ เหมาะสาหรับการปลูกข้าว แล้วจึง
เริ่ม คราดนา สมัยก่อนไม่ต้องใช้ปุ๋ย ไส้เดือน กาลเวลา และหญ้า จะช่วยปรับปรุงดิน
เองตาม ธรรมชาติ


ในช่วงที่หมักนาทิ้งไว้นี้จะมีพวกปลาชนิดต่าง ๆ มาอาศัยและเจริญเติบโต ดังนั้น ตอน
คราดนา เด็ก ๆ จะชอบเดินตาม หลังผู้ใหญ่เพื่อจับปลาที่กระโดดหนีเนื่องจากเมาขี้
โคลน เด็กจะเอาข้องมัด ตรงเอว ปลาที่จับได้ส่วนมากจะเป็นปลาช่อน ปลาปก ปลา
สะเด็ด จะนิยมนามาทาแหนมปลา คือเอาปลา คลุกเคล้าเครื่องเทศ ได้แก่ ขมิ้น
ตะไคร้ เกลือ พริกขี้หนูซอย ห่อใบตองปิ้งบนไฟ
ตอนไถหรือคราดนา จะมีการเทียมแอก เพื่อยึดคอควายกับไถ มีทั้งแอกคู่และแอก
เดี่ยว แอกคู่ จะใช้ควาย 2 ตัว เทียมแอก การใช้เทียมคู่จะทาให้ควายเหนื่อยน้อยลง
ส่วนแอกเดี่ยวจะใช้ควายเพียง ตัวเดียว


การใช้ควายไถและคราดนาจะมีคาสั่งเฉพาะ ได้แก่ หย่อ (หยุด) หน (ถอย) ฮุ่ย
(เดินหน้า อ่อย (ค่อย ๆ หยุด) ซ้าย ขวา บางครั้งเมื่อควายไม่ทาตามคาสั่งจึงถูกลงโทษ
โดยการดุด่า หรือเฆี่ยนตี
 ควายหงาน ควายที่แข็งแรงได้แรงงานเยอะ เป็นควายหนุ่มฉกรรจ์ กล้ามเนื้อเป็นมัด
มีหนอกใหญ่ ใช้เป็นพ่อพันธุ์ ควายหงาน เมื่ออยู่กันเป็นกลุ่มจะแย่งชิงความเป็นผู้นา
จ่าฝูง โดยจะต่อสู้หรือชนกันเพื่อ แย่งชิงตัวเมีย เมื่อชนะก็ได้ผสมพันธุ์กับตัวเมีย


ควายจะอยู่กับคนถูกเลี้ยงจนเชื่องและมีความเป็นมิตรกับคน คนจะเลี้ยงควายด้วย
ความรัก เมื่อเลี้ยงสิ่งใดก็รักและผูกพันสิ่งนั้น


การสู่ขวัญควาย เป็นการเตือนสติ เตือนจิตเตือนใจ ให้คนมีความกตัญญูกตเวทีราลึก
ถึงบุญคุณ ของผู้ที่ได้ช่วยเหลือเกื้อกูลแก่ตน ว่าเมื่อได้รับผลประโยชน์จากผู้อื่นแล้ว ก็
มากระทาการ หรือแสดงการ ตอบแทนบุญคุณที่ผู้อื่นได้ทาแก่ตน อย่างเช่น “ควาย”
คนได้ใช้แรงงานในการไถคราด พลิกแผ่นดิน อันเป็นของหนักให้ เพื่อหว่าน เพาะปลูก
ข้าว ปลูกพืชผักในพื้นแผ่นดิน จนคนได้รับผลประโยชน์จาก แรงงานของควาย คือได้
ข้าวมาสาหรับบริโภค เลี้ยงชีวิตตนและครอบครัว ในขณะที่คนได้ไถคราดนั้น บางทีได้
ดุด่า เฆี่ยนตีควายซึ่งทาไม่ได้ดั่งใจ ทั้งที่กาลังมีแอกต่างคออยู่หนักแสนหนักเหนื่อย
แสนเหนื่อย
เมื่อคนระลึกนึกถึงบุญคุณของควาย ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีบุญคุณไม่มีส่วนที่ได้รับ
ผลประโยชน์อันใด ชาวนาจึงมีการหาวิธีที่จะ ตอบแทนบุญคุณของควายขึ้น โดยวิธี “สู่
ขวัญควาย” ขออโหสิกรรมต่อควาย


ชาวนาจะทาบายศรี 1 ชุด ขนม ข้าวต้ม เหล้าไห ไก่คู่ ไข่ต้ม 1 คู่ เอี้ยงหมายนา 1 ต้น
(ดอกไม้จา พวกไพล ขิง ข่า มีเหง้าในดิน สูงประมาณ 1 เมตร ดอกสีขาว หน่อในดิน
กินลวกหรือต้มจิ้ม น้าพริก) ข้าวตอกดอกไม้ หมากพลู ด้ายสายสิญจน์ผูกเขาควาย
หญ้าอย่างดี 1 หาบ ข้าวเปลือก ข้าวสาร ถั่วงา กล้วยสุก บางแห่งจะมีสะตวง (กระทงที่
ทาจากกาบกล้วย) 1 อัน มีขันปู่อาจารย์ ผ้าขาว ผ้าแดง เงิน 10 สลึง ปัจจุบันใส่ 12
บาท


โดยมีปู่อาจารย์ผู้ทาพิธีสู่ขวัญควาย คล้ายกับพิธีฮ้องขวัญหรือสู่ขวัญของคนเมืองเหนือ
เนื้อหา จะกล่าวเป็นค่าวฮ่า ทานองเสนาะเมืองเสียงจ้อยซอ มีการสัมผัสคาในภาษาที่
ใช้พรรณนาถึงคุณความดี ของควายที่มีต่อเจ้าของ ในการทาไร่ไถนาซึ่งเป็นภาระอัน
หนักทั้งคนและควาย ต้องทางานร่วมกัน ตลอด ระยะเวลา 3 เดือน ในฤดูหว่านไถ
จนกระทั่งปลูกเสร็จ ดังนั้น เพื่อความเป็น สิริมงคลในครอบครัวและเป็น การเตือนสติ
ให้เป็นคนมีความกตัญญูกตเวที รักสัตว์ และรักษาสัตว์ไว้เพื่อใช้งานต่อไป มองเห็น
คุณค่า ของสิ่งที่ตนมีอยู่ว่าเป็นสิ่งมีประโยชน์


เมื่อปู่อาจารย์กล่าวจบ ผู้เป็นเจ้าของควายจะนากรวยดอกไม้ไปผูกกับเขาควาย ให้
ควายกินปลาย กล้าข้าว หรือหญ้าอย่างดีที่เตรียมไว้ เพื่อแสดงความรักและเมตตาต่อ
ควาย ควายเองก็เป็นสัตว์ที่รู้ ภาษามนุษย์ และเข้าใจความเมตตาที่ชาวนาแสดงออก
อย่างเป็นมิตร เหมือนช้าง ม้า และสัตว์อื่น ๆ ที่มนุษย์ชอบเลี้ยงไว้เป็นเพื่อนและใช้
แรงงาน
คนกับควายวิถีชีวิตชาวชนบท ผูกพันลึกซึ้ง มีความรักและเอื้ออาทรต่อกัน ไม่ว่าคน
หรือสัตว์ มิตรภาพที่จะดารงอยู่ได้เนิ่นนาน สายใยผูกรัดไม่ให้ขาด คือ น้าใจ
การทานาข้าวหรือการปลูกข้าว




พันธุ์และช่วงเวลาปลูกข้าว


พันธุ์ข้าวมี 2 ชนิด คือ


1.ชนิดไม่ไวแสง สามารถเพาะปลูกได้ทั้งนาปีและนาปรัง มีอายุเก็บเกี่ยว 110 – 130
วัน ส่วนมากให้ผลผลิตต่อไร่ 100 ถัง เนื่องจากตอบสนองต่อปุ๋ยดี ตัวอย่าง เช่น พันธุ์
สุพรรณบุรี1, สุพรรณบุรี2, ชัยนาท 1, กข. 23 ,เจ้าหอมคลองหลวง1 ,และเจ้าหอม
สุพรรณบุรีช่วงเวลาปลูกทาได้ตลอดปีขึ้นอยู่กับสภาพน้า แนะนาให้เขตชลประทาน
โดยวิธีการปักดา หรือหว่านข้าวตมอย่างไรก็ดี ไม่แนะ นาให้ปลูกติดต่อกันตลอดปีเป็น
เวลานาน ควรปลูกคั่นด้วยพืชหมุนเวียนบ้างในบางฤดู จะช่วยตัดวงจรศัตรูพืชและ
รักษาสภาพดินที่
ใช้เพาะปลูกข้าว ให้คงความสมบูรณ์


2. ชนิดไวแสง ปลูกได้เฉพาะนาปี มีวันเก็บเกี่ยวที่ค่อนข้างแน่นอน ไม่ว่าจะปลูกเมื่อใด
ส่วนมากให้ผลผลิตไม่สูงมากเพราะ ตอบสนองต่อปุ๋ยต่า ตัวอย่าง เช่น พันธุ์ข้าวดอก
มะลิ 105 , กข.15 , ขาวตาแห้ง 17 , เหลืองประทิว 123 , และปิ่นแก้ว 56 ช่วงเวลาปลูก
ที่เหมาะสมประมาณเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม โดยนับวันเก็บเกี่ยวย้อนขึ้นมาให้
ข้าวมีอายุ 92-120 วัน (ถ้าใช้วิธีหว่านอายุข้าวจะสั้นลง) ทั้งนี้ให้พิจารณาประกอบกับ
สภาพน้า ในเขตนาน้าฝนอาจใช้วิธีหว่านข้าวแห้ง หรือปักดา


วิธีการทานาหรือปลูกข้าว


การทานาโดยทั่วไปมี 3 วิธี คือ นาหว่าน นาหยอด และนาดา ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่
เช่นที่สูง ที่ลุ่ม ที่น้าลึก สภาพน้า เช่น เขตน้าฝน เขตชลประทาน สภาพสังคม เช่น มี
แรงงานหรือไม่มีแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ เช่น มีเงินทุนมากหรือน้อย มีรายละเอียด
คือ


1.นาหว่าน ส่วนมากนิยม     เนื่องจากขาดแคลนแรงงานสภาพน้าจากัด ยากแก่การปัก
ดาข้าว หรือพื้นที่อยู่ในเขตน้าฝนไม่สามารถควบคุมปริมาณน้าได้ เป็นการปลูกข้าว
โดยใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหว่านลงไปในนาที่เตรียมดินไว้แล้ว มี 2 วิธี คือ (1) หว่านข้าว
แห้งหรือหว่านสารวย (2) หว่านข้าวตม หรือข้าวงอกหรือหว่านเพาะเลย


(1) การหว่านข้าวแห้ง มักใช้วิธีนี้ในเขตนาน้าฝนหรือในพื้นที่ที่ควบคุมน้าไม่ได้
                                                                            โดย
เมล็ดพันธุ์ที่หว่านไม่ได้เพาะให้งอกเสียก่อน เรียกอีกอย่าง คือ หว่านสารวย เป็นการ
หว่านคอยฝนในสภาพดินแห้ง โดยหว่านหลังจากไถแปร เมื่อฝนตกลงมาเมล็ดข้าวที่
หว่านไว้จะได้งอก บางกรณีเพื่อป้องกันการทาลายของศัตรูข้าว จะมีการคราดกลบ
เมล็ดหลังการหว่าน ซึ่งอาจเรียกว่าหว่านคราดกลบ อีกกรณีหนึ่งเป็นการหว่านใน
สภาพดินเปียก คือ มีฝนตกเมื่อไถแปรแล้ว ก็หว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวตามทันทีแล้วคราด
กลบ วิธีนี้เรียกว่าหว่านหลังขี้ไถ การหว่านข้าวแห้งจะใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ประมาณไร่ละ
10 – 15 กก.



(2) การหว่านข้าวตม หรือหว่านข้าวงอก หรือหว่านเพาะเลย เป็นการหว่านโดยการนา
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีการเพาะให้งอกกล่าว คือ แช่น้าสะอาด 12 – 24 ชั่วโมง แล้วนาไป
หุ้ม 30 – 48 ชม. จนมีรากงอกยาวประมาณ 1 – 2 มิลลิเมตร ที่เรียกว่า ตุ่มตา แล้ว
หว่านลงในพื้นที่นาที่เตรียมไว้อย่างดี คือ ไถดะ ไถแปร และทาเทือกจนราบเรียบ วิธีนี้
บางกรณีในเขตนาน้าฝนควบคุมน้าได้ยาก จาเป็นต้องหว่านในเทือกที่มีน้าขัง แต่ใน
เขตชลประทาน ควรระบายน้าให้เทือกนุ่มพอดี สังเกตจากเมล็ดข้าวที่หว่านจะจมใน
เทือกประมาณครึ่งหนึ่งของเมล็ดแนวนอนเมื่อข้าวงอกแล้วค่อยๆระบายน้าเข้านา แต่
ไม่ให้ท่วมยอดต้นข้าว การหว่านน้าตม ถ้าเตรียมดินดีวัชพืชน้อยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ไร่
ละ 10-15 กก. แต่ถ้าเตรียมดินไม่ดี มีวัชพืชมากในอัตราเมล็ดพันธุ์ไร่ละ 15 – 20 กก.


2.นาหยอด นิยมในสภาพพื้นที่สูง     พื้นที่ไร่ หรือในสภาพนาที่ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล
ใช้เมล็ดข้าวแห้งที่ไม่ได้เพาะให้งอก หยอดลงไปในหลุมที่เตรียมไว้โดยใช้จอบเสียม
หรือใช้ไม้กระทุ้ง ตลอดจนใช้เครื่องหยอด หรืออีกวิธี โดยการโรยเป็นแถว ในร่องที่ทา
เตรียมไว้แล้วกลบดินฝังเมล็ดข้าว เมื่อฝนตกลงมาเมล็ดข้าวที่หยอดจะงอก ในสภาพ
ไร่หรือที่สูง อาจทาเป็นหลุมลึก 4-5 เซนติเมตร หยอดเมล็ดข้าวหลุมละ 5-6 เมล็ด
ส่วนในที่ราบสูง เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถทาร่องห่างกัน 25-30
เซนติเมตร นาหยอดจะใช้เมล็ดพันธุ์ต่อไร่ประมาณ 8-10 กก.
3.นาดา เป็นวิธีการปลูกข้าว โดยแบ่งการปลูกเป็น 2 ขั้นตอน คือ (1) ขั้นตอนการตก
กล้า (2) ขั้นตอนการปักดา ปัจจุบันเกษตรกรนิยมปักดาน้อยลง เนื่องจากขาดแคลน
แรงงาน อย่างไรก็ดี การปักดา เป็นวิธีการปลูกข้าวที่สามารถควบคุมวัชพืชได้ดีกว่านา
หว่าน

More Related Content

Viewers also liked

ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตรเรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตร
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกานา
งานกานางานกานา
งานกานา
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เยอรมันนี
เยอรมันนีเยอรมันนี
เยอรมันนี
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières21samuel
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...Nicodeme Feuwo
 

Viewers also liked (16)

พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
เรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตรเรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตร
 
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
งานกานา
งานกานางานกานา
งานกานา
 
เยอรมันนี
เยอรมันนีเยอรมันนี
เยอรมันนี
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières
 
ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
เชียงราย
เชียงรายเชียงราย
เชียงราย
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
 

Similar to งานพี่มอส

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
Wichai Likitponrak
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
settasart23
 
farmland
farmlandfarmland
farmland
Tolaha Diri
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
Araya Toonton
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมงmoemon12
 
งานSh
งานShงานSh
งานShdekbao
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
fainaja
 
งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขRathapon Silachan
 
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำมหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ0905695847
 

Similar to งานพี่มอส (20)

กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
farmland
farmlandfarmland
farmland
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
Teerapat betta fish
Teerapat betta fishTeerapat betta fish
Teerapat betta fish
 
งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไข
 
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำมหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

Is
IsIs
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คองโก
คองโกคองโก
Is1
Is1Is1
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

งานพี่มอส

  • 1. คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ ชาวนา คืออาชีพทางเกษตรกรรม ในประเทศไทยมักมีความหมายถึงอาชีพปลูกข้าวเป็นหลัก ชาวนาในประเทศไทยนับว่าเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุด เพราะข้าวเป็นอาหาร หลักของคนไทย อาชีพ ทานาเป็นอาชีพดั้งเดิมของคนไทย ที่สืบทอดมายังอนุชนรุ่นหลัง โดยส่วนใหญ่แล้วชาวนาจะใช้ ชีวิตอยู่โดยสงบเงียบในชนบท การทางานของชาวนาจะเริ่มทางานตั้งแต่เช้าจรดค่าตลอดทั้งปี เพราะหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยว ประจาปีแล้ว พวกเขาก็จะเริ่มปลูกข้าวนาปรัง หรือพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ต่ออีก หรือไม่ก็เลี้ยงปศุ สัตว์หรือสัตว์อื่น ๆ เสริม เช่น ปลา และ เป็ด เป็นตัน โดยปกติปลาจะอาศัยอยู่ตามธรรมชาติใน นาข้าว ดังนั้น ต้นกล้าและปลาจะเติบโตไปพร้อม ๆ กัน ในประเทศไทยส่วนใหญ่จะปลูกข้าวกันทั้งประเทศ และปลูกกันมากในภาคกลาง ซึ่งจนถึงกับ บางครั้งคาเรียกภาคกลาง ว่า "อู่ข้าวอู่น้า" ของเอเซีย การทานา ประเทศไทยทานาได้ทุกภาค การทานามี 2 ประเภท คือ การทานาปรัง เเละ นาปี นาปี หมายถึง การทานาในฤดูฝน ส่วนนาปรัง หมายถึง การทานานอกฤดูฝน ชาวนาได้ใช้ น้าจากลาคลอง เเละ เขื่อนระบายน้าผลผลิต ที่ได้จากการทานา
  • 2. การทางานของชาวนาจะเริ่มทางานตั้งแต่เช้าจรดค่าตลอดทั้งปี เพราะหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยว ประจาปีแล้ว พวกเขาก็จะเริ่มปลูกข้าวนาปรัง หรือพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ต่ออีก หรือไม่ก็เลี้ยงปศุ สัตว์หรือสัตว์อื่น ๆ เสริม เช่น ปลา และ เป็ด เป็นตัน โดยปกติปลาจะอาศัยอยู่ตามธรรมชาติใน นาข้าว ดังนั้น ต้นกล้าและปลาจะเติบโตไปพร้อม ๆ กัน ในประเทศไทยส่วนใหญ่จะปลูกข้าวกันทั้งประเทศ และปลูกกันมากในภาคกลาง ซึ่งจนถึงกับ บางครั้งคาเรียกภาคกลาง ว่า "อู่ข้าวอู่น้า" ของเอเซีย การทานา ประเทศไทยทานาได้ทุกภาค การทานามี 2 ประเภท คือ การทานาปรัง เเละ นาปี นาปี หมายถึง การทานาในฤดูฝน ส่วนนาปรัง หมายถึง การทานานอกฤดูฝน ชาวนาได้ใช้ น้าจากลาคลอง เเละ เขื่อนระบายน้าผลผลิต ที่ได้จากการทานา พิธีสู่ขวัญควายของชาวนาไทย
  • 3. ควาย เป็นสัตว์เลี้ยงที่อยู่คู่ชาวไร่ชาวนามาช้านานตั้งแต่อดีตกาล เป็นสัตว์ให้คุณเป็น กาลังหลัก ของชาวนาในการปลูกข้าวเลี้ยงผู้คนมาโดยตลอด ปัจจุบันควายถูกใช้งาน น้อยลงเพราะวิถีชีวิตเกษตรกร เปลี่ยนไปจากใช้แรงงานควายหันไปใช้แรงงานจาก เครื่องจักรแทน ในสมัยก่อนการทานากว่าจะแล้วเสร็จต้องใช้เวลานานถึง 3 เดือน ไม่เร่งรีบเหมือน ปัจจุบัน ในการ ใช้ควายไถนา ถ้าพื้นที่ประมาณ 1 งาน จะใช้เวลา 1-2 วัน ชาวนาจะ ใช้เวลาทางานในตอนเช้าและเย็น เท่านั้น เพราะตอนกลางวันอากาศร้อน ทั้งคนและ ควายจะได้พักผ่อนเอาแรงก่อน ควายให้คุณแก่ผู้เป็นเจ้าของอย่างมากมาย นอกจากจะช่วยในการไถคราดแล้ว มูล ควายยังนามา ใช้ประโยชน์ได้อีก ชาวบ้านจะนามาทาเสวียน เป็นอุปกรณ์ใส่เก็บ ข้าวเปลือกชนิดหนึ่งสานด้วยไม้ไผ่รูป ทรงกลมเป็นแท่งยาว ขนาดตามความต้องการ หลังสานเสร็จแล้วเอามูลควายผสมดินเหนียว ทาผิว ไม้ไผ่ทั้งด้านนอกและด้านในตาก ให้แห้ง เป็นเสวียนที่แข็งแรงทนทานใช้งาน ได้ตลอดไปจนกว่า ไม้ไผ่จะผุ มูลควายเป็น ปุ๋ยบารุงดินในนาข้าว นอกจากนี้ มูลควายยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของแมงจู้จี้ เด็ก ๆ จะชอบไปขุดในช่วงหน้าหนาว ในเรือกสวนไร่นาก็ประหยัดไม่ต้องใช้เครื่องตัดหญ้า หรือ ยาฆ่าแมลง แต่จะอาศัยให้ควายกินหญ้าทาให้ไม่รก คนมีความผูกพันกับควายถือว่าควายเปรียบเสมือนเป็นสมาชิกผู้หนึ่งในครอบครัว เช่นเดียวกับ หมาแมวของคนในสมัยนี้ ควายยังเป็นเพื่อนเล่นของลูก เด็ก ๆ ในชนบท จะชอบขี่หลังควาย ช่วยหา เห็บหาเหาให้ควาย อาบน้าให้ควาย ควายก็ให้ความเป็น มิตร สัตว์ทุกชนิดถ้าเราใส่ใจให้ความรัก มันก็ทอนคืนความรักให้เราเช่นเดียวกัน
  • 4. ในชนบท เวลา 3-4 โมงเย็น ก่อนเอาควายเข้าแหล่ง (คอก) เจ้าของโดยเฉพาะเด็ก ๆ จะอาบน้า ให้ควาย โดยขี่หลังควายลงในแหล่งน้า ม่ว่าจะเป็นแม่น้า หนองบึงต่าง ๆ ควายก็จะชอบดาผุดดาว่าย เด็กจะใช้แปรงจากกาบมะพร้าว ลูกบวบแห้ง ฟางข้าว หรือหญ้าแห้งถูทาความสะอาดหลังควาย จนเป็น สีดามันเงา สบายตัวสบายใจทั้งคน และควาย ในฤดูทานาหน้าฝน เป็นช่วงใช้แรงงานควาย ชาวนาจะเลี้ยงควายไว้ใต้ถุนบ้าน พอย่า ค่าใช้ฟืน สุมไฟให้ควายกันยุง ได้ทั้งควายใต้ถุนและคนบนบ้าน เช้ามืดชาวนาจะจูงควายและแบกไถออกไปนา จะไถนาโดยเวียนซ้ายวนเข็มนาฬิกา เพื่อให้ขี้ไถ ออกจากไถเพราะเวลาไถนา ขี้ไถจะออกทางด้านขวา ชาวนาจึงต้องเดิน เวียนซ้ายและ ขี้ไถจะช่วยกลบ หญ้าให้เป็นปุ๋ยในนาได้อีก ชาวนาจะไถนาและหมักไว้ 1 เดือน เรียกว่า ดองนา รอจนกระทั่งดินร่วนซุย หญ้าเน่า หลังการไถดองจะมีไส้เดือน ขึ้นอยู่ตามขี้ไถ เป็นไส้เดือนสีแดง เด็ก ๆ จะใช้ไส้เดือน เป็น เหยื่อล่อปลา ชาวนาจะ สังเกตถ้ามีไส้เดือนปริมาณมากแสดงว่าดินเน่าได้ที่ เหมาะสาหรับการปลูกข้าว แล้วจึง เริ่ม คราดนา สมัยก่อนไม่ต้องใช้ปุ๋ย ไส้เดือน กาลเวลา และหญ้า จะช่วยปรับปรุงดิน เองตาม ธรรมชาติ ในช่วงที่หมักนาทิ้งไว้นี้จะมีพวกปลาชนิดต่าง ๆ มาอาศัยและเจริญเติบโต ดังนั้น ตอน คราดนา เด็ก ๆ จะชอบเดินตาม หลังผู้ใหญ่เพื่อจับปลาที่กระโดดหนีเนื่องจากเมาขี้ โคลน เด็กจะเอาข้องมัด ตรงเอว ปลาที่จับได้ส่วนมากจะเป็นปลาช่อน ปลาปก ปลา สะเด็ด จะนิยมนามาทาแหนมปลา คือเอาปลา คลุกเคล้าเครื่องเทศ ได้แก่ ขมิ้น ตะไคร้ เกลือ พริกขี้หนูซอย ห่อใบตองปิ้งบนไฟ
  • 5. ตอนไถหรือคราดนา จะมีการเทียมแอก เพื่อยึดคอควายกับไถ มีทั้งแอกคู่และแอก เดี่ยว แอกคู่ จะใช้ควาย 2 ตัว เทียมแอก การใช้เทียมคู่จะทาให้ควายเหนื่อยน้อยลง ส่วนแอกเดี่ยวจะใช้ควายเพียง ตัวเดียว การใช้ควายไถและคราดนาจะมีคาสั่งเฉพาะ ได้แก่ หย่อ (หยุด) หน (ถอย) ฮุ่ย (เดินหน้า อ่อย (ค่อย ๆ หยุด) ซ้าย ขวา บางครั้งเมื่อควายไม่ทาตามคาสั่งจึงถูกลงโทษ โดยการดุด่า หรือเฆี่ยนตี ควายหงาน ควายที่แข็งแรงได้แรงงานเยอะ เป็นควายหนุ่มฉกรรจ์ กล้ามเนื้อเป็นมัด มีหนอกใหญ่ ใช้เป็นพ่อพันธุ์ ควายหงาน เมื่ออยู่กันเป็นกลุ่มจะแย่งชิงความเป็นผู้นา จ่าฝูง โดยจะต่อสู้หรือชนกันเพื่อ แย่งชิงตัวเมีย เมื่อชนะก็ได้ผสมพันธุ์กับตัวเมีย ควายจะอยู่กับคนถูกเลี้ยงจนเชื่องและมีความเป็นมิตรกับคน คนจะเลี้ยงควายด้วย ความรัก เมื่อเลี้ยงสิ่งใดก็รักและผูกพันสิ่งนั้น การสู่ขวัญควาย เป็นการเตือนสติ เตือนจิตเตือนใจ ให้คนมีความกตัญญูกตเวทีราลึก ถึงบุญคุณ ของผู้ที่ได้ช่วยเหลือเกื้อกูลแก่ตน ว่าเมื่อได้รับผลประโยชน์จากผู้อื่นแล้ว ก็ มากระทาการ หรือแสดงการ ตอบแทนบุญคุณที่ผู้อื่นได้ทาแก่ตน อย่างเช่น “ควาย” คนได้ใช้แรงงานในการไถคราด พลิกแผ่นดิน อันเป็นของหนักให้ เพื่อหว่าน เพาะปลูก ข้าว ปลูกพืชผักในพื้นแผ่นดิน จนคนได้รับผลประโยชน์จาก แรงงานของควาย คือได้ ข้าวมาสาหรับบริโภค เลี้ยงชีวิตตนและครอบครัว ในขณะที่คนได้ไถคราดนั้น บางทีได้ ดุด่า เฆี่ยนตีควายซึ่งทาไม่ได้ดั่งใจ ทั้งที่กาลังมีแอกต่างคออยู่หนักแสนหนักเหนื่อย แสนเหนื่อย
  • 6. เมื่อคนระลึกนึกถึงบุญคุณของควาย ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีบุญคุณไม่มีส่วนที่ได้รับ ผลประโยชน์อันใด ชาวนาจึงมีการหาวิธีที่จะ ตอบแทนบุญคุณของควายขึ้น โดยวิธี “สู่ ขวัญควาย” ขออโหสิกรรมต่อควาย ชาวนาจะทาบายศรี 1 ชุด ขนม ข้าวต้ม เหล้าไห ไก่คู่ ไข่ต้ม 1 คู่ เอี้ยงหมายนา 1 ต้น (ดอกไม้จา พวกไพล ขิง ข่า มีเหง้าในดิน สูงประมาณ 1 เมตร ดอกสีขาว หน่อในดิน กินลวกหรือต้มจิ้ม น้าพริก) ข้าวตอกดอกไม้ หมากพลู ด้ายสายสิญจน์ผูกเขาควาย หญ้าอย่างดี 1 หาบ ข้าวเปลือก ข้าวสาร ถั่วงา กล้วยสุก บางแห่งจะมีสะตวง (กระทงที่ ทาจากกาบกล้วย) 1 อัน มีขันปู่อาจารย์ ผ้าขาว ผ้าแดง เงิน 10 สลึง ปัจจุบันใส่ 12 บาท โดยมีปู่อาจารย์ผู้ทาพิธีสู่ขวัญควาย คล้ายกับพิธีฮ้องขวัญหรือสู่ขวัญของคนเมืองเหนือ เนื้อหา จะกล่าวเป็นค่าวฮ่า ทานองเสนาะเมืองเสียงจ้อยซอ มีการสัมผัสคาในภาษาที่ ใช้พรรณนาถึงคุณความดี ของควายที่มีต่อเจ้าของ ในการทาไร่ไถนาซึ่งเป็นภาระอัน หนักทั้งคนและควาย ต้องทางานร่วมกัน ตลอด ระยะเวลา 3 เดือน ในฤดูหว่านไถ จนกระทั่งปลูกเสร็จ ดังนั้น เพื่อความเป็น สิริมงคลในครอบครัวและเป็น การเตือนสติ ให้เป็นคนมีความกตัญญูกตเวที รักสัตว์ และรักษาสัตว์ไว้เพื่อใช้งานต่อไป มองเห็น คุณค่า ของสิ่งที่ตนมีอยู่ว่าเป็นสิ่งมีประโยชน์ เมื่อปู่อาจารย์กล่าวจบ ผู้เป็นเจ้าของควายจะนากรวยดอกไม้ไปผูกกับเขาควาย ให้ ควายกินปลาย กล้าข้าว หรือหญ้าอย่างดีที่เตรียมไว้ เพื่อแสดงความรักและเมตตาต่อ ควาย ควายเองก็เป็นสัตว์ที่รู้ ภาษามนุษย์ และเข้าใจความเมตตาที่ชาวนาแสดงออก อย่างเป็นมิตร เหมือนช้าง ม้า และสัตว์อื่น ๆ ที่มนุษย์ชอบเลี้ยงไว้เป็นเพื่อนและใช้ แรงงาน
  • 7. คนกับควายวิถีชีวิตชาวชนบท ผูกพันลึกซึ้ง มีความรักและเอื้ออาทรต่อกัน ไม่ว่าคน หรือสัตว์ มิตรภาพที่จะดารงอยู่ได้เนิ่นนาน สายใยผูกรัดไม่ให้ขาด คือ น้าใจ การทานาข้าวหรือการปลูกข้าว พันธุ์และช่วงเวลาปลูกข้าว พันธุ์ข้าวมี 2 ชนิด คือ 1.ชนิดไม่ไวแสง สามารถเพาะปลูกได้ทั้งนาปีและนาปรัง มีอายุเก็บเกี่ยว 110 – 130 วัน ส่วนมากให้ผลผลิตต่อไร่ 100 ถัง เนื่องจากตอบสนองต่อปุ๋ยดี ตัวอย่าง เช่น พันธุ์ สุพรรณบุรี1, สุพรรณบุรี2, ชัยนาท 1, กข. 23 ,เจ้าหอมคลองหลวง1 ,และเจ้าหอม สุพรรณบุรีช่วงเวลาปลูกทาได้ตลอดปีขึ้นอยู่กับสภาพน้า แนะนาให้เขตชลประทาน โดยวิธีการปักดา หรือหว่านข้าวตมอย่างไรก็ดี ไม่แนะ นาให้ปลูกติดต่อกันตลอดปีเป็น เวลานาน ควรปลูกคั่นด้วยพืชหมุนเวียนบ้างในบางฤดู จะช่วยตัดวงจรศัตรูพืชและ รักษาสภาพดินที่
  • 8. ใช้เพาะปลูกข้าว ให้คงความสมบูรณ์ 2. ชนิดไวแสง ปลูกได้เฉพาะนาปี มีวันเก็บเกี่ยวที่ค่อนข้างแน่นอน ไม่ว่าจะปลูกเมื่อใด ส่วนมากให้ผลผลิตไม่สูงมากเพราะ ตอบสนองต่อปุ๋ยต่า ตัวอย่าง เช่น พันธุ์ข้าวดอก มะลิ 105 , กข.15 , ขาวตาแห้ง 17 , เหลืองประทิว 123 , และปิ่นแก้ว 56 ช่วงเวลาปลูก ที่เหมาะสมประมาณเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม โดยนับวันเก็บเกี่ยวย้อนขึ้นมาให้ ข้าวมีอายุ 92-120 วัน (ถ้าใช้วิธีหว่านอายุข้าวจะสั้นลง) ทั้งนี้ให้พิจารณาประกอบกับ สภาพน้า ในเขตนาน้าฝนอาจใช้วิธีหว่านข้าวแห้ง หรือปักดา วิธีการทานาหรือปลูกข้าว การทานาโดยทั่วไปมี 3 วิธี คือ นาหว่าน นาหยอด และนาดา ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ เช่นที่สูง ที่ลุ่ม ที่น้าลึก สภาพน้า เช่น เขตน้าฝน เขตชลประทาน สภาพสังคม เช่น มี แรงงานหรือไม่มีแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ เช่น มีเงินทุนมากหรือน้อย มีรายละเอียด คือ 1.นาหว่าน ส่วนมากนิยม เนื่องจากขาดแคลนแรงงานสภาพน้าจากัด ยากแก่การปัก ดาข้าว หรือพื้นที่อยู่ในเขตน้าฝนไม่สามารถควบคุมปริมาณน้าได้ เป็นการปลูกข้าว โดยใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหว่านลงไปในนาที่เตรียมดินไว้แล้ว มี 2 วิธี คือ (1) หว่านข้าว แห้งหรือหว่านสารวย (2) หว่านข้าวตม หรือข้าวงอกหรือหว่านเพาะเลย (1) การหว่านข้าวแห้ง มักใช้วิธีนี้ในเขตนาน้าฝนหรือในพื้นที่ที่ควบคุมน้าไม่ได้ โดย เมล็ดพันธุ์ที่หว่านไม่ได้เพาะให้งอกเสียก่อน เรียกอีกอย่าง คือ หว่านสารวย เป็นการ หว่านคอยฝนในสภาพดินแห้ง โดยหว่านหลังจากไถแปร เมื่อฝนตกลงมาเมล็ดข้าวที่
  • 9. หว่านไว้จะได้งอก บางกรณีเพื่อป้องกันการทาลายของศัตรูข้าว จะมีการคราดกลบ เมล็ดหลังการหว่าน ซึ่งอาจเรียกว่าหว่านคราดกลบ อีกกรณีหนึ่งเป็นการหว่านใน สภาพดินเปียก คือ มีฝนตกเมื่อไถแปรแล้ว ก็หว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวตามทันทีแล้วคราด กลบ วิธีนี้เรียกว่าหว่านหลังขี้ไถ การหว่านข้าวแห้งจะใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ประมาณไร่ละ 10 – 15 กก. (2) การหว่านข้าวตม หรือหว่านข้าวงอก หรือหว่านเพาะเลย เป็นการหว่านโดยการนา เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีการเพาะให้งอกกล่าว คือ แช่น้าสะอาด 12 – 24 ชั่วโมง แล้วนาไป หุ้ม 30 – 48 ชม. จนมีรากงอกยาวประมาณ 1 – 2 มิลลิเมตร ที่เรียกว่า ตุ่มตา แล้ว หว่านลงในพื้นที่นาที่เตรียมไว้อย่างดี คือ ไถดะ ไถแปร และทาเทือกจนราบเรียบ วิธีนี้ บางกรณีในเขตนาน้าฝนควบคุมน้าได้ยาก จาเป็นต้องหว่านในเทือกที่มีน้าขัง แต่ใน เขตชลประทาน ควรระบายน้าให้เทือกนุ่มพอดี สังเกตจากเมล็ดข้าวที่หว่านจะจมใน เทือกประมาณครึ่งหนึ่งของเมล็ดแนวนอนเมื่อข้าวงอกแล้วค่อยๆระบายน้าเข้านา แต่ ไม่ให้ท่วมยอดต้นข้าว การหว่านน้าตม ถ้าเตรียมดินดีวัชพืชน้อยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ไร่ ละ 10-15 กก. แต่ถ้าเตรียมดินไม่ดี มีวัชพืชมากในอัตราเมล็ดพันธุ์ไร่ละ 15 – 20 กก. 2.นาหยอด นิยมในสภาพพื้นที่สูง พื้นที่ไร่ หรือในสภาพนาที่ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ใช้เมล็ดข้าวแห้งที่ไม่ได้เพาะให้งอก หยอดลงไปในหลุมที่เตรียมไว้โดยใช้จอบเสียม หรือใช้ไม้กระทุ้ง ตลอดจนใช้เครื่องหยอด หรืออีกวิธี โดยการโรยเป็นแถว ในร่องที่ทา เตรียมไว้แล้วกลบดินฝังเมล็ดข้าว เมื่อฝนตกลงมาเมล็ดข้าวที่หยอดจะงอก ในสภาพ ไร่หรือที่สูง อาจทาเป็นหลุมลึก 4-5 เซนติเมตร หยอดเมล็ดข้าวหลุมละ 5-6 เมล็ด ส่วนในที่ราบสูง เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถทาร่องห่างกัน 25-30 เซนติเมตร นาหยอดจะใช้เมล็ดพันธุ์ต่อไร่ประมาณ 8-10 กก.
  • 10. 3.นาดา เป็นวิธีการปลูกข้าว โดยแบ่งการปลูกเป็น 2 ขั้นตอน คือ (1) ขั้นตอนการตก กล้า (2) ขั้นตอนการปักดา ปัจจุบันเกษตรกรนิยมปักดาน้อยลง เนื่องจากขาดแคลน แรงงาน อย่างไรก็ดี การปักดา เป็นวิธีการปลูกข้าวที่สามารถควบคุมวัชพืชได้ดีกว่านา หว่าน