SlideShare a Scribd company logo
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช
(ประสูติ พ.ศ. ๒๒๗๙ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒)
มีพระนามเดิม ว่า ทองด้วง
มีพระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์
ธรณินทราธิราชรัตนากาศภาสกรวงศ์องค์ปรมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนารถนายก ดิลกรัตนชาติอาชาวศรัย
สมุทัยวโรมนต์สกลจักรฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทรหริหรินทรธาดาธิบดี ศรีสุวิบุลยคุณธขนิษฐ์ ฤทธิราเม
ศวรมหันต์บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพาดิเทพนฤดินทร์ภูมินทรปรามาธิเบศร โลกเชฎฐวิสุทธิ์รัต
นมกุฎประเทศคตามหาพุทธางกูร บรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว
ประสูติเมื่อวันที่ ๒o มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙
พระราชบิดาทรงพระนามว่าออกอักษรสุนทรศาสตร์ พระราชมารดาทรงพระนามว่า ดาวเรือง
มีบุตรและธิดารวมทั้งหมด ๕ คน คือ
คนที่ ๑ เป็นหญิงชื่อ "สา" (ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นพระเจ้าพี่นางเธอกรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี)
คนที่ ๒ เป็นชายชื่อ "ขุนรามนรงค์" (ถึงแก่กรรมก่อนที่จะเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ ๒)
คนที่ ๓ เป็นหญิงชื่อ "แก้ว" (ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นพระเจ้าพี่นางเธอกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์)
คนที่ ๔ เป็นชายชื่อ "ด้วง" (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)
คนที่ ๕ เป็นชายชื่อ "บุญมา"
(ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระอนุชาธิราช)
เมื่อเจริญวัยได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าอุทุมพร
พระชนมายุ ๒๑ พรรษา ออกบวชที่วัดมหาทลาย แล้วกลับมาเป็นมหาดเล็กหลวงในแผ่นดินพระเจ้าอุทุมพร
พระชนมายุ ๒๕ พรรษา ได้รับตัวแหน่งเป็นหลวงยกกระบัตร ประจําเมืองราชบุรีในแผ่นดิน
พระที่นั่งสุริยามรินทร์ พระองค์ได้วิวาห์กับธิดานาค ธิดาของท่านเศรษฐีทองกับส้ม
พระชนมายุ ๓๒ พรรษา ในระหว่างที่รับราชการอยู่กับพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้เลื่อนตําแหน่ง ดังนี้
พระชนมายุ ๓๓ พรรษา พ.ศ. ๒๓๑๒ได้เลื่อนเป็นพระยาอภัยรณฤทธิ์ เมื่อพระเจ้า
กรุงธนบุรีปราบชุมนุมเจ้าพิมาย
พระชนมายุ ๓๔ พรรษา พ.ศ. ๒๓๑๓ ได้เลื่อนเป็นพระยายมราชที่สมุหนายกเมื่อ
พระเจ้ากรุงธนบุรีไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง
พระชนมายุ ๓๕พรรษา พ.ศ. ๒๓๑๔ ได้เลื่อนเป็นเจ้าพระยาจักรี เมื่อคราวเป็นแม่ทัพไปตีเขมรครั้งที่ ๒
พระชนมายุ ๔๑ พรรษา พ.ศ. ๒๓๒๑ ได้เลื่อนเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเมื่อคราวเป็นแม่ทัพใหญ่
ไปตีเมืองลาวตะวันออก
พ.ศ. ๒๓๒๓ เป็นครั้งสุดท้ายที่ไปปราบเขมร ขณะเดียวกับที่กรุงธนบุรีเกิดจลาจลจึงเสด็จยกกองทัพกลับมา
กรุงธนบุรี
พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองค์ทรงปราบปรามเสี้ยนหนามแผ่นดินเสร็จแล้วจึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติปราบดาภิเษก
แล้วได้มีพระราชดํารัสให้ขุดเอาหีบพระบรมศพของพระเจ้ากรุงธนบุรีขึ้นตั้ง ณ เมรุวัดบาง
ยี่เรือพระราชทานพระสงฆ์บังสุกุลแล้วถวายพระเพลิงพระบรมศพ เสร็จแล้วให้มีการมหรสพ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(ประสูติ พ.ศ. ๒๓๑o ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๕๓ - พ.ศ. ๒๓๖๗)
พระนามเดิม ว่า ฉิม
พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์
ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยด
โรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร์ หริหรินทราธาดาธิบดี ศรีวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรม
หันตอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมิทรปรมาธิเบศ
โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว
ประสูติเมื่อ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑o ตรงกับวันพุธ ขึ้น ๗ คํ่า เดือน ๓ ปีกุน พระองค์ทรงเป็นพระบรมราช
โอรสองค์ที่ ๔ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและกรมสมเด็จพระอมรินทรามาตย์พระบรม
ราชชนนีพันปีหลวง ประสูติ ณ บ้านอัมพวาแขวงเมืองสมุทรสงครามขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราช เป็นหลวงยกกรับัตรเมืองราชบุรี พระบิดาได้ให้เข้าศึกษากับสมเด็จพระวันรัต
( ทองอยู่ ) ณ วัดบางหว้าใหญ่ พระองค์ทรงมีพระชายาเท่าที่ปรากฎ
๑. กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์พระอัครมเหสี
๒. กรมสมเด็จพระศรีสุราลัย พระสนมเอก ขณะขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. ๒๓๕๒
มีพระชนมายุได้๔๒ พรรษา
พ.ศ. ๒๓๒๒ พระราชบิดาไปราชการสงครามกรุงศรีสัตนาคนหุต ก็ติดตามไป
พ.ศ. ๒๓๒๓ พระชนมายุ ๑๓ พรรษา ได้เข้าเป็นศิษย์สมเด็จพระวันรัต(ทองอยู่)
พ.ศ. ๒๓๒๔ พระราชบิดาได้เลื่อนเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ไปร่วมปราบปรามเขมรกับพระบิดา
พ.ศ. ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ปราบดาภิเษกแล้วได้ทรงสถาปนาขึ้นเป็น "สมเด็จ
พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร“
พ.ศ. ๒๓๒๙ พระชนมายุ ๑๙ พรรษา ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมชนกนาถ ไปสงครามตําบลลาดหญ้า และทาง
หัวเมืองฝ่ายเหนือ
พ.ศ. ๒๓๓O ได้โดยเสด็จพระบรมชนกนาถ ไปสงครามที่ตําบลท่าดินแดง และตีเมืองทวาย
พ.ศ. ๒๓๓๑ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเป็นพระองค์แรกที่อุปสมบท
ในวัดนี้ เสด็จไปจําพรรษา เมื่อครบสามเดือน ณ วัดสมอราย ปัจจุบันคือวัดราชาธิราช ครั้นทรงลาผนวชในปีนั้น
ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จเจ้าหญิงบุญรอด พระธิดาในพระพี่นางเธอ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงกรม
พระศรีสุดารักษ์
พ.ศ. ๒๓๓๖ โดยเสด็จพระราชบิดาไปตีเมืองทวาย ครั้งที่ ๒
พ.ศ. ๒๓๔๙ ( วันอาทิตย์เดือน ๘ ขึ้น ๗ คํ่า ปีขาล ) ทรงพระชนมายุได้๔O พรรษาได้รับ
สถาปนาเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ซึ่งดํารงตําแหน่งพระมหาอุปราชขึ้นแทน
กรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาท ที่ได้สวรรคตแล้วเมื่อ พ.ศ.๒๓๔๖
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
(ประสูติ พ.ศ. ๒๓๓O ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๖๗ - พ.ศ. ๒๓๙๔)
พระนามเดิม ว่า พระองค์ชายทับ
พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร์ สยามินทรวิโรดม บรมธรรมิกมหา
ราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยองค์ที่ ๓ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นพระราชโอรส
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และสมเด็จพระศรีสุราลัย ( เจ้าจอมมารดาเรียม )
ประสูติ ณ วันจันทร์ เดือน ๔ แรม ๑O คํ่า ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๓๓O มีพระนามเดิมว่า
"พระองค์ชายทับ"
พ.ศ. ๒๓๖๕ พระองค์ชายทับ ได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์กํากับราชการกรมท่า กรมพระคลังมหา
สมบัติ กรมพระตํารวจว่าการฎีกา นอกจากนี้ยังได้ทรงรับพระกรุณาให้แต่งสําเภาหลวงออกไปค้าขาย ณ เมืองจีน
พระองค์ทรงได้รับพระสามัญญานามว่า "เจ้าสัว”
ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชการที่ 2 ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคต โดยมิได้ตรัสมอบราช
สมบัติให้แก่พระราชโอรสองค์ใด พระบรมวงศานุวงศ์และบรรดาเสนาบดีผู้เป็นประทานในราชการจึงปรึกษา
กัน เห็นควรถวายราชสมบัติแก่พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ อันที่จริงแล้วราชสมบัติควรตกแก่ เจ้า
ฟ้ามงกุฎ ( พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ) เพราะเจ้าฟ้ามงกุฎ เป็นราชโอรสที่ประสูติจาก
สมเด็จพระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๒ โดยตรง ส่วนกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เป็นเพียงราชโอรสที่เกิดจากเจ้าจอม
เท่านั้น โดยที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งพระราชหฤทัยไว้แล้วว่าเมื่อสิ้นรัชกาลพระองค์แล้วจะคืน
ราชสมบัติ ให้แก่สมเด็จพระอนุชา ( เจ้าฟ้ามงกุฎ) ดังนั้นพระองค์จึงไม่ทรงสถาปนาพระบรมราชินี คงมีแต่
เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอม
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์ในวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ขึ้น ๗ คํ่า เดือน ๙ ปี
วอก มีพระชนมายุได้ ๓๗ พรรษา
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(ประสูติ พ.ศ. ๒๓๔๗ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๙๓ - พ.ศ. ๒๔๑๑)
พระนามเดิม ว่า เจ้าฟ้ามหามาลา
พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎสุทธิ สมมุติเทพยพงศวงศาดิศรกษัตริย์วรขัตติยราช
นิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธิเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวราชรามวรัง
กูร สุจริตมูลสุสาธิตอุกฤษฐวิบูลย บุรพาดูลยกฤษฎาภินิหารสุภาธิการรังสฤษดิ ธัญญลักษณ วิจิตรโสภาค
สรรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคคล ประสิทธิสรรพสุภผลอุดม บรมสุขุมาลยมหาบุรุษยรัตน
ศึกษาพิพัฒนสรรพโกศล สุวิสุทธิวิมลศุภศีลสมาจารย์เพ็ชรญาณประภาไพโรจน์ อเนกโกฎิสาธุ คุณวิบุลย
สันดาน ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์เอกอัครมหาบุรุษสุตพุทธมหากระวี
ตรีปิฎกาทิโกศล วิมลปรีชามหาอุดมบัณฑิต สุนทรวิจิตรปฏิภาณ บริบูรณ์คุณสาร สัสยามาทิโลกยดิลกสาร สัสยา
มาทิโลกยดิลก มหาปริวารนายกอนันต์ มหันตวรฤทธิเดชอนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรพพิเศษ
สิรินธรมหาชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตร
สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเศกาภิษิต สรรพทศทิศวิชิตวิไชย สกลมไหศวรินมหาสยามินทร
มเหศวรมหินทร มหาราชาวโรดมบรมนารถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์
อุกฤษฐศักดิอัครนเรศราธิบดี
เมตตากรุณาสีตลหฤทัยอโนปมัยบุญการสกลไพศาลมหารัษฎาธิเบนทร
ปรเมนทรธรรมมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบรมบพิตร พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ประสูติ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ ตรงกับปีชวด ขณะนั้นพระราชบิดายังดํารงพระยศเป็นเจ้า
ฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เมื่อทรงพระเยาว์ได้ทรงศึกษาอักขะสมัยกับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์เมื่อพระชนมายุ
ได้๙ พรรษา ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ มีพระราชอนุชาร่วมพระราชมารดา คือ เจ้าฟ้าจุธามณี ซึ่งต่อมา
ได้รับสถาปนาเป็น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
เมื่อพระชนมายุได้๙ พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถก็โปรดให้มีการพระราชพิธีลงสรง ( พ.ศ. ๒๓๕๕ ) เป็น
ครั้งแรกที่กระทําขึ้นในกรุงรัตนโกสินทร์ ได้รับพระราชทานนามจารึกในพระสุพรรณปัฎว่า " สมเด็จพระเจ้าลูก
ยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎสมมุติเทววงศ์พงศ์อิสรค์กษัตริย์ขัตติยราชกุมาร " สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ได้เสด็จขึ้นครองราชย์
เมื่อวันที่ ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๙๔ ทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" เรียกขานใน
หมู่ชาวต่างชาติว่า "คิงส์มงกุฎ" ขณะที่พระองค์ขึ้นเสวย สิริราชย์สมบัตินั้น พระชนมายุ ๓๗ พรรษา
เมื่อได้เสด็จขึ้นครองราชย์แล้วทรงโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์
(พระนามเดิมเจ้าฟ้าจุธามณีโอรสองค์ที่ ๕O ของรัชกาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) ขึ้นเป็นสมเด็จพระปิ่น
เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีฐานะเสมือนพระเจ้าแผ่นดินอีกพระองค์หนึ่ง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(ประสูติ พ.ศ. ๒๓๙๖ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๑๑ - พ.ศ. ๒๔๕๓)
พระนามเดิม ว่า เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์
พระนามเต็ม ว่า พระบามสมเด็จพระปรมิทรมหาจุฬสลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฎ บุรุษรัตนราชรวิวงศ์
วรุฒมพงษ์บรพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาตสังสุทธเคราะหณี
จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษฏ์ ธัญลักษณวิจิตโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางค
ประณตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภ ผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ
สรพรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถเปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขราชดิลก มหา
ปริวารนายกอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศ มโหดมบรม
ราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลม
ไหสวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรามหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติ อาชาวศรัย พุทธาธิไตยรัตนสรณา
รักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล
มหารัษฎาธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตรพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " เป็นพระราชโอรสใน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ กับสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (สมเด็จพระนางรําเพย
ภมรภิรมย์) พระองค์ประสูติเมื่อวันที่ ๒O กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ ตรงกับวันอังคาร แรม ๓ คํ่า
เดือน ๑Oได้ทรงรับสถาปนาเป็นกรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ และกรมขุนพอนิจประชานาถ
ด้านการศึกษา พระองค์ทรงได้รับการศึกษาเป็นมาอย่างดี คือ ทรงศึกษาอักษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี ภาษา
บาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาไทยรัฐประศาสนศาสตร์ วิชากระบี่ กระบอง วิชาอัศวกรรม วิชามวยปลํ้า การยิงปืนไฟ
เมื่อพระชนมายุได้๑๖ พรรษา ได้ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติโดยมีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้สําเร็จ
ราชการ พ.ศ. ๒๔๑O พระเจ้านโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ได้ส่งพระแสงกระบี่มาถวาย ครั้นพระชนมายุครบที่จะ
ว่าราชการได้ พระองค์จึงได้ทรงทําพิธีราชาภิเษกใหม่อีกครั้งหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖ ทําให้เกิดผลใหญ่ 3ข้อ
๑. ทําให้พวกพ่อค้าชาวต่างประเทศหันมาทําการติดต่อกับพระองค์โดยตรง เป็นการปลูกความนิยมนับถือกับ
ชาวต่างประเทศได้เป็นอย่างดีเยี่ยม
๒. ทําให้พระองค์ มีพระราชอํานาจที่จะควบคุมกําลังทหารการเงินได้โดยตรงเป็นได้ทรงอํานาจในบ้านเมืองโดย
สมบูรณ์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
(ประสูติ พ.ศ. ๒๔๒๓ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๒๓ - พ.ศ. ๒๔๖๘)
พระนามเดิม ว่า สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ
พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาวชิรวุธ เอกอรรคมหาบุรุษบรมนราธิราช พินิตประชานาถ
มหาสมมตวงศ์ อดิศัยพงศ์วิมลรัตน์วรขัตติราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโต
สุชาตสังสุทธเคราะหณีจักรีบรมนาถ จุฬาลงกรณราชวรางกูร บรมมกุฏนเรนทร์สูรสันตติวงศ์วิสิฐ สุสาธิตบุ
รพาธิการ อดุลยกฤษฎาภินิหาร อดิเรกบุญฤทธิ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพวงค์ มหาชโนตมางตประณตบาท
บงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดม บรมสุขุมาลย์ทิพยเทพาวตาร ไพศาลเกียรติคุณ อดุลยวิเศษสรรพเทเวศรานุ
รักษ์ บริมศักดิสมญาเทพวาราวดี ศรีมหาบุรุษสุดสมบัติ เสนางคนิกรรัตนอัศวโกศลประพนธปรีชา มัทวสมาจาร
บริบูรณคุณสารสยามาทินค รวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษศิรินธรบรม
ชนกาดิศรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรม
ราชาภิเษฏาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม
บรมนาถชาติอาชาวศรัยพุทธาธิไตรรัตนสรณารักษ์อดุลยศักดิ์ อรรคนเรศราธิบดี
เมตตากรุณา สีตลหฤทัย อโนมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร์
ปรเมนทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ เมื่อ วันเสาร์ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๑ พระองค์ทรงเป็นพระ
ราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี
( สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชเทวี ) เมื่อยังทรงพระเยาว์ทรงพระนามว่า "สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ" ได้รับ
สถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวาราวดี ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ สมเด็จพระบรม
เชษฐาธิราชเจ้าฟ้าชายมหาวชิราวุธ ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฎราชกุมารดํารง
ตําแหน่งรัชทายาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ จึงได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยาม
มงกุฎราชกุมาร ดํารงตําแหน่งรัชทายาทแทน
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
(ประสูติ พ.ศ. ๒๔๓๖ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๓๘ - พ.ศ. ๒๔๗๗)
พระนามเดิม ว่า เจ้าฟ้าชายประชาธิปกศักดิเดช กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา
พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก มหันตเดชนดิลกรามาธิบดี เทพยปรียามหาราช
รวิวงศ์ อสัมภินพงศพีระกษัตรบุรุษรัตนราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาตสังสุทธ
เคราะหณี จักรีบรมนาถจุฬาลงกรณราชวรางกูร มหมกุฏวงศวีรสูรชิษฐ ราชธรรมทศพิธ อุต์กฤษฎานิบุณย์
อดุลยฤษฎาภินิหาร บูรพาธิการสุสาธิต ธันยลักษณ์วิจิตรเสาวภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคมานทสนธิมต
สมันตสมาคม บรมราชสมภาร ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณ อดุลยศักดิเดช สรรพเทเวศปริยานุรักษ์ มงคลล
คนเนมาหวัยสุโขทัยธรรมราชา อภิเนาวศิลปศึกษาเดชาวุธ วิชัยยุทธศาสตร์โกศล วิมลนรรยพินิต สุจริตสมาจาร
ภัทรภิชญาณประดิภานสุนทรประวรศาสโนปสุดมภก มูลมุขมาตยวรนายกมหาเสนานี สราชนาวีพยูหโยธโพยม
จร บรมเชษฏโสทรสมมต เอกราชยยศสธิคมบรมราชสมบัติ นพปฏลเศวตฉัตราดิฉัตร ศรีรัตโนปลักษณมหาบรม
ราชาภิเษกาภิศิกต์ สรรพทศทิศวิชิตเดโชไชย สกลมไหศวรยมหาสยามินทรมเหศวรมหินทรมหารามาธิราช
วโรดม บรมนาถชาตอาชาวศรัย พุทธาธิไตรรัตนวิศิษฎศักดิ์อัครนเรศวราธิบดี
เมตตากรุณาศีตลหฤทัย อโนปไมยบุณยการ สกลไพศาลมหารัษฏราธิบดินทร์
ประมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงเป็นพระโอรสองค์เล็กของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงประสูติแด่สมเด็จพระศรีพัชริน
ทราบรมราชินีนารถ นับว่าเป็นพระราชโอรสองค์เล็กสุด ประสูติ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ตรงกับ
วันพุธ แรม ๑๔ คํ่า เดือน ๑๑ ปีมะเส็ง ทรงพระนามเดิมว่า " เจ้าฟ้าชายประชาธิปกศักดิเดช กรมหลวงสุโขทัย
ธรรมราชา
เมื่อทรงมีพระชนมายุได้๑๒ พรรษา พระองค์ได้เข้าศึกษา ในวิทยาลัยทหารบก ณ ประเทศอังกฤษจนจบและได้
เสด็จกลับมารับราชการในรัชกาลที่ ๖ ซึ่งเป็นพระเชษฐาธิราชของพระองค์โดยได้รับยศเป็นนายพันโททหารบก
มีตําแหน่งเป็นราชองครักษ์และผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยชั้นประถม ต่อมาภายหลังได้เลื่อนตําแหน่งเป็น
ลําดับจนเป็นนายพันเอก มีตําแหน่งเป็นปลัดกรมเสนาธิการทหารบก ก่อนขึ้นครองราชสมบัติมีตําแหน่งเป็นผู้
บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๒
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
(ประสูติ พ.ศ. ๒๔๖๘ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๗๒ - พ.ศ. ๒๔๘๙)
พระนามเดิม ว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล
พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนมหา อานันทมหิดลสกลไพศาลมหารัษฎาธิบดี พระอัฐมรามาธิบ
ดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ต่อมาเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๙ ทรงได้รับการสถาปนาพระ
บรมอัฐิ เฉลิมพระนามเป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลอดุลยเดช วิมลรามาธิบดี จุฬาลง
กรณราชปรียวรนัดดา มหิตลานเรศวรางกูร ไอศูรยสันตติวงศวิสุทธ์ วรุตมขัตติยศักตอรรคอุดมจักรีบรมราชวง
ศนิวิฐ ทศพิธราชธรรมอุกฤษฎนิบุณ อดุลยกฤษฎาภินิการรังสฤษฎ์ สุสาธิตบูรพาธิการ ไพศาลเกียรติคุณอดุลย
พิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์อดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ ธัญอรรคลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโน
ตมงคประณตบาทบงกชยุคล อเนกนิกรชนสโมสรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัต
ราดิฉัตร สรรพรัฐทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถ
ชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ วิศิษฎศักตอัครนเรศรามาธิบดี พระอัฐมราะบดินทร สยามินทราธิ
ราชบรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าอานันทมหิดล ประสูติ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒O กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ตรงกับ
วันขึ้น ๓ คํ่า เดือน ๑๑ ปีฉลู ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมันนี ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๒
ของสมเด็จพระราชบิดาเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์
ทรงมีพระพี่นางและพระอนุชาร่วมสมเด็จพระราชบิดาและสมเด็จพระราชชนนีเดียวกันคือ
๑. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
๒. สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช
พ.ศ. ๒๔๗๒ สมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชกรมหลวงสงขลานครินทร์เสด็จทิวงคต
พ.ศ. ๒๔๗๔ พระองค์ได้เสด็จไปทรงศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต
พ.ศ. ๒๔๗๖ เสด็จพระราชดําเนินไปทวีปยุโรป ประทับ ณ เมืองโลซานน์ประเทศสวิสเซอร์แลนด์
พ.ศ. ๒๔๗๗ ทรงเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัว ไม่มีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่จะสืบราชสันตติวงศ์ และด้วยความเห็นชอบของผู้สําเร็จราชการ
แผ่นดินที่ได้ดําเนินการไปตามกฎมณเฑียรบาล
พ.ศ. ๒๔๘๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้เสด็จพระราชดําเนินกลับเยี่ยมประเทศไทยพร้อม
ด้วยสมเด็จพระชนนี สมเด็จพระพี่นางเธอและสมเด็จพระเจ้าน้องเธอ ได้ทรงประประทับอยู่ที่พระตําหนัก
จิตรลดารโหฐานประมาณ ๒ เดือน จึงเสด็จไปประเทศสวิสเซอร์แลนด์เพื่อเข้าศึกษาวิชานิติศาสตร์ และการ
ปกครองในมหาวิทยาลัยประเทศนั้น
พ.ศ. ๒๔๘๘ วันที่ ๒O กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๘ พระองค์ทรงบรรลุนิติภาวะ จึงเสด็จกลับมาถึงประเทศไทยอีกครั้ง
หนึ่ง และในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ได้ทรงประทับอยู่ณ พระที่นั่งบรมพิมานใน
พระบรมมหาราชวังผู้สําเร็จราชการแทนคนล่าสุดคือ นายปรีดี พนมยงค์
ได้ถวายพระราชภารกิจแด่พระองค์เพื่อได้ทรงบริหารเต็มที่ตามพระราชอํานาจ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
(ประสูติ พ.ศ. ๒๔๗O ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๘๙ - ปัจจุบัน)
พระนามเดิม ว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล
พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร
สยามินทราธิรา บรมนาถบพิตร
ประสูติ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗O ณ เมืองเคมบริจดจ์มลรัฐเมสสาชูเสท ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงเป็น
พระราชโอรสาธิราชองค์ที่ ๓ ในสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล( สมเด็จพระศรีนครินทรทรา บรมราชชนนี )
พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์เล็ก ทรงมีพระเชษฐาธิราชว่า " พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล "
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ รัชกาลที่ ๘ และมีพระพี่นาง พระนามว่า " สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
“พระองค์ได้เสด็จกลับเถลิงถวัลยราชสมบัติต่อจากพระบรมเชษฐาเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะมีพระ
ชันษา ๑๙ ปี ก่อนครองราชย์ได้ทรงศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร์และได้เสด็จกลับไปศึกษาวิชานิติศาสตร์และรัฐ
ประศาสนศาสตร์ต่ออีกภายหลังที่ได้ครองราชย์แล้วทรงสนพระทัยในอักษรศาสตร์
และการดนตรีทรงรอบรู้ภาษาต่างประเทศหลายภาษาและตรัสได้อย่าง
คล่องแคล่ว จนเป็นที่ประจักษ์แก่คณะทูตานุทูตและประชาชนชาวเมืองนั้นๆ เป็นอย่างดี
ต่างพากันชมว่า พระองค์ทรงมีความรู้ทันสมัยที่สุดพระองค์หนึ่ง สําหรับดนตรีนั้นทรงประพันธ์
เนื้อร้องและทํานองเพลงแด่คณะวงดนตรีต่างๆ มีเพลงพระราชนิพนธ์ที่คนไทยรู้จัก
เช่น เพลงสายฝน เพลงประจํามหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ เพลงประจํามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พระองค์เคยเข้าร่วมวงดนตรีกับชาวต่างประเทศมาแล้ว โดยไม่ถือพระองค์
ประวัติผู้จัดทาโครงงาน
นางสาวศุมินตรา บุญศรี
เกิดวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙ อายุ ๑๘ ปี
ปัจจุบันกําลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๓
โรงเรียนสอนแก้วว่องไววิทยา ตําบลเดิด อําเภอเมืองจังหวัดยโสธร

More Related Content

What's hot

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
9789740333685
97897403336859789740333685
9789740333685CUPress
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550Poramate Minsiri
 

What's hot (20)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
9789740333685
97897403336859789740333685
9789740333685
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 

Viewers also liked

รัชกาลที่9 ม.3.15
รัชกาลที่9 ม.3.15รัชกาลที่9 ม.3.15
รัชกาลที่9 ม.3.15nonthakon12345
 
สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4page
สไลด์  พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4pageสไลด์  พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4page
สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยSukanda Panpetch
 
DPS and CPT eXplorer: connecting data & policy
DPS and CPT eXplorer: connecting data & policyDPS and CPT eXplorer: connecting data & policy
DPS and CPT eXplorer: connecting data & policycarloamati
 
Precision match ppt 2015
Precision match ppt 2015Precision match ppt 2015
Precision match ppt 2015PrecisionMatch
 
Paratransit Mesoeconomy- MOKWENA
Paratransit Mesoeconomy- MOKWENAParatransit Mesoeconomy- MOKWENA
Paratransit Mesoeconomy- MOKWENAOfentse Mokwena
 
2013公共政策関西支部大会スライド
2013公共政策関西支部大会スライド2013公共政策関西支部大会スライド
2013公共政策関西支部大会スライドMasaki Hata
 
What happens in territories? Explore how your local administration is performing
What happens in territories? Explore how your local administration is performingWhat happens in territories? Explore how your local administration is performing
What happens in territories? Explore how your local administration is performingcarloamati
 
Using progression in your strength training
Using progression in your strength trainingUsing progression in your strength training
Using progression in your strength trainingnappycadre3778
 
Squash Those IoT Security Bugs with a Hardened System Profile
Squash Those IoT Security Bugs with a Hardened System ProfileSquash Those IoT Security Bugs with a Hardened System Profile
Squash Those IoT Security Bugs with a Hardened System ProfileSteve Arnold
 
A study of taiji boxing by Sun Lutang
A study of taiji boxing by Sun LutangA study of taiji boxing by Sun Lutang
A study of taiji boxing by Sun LutangHarris Klonizakis
 

Viewers also liked (13)

รัชกาลที่9 ม.3.15
รัชกาลที่9 ม.3.15รัชกาลที่9 ม.3.15
รัชกาลที่9 ม.3.15
 
สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4page
สไลด์  พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4pageสไลด์  พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4page
สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทย+534+dltvhisp2+55t2his p02 f10-4page
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
DPS and CPT eXplorer: connecting data & policy
DPS and CPT eXplorer: connecting data & policyDPS and CPT eXplorer: connecting data & policy
DPS and CPT eXplorer: connecting data & policy
 
Precision match ppt 2015
Precision match ppt 2015Precision match ppt 2015
Precision match ppt 2015
 
Paratransit Mesoeconomy- MOKWENA
Paratransit Mesoeconomy- MOKWENAParatransit Mesoeconomy- MOKWENA
Paratransit Mesoeconomy- MOKWENA
 
2013公共政策関西支部大会スライド
2013公共政策関西支部大会スライド2013公共政策関西支部大会スライド
2013公共政策関西支部大会スライド
 
What happens in territories? Explore how your local administration is performing
What happens in territories? Explore how your local administration is performingWhat happens in territories? Explore how your local administration is performing
What happens in territories? Explore how your local administration is performing
 
Using progression in your strength training
Using progression in your strength trainingUsing progression in your strength training
Using progression in your strength training
 
Squash Those IoT Security Bugs with a Hardened System Profile
Squash Those IoT Security Bugs with a Hardened System ProfileSquash Those IoT Security Bugs with a Hardened System Profile
Squash Those IoT Security Bugs with a Hardened System Profile
 
SEO
SEOSEO
SEO
 
E.Hussein Hamdy_CV
E.Hussein Hamdy_CVE.Hussein Hamdy_CV
E.Hussein Hamdy_CV
 
A study of taiji boxing by Sun Lutang
A study of taiji boxing by Sun LutangA study of taiji boxing by Sun Lutang
A study of taiji boxing by Sun Lutang
 

Similar to ๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี

9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887CUPress
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีPatteera Muthuta
 
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Patteera Muthuta
 
ใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีPatteera Muthuta
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์  กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์ Anutida Ging
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptxพระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.PptxSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542CUPress
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copyKittayaporn Changpan
 
105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)
105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)
105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4pageสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1pageสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1pagePrachoom Rangkasikorn
 

Similar to ๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี (20)

9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
ใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดี
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดี
 
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 ก่อนสถาปนาสุโขทัย ก่อนสถาปนาสุโขทัย
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์  กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptxพระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)
105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)
105+hisp6+dltv54+550126+a+สไลด์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท(1หน้า)
 
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4pageสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-4page
 
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1pageสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1page
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท+602+dltvp6+55t2his p06 f16-1page
 

๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี

  • 1.
  • 2.
  • 3. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช (ประสูติ พ.ศ. ๒๒๗๙ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) มีพระนามเดิม ว่า ทองด้วง มีพระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราชรัตนากาศภาสกรวงศ์องค์ปรมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนารถนายก ดิลกรัตนชาติอาชาวศรัย สมุทัยวโรมนต์สกลจักรฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทรหริหรินทรธาดาธิบดี ศรีสุวิบุลยคุณธขนิษฐ์ ฤทธิราเม ศวรมหันต์บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพาดิเทพนฤดินทร์ภูมินทรปรามาธิเบศร โลกเชฎฐวิสุทธิ์รัต นมกุฎประเทศคตามหาพุทธางกูร บรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันที่ ๒o มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙ พระราชบิดาทรงพระนามว่าออกอักษรสุนทรศาสตร์ พระราชมารดาทรงพระนามว่า ดาวเรือง มีบุตรและธิดารวมทั้งหมด ๕ คน คือ
  • 4. คนที่ ๑ เป็นหญิงชื่อ "สา" (ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นพระเจ้าพี่นางเธอกรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี) คนที่ ๒ เป็นชายชื่อ "ขุนรามนรงค์" (ถึงแก่กรรมก่อนที่จะเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ ๒) คนที่ ๓ เป็นหญิงชื่อ "แก้ว" (ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นพระเจ้าพี่นางเธอกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์) คนที่ ๔ เป็นชายชื่อ "ด้วง" (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) คนที่ ๕ เป็นชายชื่อ "บุญมา" (ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระอนุชาธิราช) เมื่อเจริญวัยได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าอุทุมพร พระชนมายุ ๒๑ พรรษา ออกบวชที่วัดมหาทลาย แล้วกลับมาเป็นมหาดเล็กหลวงในแผ่นดินพระเจ้าอุทุมพร พระชนมายุ ๒๕ พรรษา ได้รับตัวแหน่งเป็นหลวงยกกระบัตร ประจําเมืองราชบุรีในแผ่นดิน พระที่นั่งสุริยามรินทร์ พระองค์ได้วิวาห์กับธิดานาค ธิดาของท่านเศรษฐีทองกับส้ม พระชนมายุ ๓๒ พรรษา ในระหว่างที่รับราชการอยู่กับพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้เลื่อนตําแหน่ง ดังนี้ พระชนมายุ ๓๓ พรรษา พ.ศ. ๒๓๑๒ได้เลื่อนเป็นพระยาอภัยรณฤทธิ์ เมื่อพระเจ้า กรุงธนบุรีปราบชุมนุมเจ้าพิมาย พระชนมายุ ๓๔ พรรษา พ.ศ. ๒๓๑๓ ได้เลื่อนเป็นพระยายมราชที่สมุหนายกเมื่อ พระเจ้ากรุงธนบุรีไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง
  • 5. พระชนมายุ ๓๕พรรษา พ.ศ. ๒๓๑๔ ได้เลื่อนเป็นเจ้าพระยาจักรี เมื่อคราวเป็นแม่ทัพไปตีเขมรครั้งที่ ๒ พระชนมายุ ๔๑ พรรษา พ.ศ. ๒๓๒๑ ได้เลื่อนเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเมื่อคราวเป็นแม่ทัพใหญ่ ไปตีเมืองลาวตะวันออก พ.ศ. ๒๓๒๓ เป็นครั้งสุดท้ายที่ไปปราบเขมร ขณะเดียวกับที่กรุงธนบุรีเกิดจลาจลจึงเสด็จยกกองทัพกลับมา กรุงธนบุรี พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองค์ทรงปราบปรามเสี้ยนหนามแผ่นดินเสร็จแล้วจึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติปราบดาภิเษก แล้วได้มีพระราชดํารัสให้ขุดเอาหีบพระบรมศพของพระเจ้ากรุงธนบุรีขึ้นตั้ง ณ เมรุวัดบาง ยี่เรือพระราชทานพระสงฆ์บังสุกุลแล้วถวายพระเพลิงพระบรมศพ เสร็จแล้วให้มีการมหรสพ
  • 6.
  • 7. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ประสูติ พ.ศ. ๒๓๑o ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๕๓ - พ.ศ. ๒๓๖๗) พระนามเดิม ว่า ฉิม พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยด โรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร์ หริหรินทราธาดาธิบดี ศรีวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรม หันตอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมิทรปรมาธิเบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑o ตรงกับวันพุธ ขึ้น ๗ คํ่า เดือน ๓ ปีกุน พระองค์ทรงเป็นพระบรมราช โอรสองค์ที่ ๔ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและกรมสมเด็จพระอมรินทรามาตย์พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ประสูติ ณ บ้านอัมพวาแขวงเมืองสมุทรสงครามขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช เป็นหลวงยกกรับัตรเมืองราชบุรี พระบิดาได้ให้เข้าศึกษากับสมเด็จพระวันรัต ( ทองอยู่ ) ณ วัดบางหว้าใหญ่ พระองค์ทรงมีพระชายาเท่าที่ปรากฎ ๑. กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์พระอัครมเหสี ๒. กรมสมเด็จพระศรีสุราลัย พระสนมเอก ขณะขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. ๒๓๕๒ มีพระชนมายุได้๔๒ พรรษา
  • 8. พ.ศ. ๒๓๒๒ พระราชบิดาไปราชการสงครามกรุงศรีสัตนาคนหุต ก็ติดตามไป พ.ศ. ๒๓๒๓ พระชนมายุ ๑๓ พรรษา ได้เข้าเป็นศิษย์สมเด็จพระวันรัต(ทองอยู่) พ.ศ. ๒๓๒๔ พระราชบิดาได้เลื่อนเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ไปร่วมปราบปรามเขมรกับพระบิดา พ.ศ. ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ปราบดาภิเษกแล้วได้ทรงสถาปนาขึ้นเป็น "สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร“ พ.ศ. ๒๓๒๙ พระชนมายุ ๑๙ พรรษา ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมชนกนาถ ไปสงครามตําบลลาดหญ้า และทาง หัวเมืองฝ่ายเหนือ พ.ศ. ๒๓๓O ได้โดยเสด็จพระบรมชนกนาถ ไปสงครามที่ตําบลท่าดินแดง และตีเมืองทวาย พ.ศ. ๒๓๓๑ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเป็นพระองค์แรกที่อุปสมบท ในวัดนี้ เสด็จไปจําพรรษา เมื่อครบสามเดือน ณ วัดสมอราย ปัจจุบันคือวัดราชาธิราช ครั้นทรงลาผนวชในปีนั้น ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จเจ้าหญิงบุญรอด พระธิดาในพระพี่นางเธอ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงกรม พระศรีสุดารักษ์ พ.ศ. ๒๓๓๖ โดยเสด็จพระราชบิดาไปตีเมืองทวาย ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๔๙ ( วันอาทิตย์เดือน ๘ ขึ้น ๗ คํ่า ปีขาล ) ทรงพระชนมายุได้๔O พรรษาได้รับ สถาปนาเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ซึ่งดํารงตําแหน่งพระมหาอุปราชขึ้นแทน กรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาท ที่ได้สวรรคตแล้วเมื่อ พ.ศ.๒๓๔๖
  • 9.
  • 10. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ประสูติ พ.ศ. ๒๓๓O ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๖๗ - พ.ศ. ๒๓๙๔) พระนามเดิม ว่า พระองค์ชายทับ พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร์ สยามินทรวิโรดม บรมธรรมิกมหา ราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยองค์ที่ ๓ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และสมเด็จพระศรีสุราลัย ( เจ้าจอมมารดาเรียม ) ประสูติ ณ วันจันทร์ เดือน ๔ แรม ๑O คํ่า ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๓๓O มีพระนามเดิมว่า "พระองค์ชายทับ" พ.ศ. ๒๓๖๕ พระองค์ชายทับ ได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์กํากับราชการกรมท่า กรมพระคลังมหา สมบัติ กรมพระตํารวจว่าการฎีกา นอกจากนี้ยังได้ทรงรับพระกรุณาให้แต่งสําเภาหลวงออกไปค้าขาย ณ เมืองจีน พระองค์ทรงได้รับพระสามัญญานามว่า "เจ้าสัว”
  • 11. ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชการที่ 2 ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคต โดยมิได้ตรัสมอบราช สมบัติให้แก่พระราชโอรสองค์ใด พระบรมวงศานุวงศ์และบรรดาเสนาบดีผู้เป็นประทานในราชการจึงปรึกษา กัน เห็นควรถวายราชสมบัติแก่พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ อันที่จริงแล้วราชสมบัติควรตกแก่ เจ้า ฟ้ามงกุฎ ( พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ) เพราะเจ้าฟ้ามงกุฎ เป็นราชโอรสที่ประสูติจาก สมเด็จพระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๒ โดยตรง ส่วนกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เป็นเพียงราชโอรสที่เกิดจากเจ้าจอม เท่านั้น โดยที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งพระราชหฤทัยไว้แล้วว่าเมื่อสิ้นรัชกาลพระองค์แล้วจะคืน ราชสมบัติ ให้แก่สมเด็จพระอนุชา ( เจ้าฟ้ามงกุฎ) ดังนั้นพระองค์จึงไม่ทรงสถาปนาพระบรมราชินี คงมีแต่ เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์ในวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ขึ้น ๗ คํ่า เดือน ๙ ปี วอก มีพระชนมายุได้ ๓๗ พรรษา
  • 12.
  • 13. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ประสูติ พ.ศ. ๒๓๔๗ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๓๙๓ - พ.ศ. ๒๔๑๑) พระนามเดิม ว่า เจ้าฟ้ามหามาลา พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎสุทธิ สมมุติเทพยพงศวงศาดิศรกษัตริย์วรขัตติยราช นิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธิเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวราชรามวรัง กูร สุจริตมูลสุสาธิตอุกฤษฐวิบูลย บุรพาดูลยกฤษฎาภินิหารสุภาธิการรังสฤษดิ ธัญญลักษณ วิจิตรโสภาค สรรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคคล ประสิทธิสรรพสุภผลอุดม บรมสุขุมาลยมหาบุรุษยรัตน ศึกษาพิพัฒนสรรพโกศล สุวิสุทธิวิมลศุภศีลสมาจารย์เพ็ชรญาณประภาไพโรจน์ อเนกโกฎิสาธุ คุณวิบุลย สันดาน ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์เอกอัครมหาบุรุษสุตพุทธมหากระวี ตรีปิฎกาทิโกศล วิมลปรีชามหาอุดมบัณฑิต สุนทรวิจิตรปฏิภาณ บริบูรณ์คุณสาร สัสยามาทิโลกยดิลกสาร สัสยา มาทิโลกยดิลก มหาปริวารนายกอนันต์ มหันตวรฤทธิเดชอนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรพพิเศษ สิรินธรมหาชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเศกาภิษิต สรรพทศทิศวิชิตวิไชย สกลมไหศวรินมหาสยามินทร มเหศวรมหินทร มหาราชาวโรดมบรมนารถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อุกฤษฐศักดิอัครนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัยอโนปมัยบุญการสกลไพศาลมหารัษฎาธิเบนทร ปรเมนทรธรรมมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบรมบพิตร พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • 14. ประสูติ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ ตรงกับปีชวด ขณะนั้นพระราชบิดายังดํารงพระยศเป็นเจ้า ฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เมื่อทรงพระเยาว์ได้ทรงศึกษาอักขะสมัยกับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์เมื่อพระชนมายุ ได้๙ พรรษา ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ มีพระราชอนุชาร่วมพระราชมารดา คือ เจ้าฟ้าจุธามณี ซึ่งต่อมา ได้รับสถาปนาเป็น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพระชนมายุได้๙ พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถก็โปรดให้มีการพระราชพิธีลงสรง ( พ.ศ. ๒๓๕๕ ) เป็น ครั้งแรกที่กระทําขึ้นในกรุงรัตนโกสินทร์ ได้รับพระราชทานนามจารึกในพระสุพรรณปัฎว่า " สมเด็จพระเจ้าลูก ยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎสมมุติเทววงศ์พงศ์อิสรค์กษัตริย์ขัตติยราชกุมาร " สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๙๔ ทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" เรียกขานใน หมู่ชาวต่างชาติว่า "คิงส์มงกุฎ" ขณะที่พระองค์ขึ้นเสวย สิริราชย์สมบัตินั้น พระชนมายุ ๓๗ พรรษา เมื่อได้เสด็จขึ้นครองราชย์แล้วทรงโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ (พระนามเดิมเจ้าฟ้าจุธามณีโอรสองค์ที่ ๕O ของรัชกาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) ขึ้นเป็นสมเด็จพระปิ่น เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีฐานะเสมือนพระเจ้าแผ่นดินอีกพระองค์หนึ่ง
  • 15.
  • 16. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ประสูติ พ.ศ. ๒๓๙๖ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๑๑ - พ.ศ. ๒๔๕๓) พระนามเดิม ว่า เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระนามเต็ม ว่า พระบามสมเด็จพระปรมิทรมหาจุฬสลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฎ บุรุษรัตนราชรวิวงศ์ วรุฒมพงษ์บรพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาตสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษฏ์ ธัญลักษณวิจิตโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางค ประณตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภ ผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ สรพรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถเปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขราชดิลก มหา ปริวารนายกอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศ มโหดมบรม ราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลม ไหสวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรามหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติ อาชาวศรัย พุทธาธิไตยรัตนสรณา รักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตรพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " เป็นพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ กับสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (สมเด็จพระนางรําเพย ภมรภิรมย์) พระองค์ประสูติเมื่อวันที่ ๒O กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ ตรงกับวันอังคาร แรม ๓ คํ่า เดือน ๑Oได้ทรงรับสถาปนาเป็นกรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ และกรมขุนพอนิจประชานาถ
  • 17. ด้านการศึกษา พระองค์ทรงได้รับการศึกษาเป็นมาอย่างดี คือ ทรงศึกษาอักษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี ภาษา บาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาไทยรัฐประศาสนศาสตร์ วิชากระบี่ กระบอง วิชาอัศวกรรม วิชามวยปลํ้า การยิงปืนไฟ เมื่อพระชนมายุได้๑๖ พรรษา ได้ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติโดยมีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้สําเร็จ ราชการ พ.ศ. ๒๔๑O พระเจ้านโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ได้ส่งพระแสงกระบี่มาถวาย ครั้นพระชนมายุครบที่จะ ว่าราชการได้ พระองค์จึงได้ทรงทําพิธีราชาภิเษกใหม่อีกครั้งหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖ ทําให้เกิดผลใหญ่ 3ข้อ ๑. ทําให้พวกพ่อค้าชาวต่างประเทศหันมาทําการติดต่อกับพระองค์โดยตรง เป็นการปลูกความนิยมนับถือกับ ชาวต่างประเทศได้เป็นอย่างดีเยี่ยม ๒. ทําให้พระองค์ มีพระราชอํานาจที่จะควบคุมกําลังทหารการเงินได้โดยตรงเป็นได้ทรงอํานาจในบ้านเมืองโดย สมบูรณ์
  • 18.
  • 19. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ประสูติ พ.ศ. ๒๔๒๓ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๒๓ - พ.ศ. ๒๔๖๘) พระนามเดิม ว่า สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาวชิรวุธ เอกอรรคมหาบุรุษบรมนราธิราช พินิตประชานาถ มหาสมมตวงศ์ อดิศัยพงศ์วิมลรัตน์วรขัตติราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโต สุชาตสังสุทธเคราะหณีจักรีบรมนาถ จุฬาลงกรณราชวรางกูร บรมมกุฏนเรนทร์สูรสันตติวงศ์วิสิฐ สุสาธิตบุ รพาธิการ อดุลยกฤษฎาภินิหาร อดิเรกบุญฤทธิ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพวงค์ มหาชโนตมางตประณตบาท บงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดม บรมสุขุมาลย์ทิพยเทพาวตาร ไพศาลเกียรติคุณ อดุลยวิเศษสรรพเทเวศรานุ รักษ์ บริมศักดิสมญาเทพวาราวดี ศรีมหาบุรุษสุดสมบัติ เสนางคนิกรรัตนอัศวโกศลประพนธปรีชา มัทวสมาจาร บริบูรณคุณสารสยามาทินค รวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษศิรินธรบรม ชนกาดิศรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรม ราชาภิเษฏาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัยพุทธาธิไตรรัตนสรณารักษ์อดุลยศักดิ์ อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณา สีตลหฤทัย อโนมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร์ ปรเมนทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • 20. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ เมื่อ วันเสาร์ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๑ พระองค์ทรงเป็นพระ ราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี ( สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชเทวี ) เมื่อยังทรงพระเยาว์ทรงพระนามว่า "สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ" ได้รับ สถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวาราวดี ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ สมเด็จพระบรม เชษฐาธิราชเจ้าฟ้าชายมหาวชิราวุธ ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฎราชกุมารดํารง ตําแหน่งรัชทายาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ จึงได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยาม มงกุฎราชกุมาร ดํารงตําแหน่งรัชทายาทแทน
  • 21.
  • 22. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ประสูติ พ.ศ. ๒๔๓๖ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๓๘ - พ.ศ. ๒๔๗๗) พระนามเดิม ว่า เจ้าฟ้าชายประชาธิปกศักดิเดช กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก มหันตเดชนดิลกรามาธิบดี เทพยปรียามหาราช รวิวงศ์ อสัมภินพงศพีระกษัตรบุรุษรัตนราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาตสังสุทธ เคราะหณี จักรีบรมนาถจุฬาลงกรณราชวรางกูร มหมกุฏวงศวีรสูรชิษฐ ราชธรรมทศพิธ อุต์กฤษฎานิบุณย์ อดุลยฤษฎาภินิหาร บูรพาธิการสุสาธิต ธันยลักษณ์วิจิตรเสาวภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคมานทสนธิมต สมันตสมาคม บรมราชสมภาร ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณ อดุลยศักดิเดช สรรพเทเวศปริยานุรักษ์ มงคลล คนเนมาหวัยสุโขทัยธรรมราชา อภิเนาวศิลปศึกษาเดชาวุธ วิชัยยุทธศาสตร์โกศล วิมลนรรยพินิต สุจริตสมาจาร ภัทรภิชญาณประดิภานสุนทรประวรศาสโนปสุดมภก มูลมุขมาตยวรนายกมหาเสนานี สราชนาวีพยูหโยธโพยม จร บรมเชษฏโสทรสมมต เอกราชยยศสธิคมบรมราชสมบัติ นพปฏลเศวตฉัตราดิฉัตร ศรีรัตโนปลักษณมหาบรม ราชาภิเษกาภิศิกต์ สรรพทศทิศวิชิตเดโชไชย สกลมไหศวรยมหาสยามินทรมเหศวรมหินทรมหารามาธิราช วโรดม บรมนาถชาตอาชาวศรัย พุทธาธิไตรรัตนวิศิษฎศักดิ์อัครนเรศวราธิบดี เมตตากรุณาศีตลหฤทัย อโนปไมยบุณยการ สกลไพศาลมหารัษฏราธิบดินทร์ ประมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • 23. ทรงเป็นพระโอรสองค์เล็กของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงประสูติแด่สมเด็จพระศรีพัชริน ทราบรมราชินีนารถ นับว่าเป็นพระราชโอรสองค์เล็กสุด ประสูติ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ตรงกับ วันพุธ แรม ๑๔ คํ่า เดือน ๑๑ ปีมะเส็ง ทรงพระนามเดิมว่า " เจ้าฟ้าชายประชาธิปกศักดิเดช กรมหลวงสุโขทัย ธรรมราชา เมื่อทรงมีพระชนมายุได้๑๒ พรรษา พระองค์ได้เข้าศึกษา ในวิทยาลัยทหารบก ณ ประเทศอังกฤษจนจบและได้ เสด็จกลับมารับราชการในรัชกาลที่ ๖ ซึ่งเป็นพระเชษฐาธิราชของพระองค์โดยได้รับยศเป็นนายพันโททหารบก มีตําแหน่งเป็นราชองครักษ์และผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยชั้นประถม ต่อมาภายหลังได้เลื่อนตําแหน่งเป็น ลําดับจนเป็นนายพันเอก มีตําแหน่งเป็นปลัดกรมเสนาธิการทหารบก ก่อนขึ้นครองราชสมบัติมีตําแหน่งเป็นผู้ บัญชาการกองพลทหารราบที่ ๒
  • 24.
  • 25. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (ประสูติ พ.ศ. ๒๔๖๘ ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๗๒ - พ.ศ. ๒๔๘๙) พระนามเดิม ว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนมหา อานันทมหิดลสกลไพศาลมหารัษฎาธิบดี พระอัฐมรามาธิบ ดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ต่อมาเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๙ ทรงได้รับการสถาปนาพระ บรมอัฐิ เฉลิมพระนามเป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลอดุลยเดช วิมลรามาธิบดี จุฬาลง กรณราชปรียวรนัดดา มหิตลานเรศวรางกูร ไอศูรยสันตติวงศวิสุทธ์ วรุตมขัตติยศักตอรรคอุดมจักรีบรมราชวง ศนิวิฐ ทศพิธราชธรรมอุกฤษฎนิบุณ อดุลยกฤษฎาภินิการรังสฤษฎ์ สุสาธิตบูรพาธิการ ไพศาลเกียรติคุณอดุลย พิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์อดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ ธัญอรรคลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโน ตมงคประณตบาทบงกชยุคล อเนกนิกรชนสโมสรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัต ราดิฉัตร สรรพรัฐทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถ ชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ วิศิษฎศักตอัครนเรศรามาธิบดี พระอัฐมราะบดินทร สยามินทราธิ ราชบรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล ประสูติ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒O กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ตรงกับ วันขึ้น ๓ คํ่า เดือน ๑๑ ปีฉลู ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมันนี ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๒ ของสมเด็จพระราชบิดาเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ ทรงมีพระพี่นางและพระอนุชาร่วมสมเด็จพระราชบิดาและสมเด็จพระราชชนนีเดียวกันคือ
  • 26. ๑. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ๒. สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช พ.ศ. ๒๔๗๒ สมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชกรมหลวงสงขลานครินทร์เสด็จทิวงคต พ.ศ. ๒๔๗๔ พระองค์ได้เสด็จไปทรงศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต พ.ศ. ๒๔๗๖ เสด็จพระราชดําเนินไปทวีปยุโรป ประทับ ณ เมืองโลซานน์ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ พ.ศ. ๒๔๗๗ ทรงเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว ไม่มีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่จะสืบราชสันตติวงศ์ และด้วยความเห็นชอบของผู้สําเร็จราชการ แผ่นดินที่ได้ดําเนินการไปตามกฎมณเฑียรบาล พ.ศ. ๒๔๘๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้เสด็จพระราชดําเนินกลับเยี่ยมประเทศไทยพร้อม ด้วยสมเด็จพระชนนี สมเด็จพระพี่นางเธอและสมเด็จพระเจ้าน้องเธอ ได้ทรงประประทับอยู่ที่พระตําหนัก จิตรลดารโหฐานประมาณ ๒ เดือน จึงเสด็จไปประเทศสวิสเซอร์แลนด์เพื่อเข้าศึกษาวิชานิติศาสตร์ และการ ปกครองในมหาวิทยาลัยประเทศนั้น พ.ศ. ๒๔๘๘ วันที่ ๒O กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๘ พระองค์ทรงบรรลุนิติภาวะ จึงเสด็จกลับมาถึงประเทศไทยอีกครั้ง หนึ่ง และในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ได้ทรงประทับอยู่ณ พระที่นั่งบรมพิมานใน พระบรมมหาราชวังผู้สําเร็จราชการแทนคนล่าสุดคือ นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถวายพระราชภารกิจแด่พระองค์เพื่อได้ทรงบริหารเต็มที่ตามพระราชอํานาจ
  • 27.
  • 28. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ประสูติ พ.ศ. ๒๔๗O ขึ้นครองราชย์พ.ศ. ๒๔๘๙ - ปัจจุบัน) พระนามเดิม ว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล พระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิรา บรมนาถบพิตร ประสูติ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗O ณ เมืองเคมบริจดจ์มลรัฐเมสสาชูเสท ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงเป็น พระราชโอรสาธิราชองค์ที่ ๓ ในสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล( สมเด็จพระศรีนครินทรทรา บรมราชชนนี ) พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์เล็ก ทรงมีพระเชษฐาธิราชว่า " พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล " พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ รัชกาลที่ ๘ และมีพระพี่นาง พระนามว่า " สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา “พระองค์ได้เสด็จกลับเถลิงถวัลยราชสมบัติต่อจากพระบรมเชษฐาเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะมีพระ ชันษา ๑๙ ปี ก่อนครองราชย์ได้ทรงศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร์และได้เสด็จกลับไปศึกษาวิชานิติศาสตร์และรัฐ ประศาสนศาสตร์ต่ออีกภายหลังที่ได้ครองราชย์แล้วทรงสนพระทัยในอักษรศาสตร์ และการดนตรีทรงรอบรู้ภาษาต่างประเทศหลายภาษาและตรัสได้อย่าง คล่องแคล่ว จนเป็นที่ประจักษ์แก่คณะทูตานุทูตและประชาชนชาวเมืองนั้นๆ เป็นอย่างดี ต่างพากันชมว่า พระองค์ทรงมีความรู้ทันสมัยที่สุดพระองค์หนึ่ง สําหรับดนตรีนั้นทรงประพันธ์ เนื้อร้องและทํานองเพลงแด่คณะวงดนตรีต่างๆ มีเพลงพระราชนิพนธ์ที่คนไทยรู้จัก เช่น เพลงสายฝน เพลงประจํามหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ เพลงประจํามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พระองค์เคยเข้าร่วมวงดนตรีกับชาวต่างประเทศมาแล้ว โดยไม่ถือพระองค์
  • 29. ประวัติผู้จัดทาโครงงาน นางสาวศุมินตรา บุญศรี เกิดวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙ อายุ ๑๘ ปี ปัจจุบันกําลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๓ โรงเรียนสอนแก้วว่องไววิทยา ตําบลเดิด อําเภอเมืองจังหวัดยโสธร