SlideShare a Scribd company logo
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย (Firefly Glow-wormLighteningbug) เป็นชื่อเรียก
แมลงปีกแข็งในวงศ์แลมพายริดี้ (Lampyridae) อันดับโคลีออบทร่า (Coleoptera)
ทั่วทั้งโลกมีทิ้งถ่วงประมาณ ٢,٠٠٠ ชนิด

       คำาว่า “หิ่งห้อย” นี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายไว้สั้นๆ ว่า
แมลงชนิดทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย (Firefly Glow-wormLighteningbug) เป็นชื่อเรียก
แมลงปีกแข็งในวงศ์แลมพายริดี้ (Lampyridae) อันดับโคลีออบทร่า (Coleoptera) ทั่ว
ทั้งโลกมีทิ้งถ่วงประมาณ 2,000 ชนิด



      คำาว่า “หิ่งห้อย” นี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายไว้สั้นๆ ว่า แมลง
ชนิดหนึ่ง มีแสงเรืองๆ ที่ก้น

       รูปร่างลักษณะ



       ทิ้งถ่วงตัวเต็มวัยเพศผู้มีปีก ส่วนเพศเมียมีทั้งมีปีกและไม่มีปีก บางชนิดมีปีกสั้น
มาก (Brachypterous) ชนิดที่ไม่มีปีกรูปร่างลักษณะคล้ายตัวหนอน หนอนของทิ้งถ่วง
เป็นตัวหำ้ากินหอยฝาเดียว ไส้เดือน กิ้งกือ และแมลงตัวเล็กๆเป็นอาหาร ทิ้งถ่วงมี
ลักษณะเด่น คือสามารถทำาแสงได้ทั้งระยะหนอน ดักแด้ แลตัวเต็มวัย ส่วนระยะไข่ทำา
แสงได้เฉพาะบางชนิดเท่านั้น



        การให้แสงของหิ่งห้อย



        ทิ้งถ่วงมีอวัยวะทำาแสงอยู่บริเวณส่วนท้องด้านล่าง เพศผูมีอวัยวะทำาแสง 2
                                                              ้
ปล้อง เพศเมียมี 1 ปล้อง แต่บางชนิดตัวเต็มวัยเพศเมียมีรปร่างลักษณะคล้ายหนอน มี
                                                         ู
อวัยวะทำาแสงด้านข้างของลำาตัว เกือบทุกปล้องแสงของทิ้งถ่วงเกิดจากปฏิกิริยาของ
สารลูซิเฟอริน (Luciferin) ที่อยู่ในอวัยวะทำาแสงกับออกซิเจน มีเอนไซม์ลูซิเฟอเรส
(Luciferase) เป็นตัวเร่งปฏิกิรยา และมีสารอดีโนซีนไตรฟอสเฟต (Adenosine
                              ิ
Triphosphate,ATP) เป็นตัวให้พลังงานทำาให้เกิดแสง ทิ้งถ่วงกระพริบแสงเพื่อการผสม
พันธุ์และสื่อสารซึ่งกันและกัน



       หิ่งห้อยชนิด "ลูซิโอลา อะควอติลิส" ที่ค้นพบโดย ดร.อัญชนา ท่านเจริญ นัก
กีฏวิทยาจากมหาวิทยาเกษตรศาสตร์ มีวิธีสื่อสารด้วยแสงได้ถึง 4 แบบ [1]



       หิ่งห้อยในประเทศไทย
หิ่งห้อย นับว่าเป็นแมลงที่มีคุณลักษณะพิเศษ คือสามารถบ่งชี้ถึงความอุดม
สมบูรณ์และสมดุลของธรรมชาติได้ โดยเฉพาะมีคุณสมบัติที่สามารถใช้เป็น “ตัวหำ้า” ใน
การควบคุมศัตรูพืชตามหลักการทางชีวภาพ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่การเกษตรกรรม
ซึ่งเป็นวิถีชีวิตหลักของคนไทย



       หิ่งห้อยนี้ในระยะที่เป็นตัวหนอนจะกินหอยเล็กๆ เป็นอาหาร ซึ่งหอยเหล่านั้นเป็น
พาหะนำาโรคหลายชนิดมาสู่มนุษย์และสัตว์ เช่น โรคพยาธิใบไม้ในลำาไส้โรคเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบ เป็นต้น นอกจากนั้น หิ่งห้อย ยังเป็นตัวหำ้า ทำาลายหอยเชอรี่ ซึ่งเป็นศัตรู
สำาคัญกัดกินทำาลายต้นข้าวในระยะลงกล้าและระยะปักดำาใหม่ๆ หิ่งห้อยจึงเป็นแมลงที่มี
ความสำาคัญทั้งในด้านการแพทย์และการเกษตร



         ในกรุงเทพฯนี้ ในอดีตบริเวณปากคลองบางลำาพู เคยมีหิ่งห้อยเป็นจำานวนมาก
แต่ก็หมดไป เมื่อวิถีชีวิตของผู้คนแถบนั้นเปลี่ยนไป เมื่อ พ.ศ. 2542 กรมศิลปากรร่วมกับ
กรุงเทพมหานครได้บูรณะป้อมพระสุเมรุและบริเวณจัดสร้างเป็นสวนสาธารณะสันติชัย
ปราการ และสร้างพระที่นั่งสันติชัยปราการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวและเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าพักผ่อนหย่อนใจน้อมเกล้าฯ
ถวายเป็นพระราชกุศล ได้มีการปลูกต้นลำาพู และเลี้ยงหิ่งห้อย เพื่ออนุรักษ์และขยาย
พันธุ์ เป็นการฟื้นฟูวิถีชีวิตบางลำาพูในอดีตด้วย



       สถานที่ชมหิ่งห้อยที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น ทีริมคลองตลาดนำ้าอัมพวา อำาเภอ
                                                        ่
อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เกาะลัด อำาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีมากใน
ช่วงฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม ควรเลือกชมในคืนเดือนมืด เพราะเห็นแสง
ของหิ่งห้อยได้อย่างชัดเจนหนึ่ง มีแสงเรืองๆ ที่ก้น

        รูปร่างลักษณะ
       ทิ้งถ่วงตัวเต็มวัยเพศผู้มีปีก ส่วนเพศเมียมีทั้งมีปีกและไม่มีปีก บางชนิดมีปีกสั้น
มาก (Brachypterous) ชนิดที่ไม่มีปีกรูปร่างลักษณะคล้ายตัวหนอน หนอนของทิ้งถ่วง
เป็นตัวหำ้ากินหอยฝาเดียว ไส้เดือน กิ้งกือ และแมลงตัวเล็กๆเป็นอาหาร ทิ้งถ่วงมี
ลักษณะเด่น คือสามารถทำาแสงได้ทั้งระยะหนอน ดักแด้ แลตัวเต็มวัย ส่วนระยะไข่ทำา
แสงได้เฉพาะบางชนิดเท่านั้น

 การให้แสงของหิ่งห้อย
       ทิ้งถ่วงมีอวัยวะทำาแสงอยู่บริเวณส่วนท้องด้านล่าง เพศผูมีอวัยวะทำาแสง ٢
                                                             ้
ปล้อง เพศเมียมี ١ ปล้อง แต่บางชนิดตัวเต็มวัยเพศเมียมีรปร่างลักษณะคล้ายหนอน มี
                                                        ู
อวัยวะทำาแสงด้านข้างของลำาตัว เกือบทุกปล้องแสงของทิ้งถ่วงเกิดจากปฏิกิริยาของ
สารลูซิเฟอริน (Luciferin) ที่อยู่ในอวัยวะทำาแสงกับออกซิเจน มีเอนไซม์ลซิ   ู
เฟอเรส (Luciferase) เป็นตัวเร่งปฏิกิรยา และมีสารอดีโนซีนไตรฟอสเฟต
                                      ิ
(Adenosine Triphosphate,ATP) เป็นตัวให้พลังงานทำาให้เกิดแสง ทิ้งถ่วงกระพริบแสง
เพื่อการผสมพันธุ์และสื่อสารซึ่งกันและกัน

       หิ่งห้อยชนิด "ลูซิโอลา อะควอติลิส" ที่ค้นพบโดย ดร.อัญชนา ท่านเจริญ นัก
กีฏวิทยาจากมหาวิทยาเกษตรศาสตร์ มีวิธีสื่อสารด้วยแสงได้ถึง ٤ แบบ [١]

 หิ่งห้อยในประเทศไทย
         หิ่งห้อย นับว่าเป็นแมลงที่มคุณลักษณะพิเศษ คือสามารถบ่งชี้ถึงความอุดม
                                    ี
สมบูรณ์และสมดุลของธรรมชาติได้ โดยเฉพาะมีคุณสมบัติที่สามารถใช้เป็น “ตัวหำ้า” ใน
การควบคุมศัตรูพืชตามหลักการทางชีวภาพ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่การเกษตรกรรม
ซึ่งเป็นวิถีชีวิตหลักของคนไทย

       หิ่งห้อยนี้ในระยะที่เป็นตัวหนอนจะกินหอยเล็กๆ เป็นอาหาร ซึ่งหอยเหล่านั้นเป็น
พาหะนำาโรคหลายชนิดมาสู่มนุษย์และสัตว์ เช่น โรคพยาธิใบไม้ในลำาไส้โรคเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบ เป็นต้น นอกจากนั้น หิ่งห้อย ยังเป็นตัวหำ้า ทำาลายหอยเชอรี่ ซึงเป็นศัตรู
                                                                        ่
สำาคัญกัดกินทำาลายต้นข้าวในระยะลงกล้าและระยะปักดำาใหม่ๆ หิ่งห้อยจึงเป็นแมลงที่มี
ความสำาคัญทั้งในด้านการแพทย์และการเกษตร

        ในกรุงเทพฯนี้ ในอดีตบริเวณปากคลองบางลำาพู เคยมีหิ่งห้อยเป็นจำานวนมาก
แต่ก็หมดไป เมื่อวิถีชีวิตของผู้คนแถบนั้นเปลี่ยนไป เมื่อ พ.ศ. ٢٥٤٢ กรมศิลปากร
ร่วมกับกรุงเทพมหานครได้บรณะป้อมพระสุเมรุและบริเวณจัดสร้างเป็นสวน
                            ู
สาธารณะสันติชัยปราการ และสร้างพระที่นั่งสันติชัยปราการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าพักผ่อน
หย่อนใจน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศล ได้มีการปลูกต้นลำาพู และเลี้ยงหิ่งห้อย เพื่อ
อนุรักษ์และขยายพันธุ์ เป็นการฟื้นฟูวิถีชีวิตบางลำาพูในอดีตด้วย

      สถานที่ชมหิ่งห้อยที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น ทีริมคลองตลาดนำ้าอัมพวา
                                                       ่
อำาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เกาะลัด อำาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
โดยมีมากในช่วงฤดูฝน ตังแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม ควรเลือกชมในคืนเดือนมืด
                       ้
เพราะเห็นแสงของหิ่งห้อยได้อย่างชัดเจน

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
Saran Srimee
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
supornp13
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
just2miwz
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 

What's hot (17)

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 140921171754451403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 

Viewers also liked

99年眷聯會收支表
99年眷聯會收支表99年眷聯會收支表
99年眷聯會收支表Celialee
 
Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4
Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4
Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4Sil151515
 
Questionario di valutazione componente docenti
Questionario di valutazione   componente docentiQuestionario di valutazione   componente docenti
Questionario di valutazione componente docenti
servizio
 
Human mind and Usability
Human mind and UsabilityHuman mind and Usability
Human mind and Usability
Sergei Spivak
 
Bases legais educação inclusiva
Bases legais educação inclusivaBases legais educação inclusiva
Bases legais educação inclusiva
Helena Libardi
 
Projekto sa araling panlipunan
Projekto sa araling panlipunanProjekto sa araling panlipunan
Projekto sa araling panlipunan
Louieness Orozco
 
Ucuk hocalar
Ucuk hocalarUcuk hocalar
Ucuk hocalar
komikzede
 
Qlik view advanced features
Qlik view advanced featuresQlik view advanced features
Qlik view advanced features
divjeev
 
Geospacial jabfungsurta
Geospacial jabfungsurtaGeospacial jabfungsurta
Geospacial jabfungsurta
jasa16
 
信息 Sunday Sermon 10/07/2011
信息 Sunday Sermon 10/07/2011信息 Sunday Sermon 10/07/2011
信息 Sunday Sermon 10/07/2011
Sembawang Baptist Church
 
Fazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectares
Fazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectaresFazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectares
Fazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectares
Edmo Ferreira
 
Brochure in2intelligence
Brochure in2intelligenceBrochure in2intelligence
Brochure in2intelligenceRemco Nicolai
 

Viewers also liked (20)

99年眷聯會收支表
99年眷聯會收支表99年眷聯會收支表
99年眷聯會收支表
 
Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4
Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4
Cavicchi silvia 2010-11_esercizio4
 
Questionario di valutazione componente docenti
Questionario di valutazione   componente docentiQuestionario di valutazione   componente docenti
Questionario di valutazione componente docenti
 
Human mind and Usability
Human mind and UsabilityHuman mind and Usability
Human mind and Usability
 
Inasistencias periodo ii
Inasistencias   periodo iiInasistencias   periodo ii
Inasistencias periodo ii
 
Guía electivo urbanización
Guía electivo urbanizaciónGuía electivo urbanización
Guía electivo urbanización
 
Bases legais educação inclusiva
Bases legais educação inclusivaBases legais educação inclusiva
Bases legais educação inclusiva
 
Presentacion equipo 4
Presentacion equipo 4Presentacion equipo 4
Presentacion equipo 4
 
Poesia
PoesiaPoesia
Poesia
 
Projekto sa araling panlipunan
Projekto sa araling panlipunanProjekto sa araling panlipunan
Projekto sa araling panlipunan
 
Ucuk hocalar
Ucuk hocalarUcuk hocalar
Ucuk hocalar
 
Qlik view advanced features
Qlik view advanced featuresQlik view advanced features
Qlik view advanced features
 
Geospacial jabfungsurta
Geospacial jabfungsurtaGeospacial jabfungsurta
Geospacial jabfungsurta
 
信息 Sunday Sermon 10/07/2011
信息 Sunday Sermon 10/07/2011信息 Sunday Sermon 10/07/2011
信息 Sunday Sermon 10/07/2011
 
UD10 L' Espai
UD10  L' EspaiUD10  L' Espai
UD10 L' Espai
 
De va kho
De va kho De va kho
De va kho
 
Fazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectares
Fazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectaresFazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectares
Fazenda a venda em são paulo, pedregulho estreito, 76,23 hectares
 
Schema installation
Schema installationSchema installation
Schema installation
 
第十三回課題
第十三回課題第十三回課題
第十三回課題
 
Brochure in2intelligence
Brochure in2intelligenceBrochure in2intelligence
Brochure in2intelligence
 

Similar to ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย

2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เข็มชาติ วรนุช
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
pitsanu duangkartok
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
chirapa
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
sirieiei
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
Nattapong Boonpong
 

Similar to ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย (20)

2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 

ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย

  • 1. ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย (Firefly Glow-wormLighteningbug) เป็นชื่อเรียก แมลงปีกแข็งในวงศ์แลมพายริดี้ (Lampyridae) อันดับโคลีออบทร่า (Coleoptera) ทั่วทั้งโลกมีทิ้งถ่วงประมาณ ٢,٠٠٠ ชนิด คำาว่า “หิ่งห้อย” นี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายไว้สั้นๆ ว่า แมลงชนิดทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย (Firefly Glow-wormLighteningbug) เป็นชื่อเรียก แมลงปีกแข็งในวงศ์แลมพายริดี้ (Lampyridae) อันดับโคลีออบทร่า (Coleoptera) ทั่ว ทั้งโลกมีทิ้งถ่วงประมาณ 2,000 ชนิด คำาว่า “หิ่งห้อย” นี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายไว้สั้นๆ ว่า แมลง ชนิดหนึ่ง มีแสงเรืองๆ ที่ก้น รูปร่างลักษณะ ทิ้งถ่วงตัวเต็มวัยเพศผู้มีปีก ส่วนเพศเมียมีทั้งมีปีกและไม่มีปีก บางชนิดมีปีกสั้น มาก (Brachypterous) ชนิดที่ไม่มีปีกรูปร่างลักษณะคล้ายตัวหนอน หนอนของทิ้งถ่วง เป็นตัวหำ้ากินหอยฝาเดียว ไส้เดือน กิ้งกือ และแมลงตัวเล็กๆเป็นอาหาร ทิ้งถ่วงมี ลักษณะเด่น คือสามารถทำาแสงได้ทั้งระยะหนอน ดักแด้ แลตัวเต็มวัย ส่วนระยะไข่ทำา แสงได้เฉพาะบางชนิดเท่านั้น การให้แสงของหิ่งห้อย ทิ้งถ่วงมีอวัยวะทำาแสงอยู่บริเวณส่วนท้องด้านล่าง เพศผูมีอวัยวะทำาแสง 2 ้ ปล้อง เพศเมียมี 1 ปล้อง แต่บางชนิดตัวเต็มวัยเพศเมียมีรปร่างลักษณะคล้ายหนอน มี ู อวัยวะทำาแสงด้านข้างของลำาตัว เกือบทุกปล้องแสงของทิ้งถ่วงเกิดจากปฏิกิริยาของ สารลูซิเฟอริน (Luciferin) ที่อยู่ในอวัยวะทำาแสงกับออกซิเจน มีเอนไซม์ลูซิเฟอเรส (Luciferase) เป็นตัวเร่งปฏิกิรยา และมีสารอดีโนซีนไตรฟอสเฟต (Adenosine ิ Triphosphate,ATP) เป็นตัวให้พลังงานทำาให้เกิดแสง ทิ้งถ่วงกระพริบแสงเพื่อการผสม พันธุ์และสื่อสารซึ่งกันและกัน หิ่งห้อยชนิด "ลูซิโอลา อะควอติลิส" ที่ค้นพบโดย ดร.อัญชนา ท่านเจริญ นัก กีฏวิทยาจากมหาวิทยาเกษตรศาสตร์ มีวิธีสื่อสารด้วยแสงได้ถึง 4 แบบ [1] หิ่งห้อยในประเทศไทย
  • 2. หิ่งห้อย นับว่าเป็นแมลงที่มีคุณลักษณะพิเศษ คือสามารถบ่งชี้ถึงความอุดม สมบูรณ์และสมดุลของธรรมชาติได้ โดยเฉพาะมีคุณสมบัติที่สามารถใช้เป็น “ตัวหำ้า” ใน การควบคุมศัตรูพืชตามหลักการทางชีวภาพ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่การเกษตรกรรม ซึ่งเป็นวิถีชีวิตหลักของคนไทย หิ่งห้อยนี้ในระยะที่เป็นตัวหนอนจะกินหอยเล็กๆ เป็นอาหาร ซึ่งหอยเหล่านั้นเป็น พาหะนำาโรคหลายชนิดมาสู่มนุษย์และสัตว์ เช่น โรคพยาธิใบไม้ในลำาไส้โรคเยื่อหุ้ม สมองอักเสบ เป็นต้น นอกจากนั้น หิ่งห้อย ยังเป็นตัวหำ้า ทำาลายหอยเชอรี่ ซึ่งเป็นศัตรู สำาคัญกัดกินทำาลายต้นข้าวในระยะลงกล้าและระยะปักดำาใหม่ๆ หิ่งห้อยจึงเป็นแมลงที่มี ความสำาคัญทั้งในด้านการแพทย์และการเกษตร ในกรุงเทพฯนี้ ในอดีตบริเวณปากคลองบางลำาพู เคยมีหิ่งห้อยเป็นจำานวนมาก แต่ก็หมดไป เมื่อวิถีชีวิตของผู้คนแถบนั้นเปลี่ยนไป เมื่อ พ.ศ. 2542 กรมศิลปากรร่วมกับ กรุงเทพมหานครได้บูรณะป้อมพระสุเมรุและบริเวณจัดสร้างเป็นสวนสาธารณะสันติชัย ปราการ และสร้างพระที่นั่งสันติชัยปราการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าพักผ่อนหย่อนใจน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศล ได้มีการปลูกต้นลำาพู และเลี้ยงหิ่งห้อย เพื่ออนุรักษ์และขยาย พันธุ์ เป็นการฟื้นฟูวิถีชีวิตบางลำาพูในอดีตด้วย สถานที่ชมหิ่งห้อยที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น ทีริมคลองตลาดนำ้าอัมพวา อำาเภอ ่ อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เกาะลัด อำาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีมากใน ช่วงฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม ควรเลือกชมในคืนเดือนมืด เพราะเห็นแสง ของหิ่งห้อยได้อย่างชัดเจนหนึ่ง มีแสงเรืองๆ ที่ก้น รูปร่างลักษณะ ทิ้งถ่วงตัวเต็มวัยเพศผู้มีปีก ส่วนเพศเมียมีทั้งมีปีกและไม่มีปีก บางชนิดมีปีกสั้น มาก (Brachypterous) ชนิดที่ไม่มีปีกรูปร่างลักษณะคล้ายตัวหนอน หนอนของทิ้งถ่วง เป็นตัวหำ้ากินหอยฝาเดียว ไส้เดือน กิ้งกือ และแมลงตัวเล็กๆเป็นอาหาร ทิ้งถ่วงมี ลักษณะเด่น คือสามารถทำาแสงได้ทั้งระยะหนอน ดักแด้ แลตัวเต็มวัย ส่วนระยะไข่ทำา แสงได้เฉพาะบางชนิดเท่านั้น การให้แสงของหิ่งห้อย ทิ้งถ่วงมีอวัยวะทำาแสงอยู่บริเวณส่วนท้องด้านล่าง เพศผูมีอวัยวะทำาแสง ٢ ้ ปล้อง เพศเมียมี ١ ปล้อง แต่บางชนิดตัวเต็มวัยเพศเมียมีรปร่างลักษณะคล้ายหนอน มี ู อวัยวะทำาแสงด้านข้างของลำาตัว เกือบทุกปล้องแสงของทิ้งถ่วงเกิดจากปฏิกิริยาของ สารลูซิเฟอริน (Luciferin) ที่อยู่ในอวัยวะทำาแสงกับออกซิเจน มีเอนไซม์ลซิ ู เฟอเรส (Luciferase) เป็นตัวเร่งปฏิกิรยา และมีสารอดีโนซีนไตรฟอสเฟต ิ
  • 3. (Adenosine Triphosphate,ATP) เป็นตัวให้พลังงานทำาให้เกิดแสง ทิ้งถ่วงกระพริบแสง เพื่อการผสมพันธุ์และสื่อสารซึ่งกันและกัน หิ่งห้อยชนิด "ลูซิโอลา อะควอติลิส" ที่ค้นพบโดย ดร.อัญชนา ท่านเจริญ นัก กีฏวิทยาจากมหาวิทยาเกษตรศาสตร์ มีวิธีสื่อสารด้วยแสงได้ถึง ٤ แบบ [١] หิ่งห้อยในประเทศไทย หิ่งห้อย นับว่าเป็นแมลงที่มคุณลักษณะพิเศษ คือสามารถบ่งชี้ถึงความอุดม ี สมบูรณ์และสมดุลของธรรมชาติได้ โดยเฉพาะมีคุณสมบัติที่สามารถใช้เป็น “ตัวหำ้า” ใน การควบคุมศัตรูพืชตามหลักการทางชีวภาพ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่การเกษตรกรรม ซึ่งเป็นวิถีชีวิตหลักของคนไทย หิ่งห้อยนี้ในระยะที่เป็นตัวหนอนจะกินหอยเล็กๆ เป็นอาหาร ซึ่งหอยเหล่านั้นเป็น พาหะนำาโรคหลายชนิดมาสู่มนุษย์และสัตว์ เช่น โรคพยาธิใบไม้ในลำาไส้โรคเยื่อหุ้ม สมองอักเสบ เป็นต้น นอกจากนั้น หิ่งห้อย ยังเป็นตัวหำ้า ทำาลายหอยเชอรี่ ซึงเป็นศัตรู ่ สำาคัญกัดกินทำาลายต้นข้าวในระยะลงกล้าและระยะปักดำาใหม่ๆ หิ่งห้อยจึงเป็นแมลงที่มี ความสำาคัญทั้งในด้านการแพทย์และการเกษตร ในกรุงเทพฯนี้ ในอดีตบริเวณปากคลองบางลำาพู เคยมีหิ่งห้อยเป็นจำานวนมาก แต่ก็หมดไป เมื่อวิถีชีวิตของผู้คนแถบนั้นเปลี่ยนไป เมื่อ พ.ศ. ٢٥٤٢ กรมศิลปากร ร่วมกับกรุงเทพมหานครได้บรณะป้อมพระสุเมรุและบริเวณจัดสร้างเป็นสวน ู สาธารณะสันติชัยปราการ และสร้างพระที่นั่งสันติชัยปราการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าพักผ่อน หย่อนใจน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศล ได้มีการปลูกต้นลำาพู และเลี้ยงหิ่งห้อย เพื่อ อนุรักษ์และขยายพันธุ์ เป็นการฟื้นฟูวิถีชีวิตบางลำาพูในอดีตด้วย สถานที่ชมหิ่งห้อยที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น ทีริมคลองตลาดนำ้าอัมพวา ่ อำาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เกาะลัด อำาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีมากในช่วงฤดูฝน ตังแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม ควรเลือกชมในคืนเดือนมืด ้ เพราะเห็นแสงของหิ่งห้อยได้อย่างชัดเจน