SlideShare a Scribd company logo
1
สารบัญ
หน้า
คำนำ 2
รำยชื่อคณะทำงำน 3
กระบวนกำรจัดทำ 5
กำรให้น้ำหนักของหลักฐำนและระดับคำแนะนำ 6
แนวทำงปฏิบัติกำรรักษำด้วยออกซิเจน (Oxygen therapy) 7
แนวทำงปฏิบัติกำรให้ควำมชื้นและยำพ่นฝอยละออง (Humidity and aerosol therapy) 16
แนวทำงปฏิบัติกำรทำกำยภำพบำบัดทรวงอก (Chest physiotherapy) 34
แนวทำงปฏิบัติกำรดูดเสมหะและกำรล้ำงจมูก (Suctioning and nasal irrigation) 44
แนวทำงปฏิบัติกำรดูแลผู้ป่วยเด็กที่ใส่ท่อหลอดคอ (Tracheostomy care) 55
ภำคผนวก 62
2
รายชื่อคณะทางานจัดทา “แนวทางการบาบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก”
ที่ปรึกษา ศ. เกียรติคุณ พญ. สุภรี สุวรรณจูฑะ
ศ. เกียรติคุณ นพ. ธีรชัย ฉันทโรจน์ศิริ
ประธาน รศ. พญ. นวลจันทร์ ปรำบพำล
เลขานุการ รศ. พญ. สุชำดำ ศรีทิพยวรรณ
กลุ่มที่ 1: แนวทางปฏิบัติการรักษาด้วยการให้ออกซิเจน (Oxygen therapy)
ประธาน รศ. พญ. จิตลัดดำ ดีโรจนวงศ์
เลขานุการ ผศ. พญ. กนกพร อุดมอิทธิพงศ์
คณะทางาน นอ. หญิง สุพิชชำ แสงโชติ
อ. นพ. สนิท เรืองรองรัตน์
รศ. นพ. รุจิภัตต์ สำรำญสำรวจกิจ
รอ. หญิง ยุพิน วำนิชทวีวัฒน์
กลุ่มที่ 2: แนวทางปฏิบัติการให้ความชื้นและยาพ่นฝอยละออง (Humidity and aerosol therapy)
ประธาน รศ. พอ. หญิง ชลิดำ เลำหพันธ์
เลขานุการ พท. หญิงสนิตรำ ศิริธำงกุล
คณะทางาน พตอ. หญิง นำเรศ วงศ์ไพฑูรย์
รศ. พญ. จำมรี ธีรตกุลพิศำล
รศ. พญ. วนพร อนันตเสรี
ผศ. นพ. จักรพันธ์ สุศิวะ
พท. หญิง สุพิชญำ จึงจิตรักษ์
กลุ่มที่ 3: แนวทางปฏิบัติการทากายภาพบาบัดทรวงอก (Chest physiotherapy)
ประธาน ศ. พญ. อรุณวรรณ พฤทธิพันธ์
เลขานุการ ผศ. นพ. อรรถพล เอี่ยมอุดมกำล
คณะทางาน รศ. พญ. วนิดำ เปำอินทร์
ผศ. พญ. อำภัสสร วัฒนำศรมศิริ
อ. นพ. ธีรเดช คุปตำนนท์
อ. พญ. หฤทัย กมลำภรณ์
อ. พญ. ปิยะพร ชื่นอิ่ม
อ. พญ. โรจนี เลิศบุญเหรียญ
3
กลุ่มที่ 4: แนวทางปฏิบัติการดูดเสมหะและการล้างจมูก (Suctioning and nasal irrigation)
ประธาน รศ. พิเศษ นพ. สรศักดิ์ โล่ห์จินดำรัตน์
เลขานุการ อ. นพ. เฉลิมไทย เอกศิลป์
คณะทางาน นท. ชำตรี พลสยม
อ. พญ. พนิดำ ศรีสันต์
ผศ. นพ. สรวุฒิ พงศ์โรจน์เผ่ำ
อ. นพ. ประวิทย์ เจตนชัย
กลุ่มที่ 5: แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยเด็กที่ใส่ท่อหลอดคอ (Tracheostomy care)
ประธาน ผศ. พอ. ดุสิต สถำวร
เลขานุการ ผศ. นพ. กวีวรรณ ลิ้มประยูร
คณะทางาน อ. นพ. ธีระศักดิ์ บริสุทธิบัณฑิต
รศ. นพ. สมชำย สุนทรโลหะนะกูล
อ. นพ. สมรัก รังคกูลนุวัฒน์
อ. นพ. มนูธรรม มำนวธงชัย
4
กระบวนการจัดทา “แนวทางการบาบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก”
1. จัดตั้งคณะทำงำนเพื่อร่ำง “แนวทำงกำรบำบัดรักษำทำงระบบหำยใจในเด็ก” ซึ่งประกอบด้วยกุมำรแพทย์
ผู้เชี่ยวชำญด้ำนโรคระบบกำรหำยใจและเวชบำบัดวิกฤตจำนวน 37 ท่ำน ดังมีรำยชื่อดังกล่ำวข้ำงต้น
2. แบ่งคณะทำงำนเป็น 5 กลุ่มย่อย เพื่อค้นคว้ำหำข้อมูลสำหรับร่ำงแนวปฏิบัติในหัวข้อย่อยที่กลุ่ม
รับผิดชอบ โดยแหล่งข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรจัดทำร่ำงแนวปฏิบัติได้แก่
- ตำรำภำษำอังกฤษที่เกี่ยวกับโรคทำงระบบหำยใจและกำรดูแลรักษำ
- นิพนธ์ต้นฉบับที่เกี่ยวข้อง โดยกำรค้นหำจำก Pubmed หรือแหล่งข้อมูลสำรสนเทศอื่นๆ
- สอบถำมควำมเห็นจำกผู้เชี่ยวชำญ
3. คณะทำงำนทั้งหมดประชุมร่วมกันเพื่อพิจำรณำร่ำงแนวทำงที่จัดทำขึ้น เพื่อลงควำมเห็นเป็นเอกฉันท์ใน
เรื่องเกี่ยวกับแนวทำงปฏิบัติที่แต่ละกลุ่มได้เขียนขึ้น พิจำรณำให้น้ำหนักหรือกำหนดระดับควำมน่ำเชื่อถือ
ของหลักฐำนทำงกำรแพทย์ที่นำมำใช้อ้ำงอิง ตลอดจนให้ระดับของคำแนะนำสำหรับแนวทำงปฏิบัติแต่ละ
เรื่องตำมหลักเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้
4. ขอควำมเห็นเพิ่มเติมจำกบุคคลภำยนอก ได้แก่ แพทย์ พยำบำล หรือบุคลำกรทำงกำรแพทย์ที่เกี่ยวข้องใน
กำรให้กำรบำบัดรักษำทำงระบบหำยใจในผู้ป่วยเด็ก โดยกำรส่งแบบสอบถำมไปยังโรงพยำบำลต่ำงๆทั้ง
ในกรุงเทพมหำนครและส่วนภูมิภำค ร่วมกับนำเสนอในกำรประชุมประจำปีของรำชวิทยำลัยกุมำรแพทย์
แห่งประเทศไทย
5. ปรับปรุงแก้ไขร่ำงแนวปฏิบัติตำมข้อเสนอแนะที่ได้รับจำกบุคคลภำยนอก
6. ส่งร่ำงแนวปฏิบัติฉบับแก้ไขแล้วให้รำชวิทยำลัยกุมำรแพทย์แห่งประเทศไทยจัดพิมพ์และเผยแพร่แนว
ปฏิบัติที่จัดทำขึ้นให้กุมำรแพทย์ทั่วไปและบุคลำกรที่มีหน้ำที่ดูแลรักษำผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหำทำงระบบ
หำยใจให้รับทรำบและนำไปปฏิบัติ
7. ประเมินแนวปฏิบัติที่จัดทำขึ้นโดยกำรใช้แบบประเมิน ให้กุมำรแพทย์ทั่วไปและบุคลำกรที่ใช้แนวปฏิบัติ
ดังกล่ำวในกำรดูแลรักษำทำงระบบหำยใจในผู้ป่วยเด็กประเมินผลกำรนำแนวทำงปฏิบัตินี้ไปใช้ในกำร
ปฏิบัติงำน
5
การให้น้าหนักของหลักฐานและระดับคาแนะนา
การให้น้าหนักของหลักฐาน (Level of evidence)
ระดับ I หลักฐำนได้จำกงำนวิจัยที่เป็น randomized controlled trials หรือ systematic review
ที่ดีอย่ำงน้อย 1 งำนวิจัย
ระดับ II หลักฐำนที่ได้จำกกำรศึกษำที่เป็น non-randomized controlled trials หรือ before &
after clinical trials หรือ cohort studies
ระดับ III หลักฐำนที่ได้จำกกำรศึกษำที่เป็น case-control studies
ระดับ IV หลักฐำนที่ได้จำกกำรศึกษำที่เป็น descriptive, case reports หรือ case series
ระดับที่ V หลักฐำนที่เป็น expert opinion หรือฉันทำมติ (consensus) ของคณะผู้เชี่ยวชำญ
หมำยเหตุ: น้ำหนักของหลักฐำน (Level of evidence) นี้ประยุกต์มำจำก Cochrane data base study,
Oxford cetre for evidence-based medicine 2001 (http://wwwcebm.net) และ School of Health and
Related Research, University of Sheffield, UK (source: pshipman@mail.mcg.edu)
การให้ระดับของคาแนะนาสาหรับแนวทางปฏิบัติ (Grade of recommendation)
ระดับ A แนวทำงปฏิบัตินี้ให้มีกำรนำไปใช้ (Strongly recommended)
ระดับ B แนวทำงปฏิบัตินี้ควรนำไปใช้ (Recommended)
ระดับ C แนวทำงปฏิบัตินี้เป็นทำงเลือกหนึ่งในกำรนำไปใช้ (Optional)
ระดับ D แนวทำงปฏิบัตินี้ไม่แนะนำให้นำไปใช้ในกรณีทั่วไป (Not recommended in normal
situation)
ระดับ E แนวทำงปฏิบัตินี้ไม่แนะนำให้ไปใช้ (Not recommended in all situations)
หมำยเหตุ: ระดับของคำแนะนำสำหรับแนวทำงปฏิบัติ (Grade of recommendation) นี้ได้จำกมติของ
คณะอนุกรรมกำรจัดทำ CPG โดยประยุกต์มำจำก Classifying recommendations for clinical practice
guidelines, American Academy of Pediatrics ใน Pediatrics 2004; 114: 874-877
6
แนวทางปฏิบัติการรักษาด้วยออกซิเจน (Oxygen therapy)
กำรรักษำด้วยออกซิเจน (oxygen therapy) คือ กำรให้ออกซิเจนที่มีควำมเข้มข้นสูงกว่ำควำมเข้มข้นปกติ
ในบรรยำกำศ เพื่อรักษำและป้ องกันภำวะพร่องออกซิเจน (hypoxia) แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
- กำรให้ในโรงพยำบำลหรือสถำนพยำบำล (Acute care setting)
- กำรให้ที่บ้ำน (Home oxygen therapy)
I. การให้การรักษาด้วยออกซิเจนในโรงพยาบาล (Acute care setting)
ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A)
- ผู้ป่วยที่มีภำวะพร่องออกซิเจน (PaO2 ในเลือด < 60 มม.ปรอท หรือ SpO2 < 90% หรือทำรกที่มี
PaO2 ในเลือด < 50 มม.ปรอท หรือ SpO2 < 88% ขณะหำยใจในอำกำศธรรมดำหรือ room air)
- ผู้ป่วยที่สงสัยว่ำอำจมีภำวะพร่องออกซิเจนแบบเฉียบพลัน
- ผู้ป่วยที่มีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax)
- ผู้ป่วยหลังกำรดมยำสลบ โดยให้ในระยะเวลำสั้นๆ
วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้
กำรให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยต้องมีกำรเขียนคำสั่งของแพทย์ บอกวิธีกำรให้และอัตรำกำรไหล (flow rate)
ของออกซิเจน อุปกรณ์กำรให้ออกซิเจนแบ่งเป็น 2 ระบบดังนี้
1. Variable performance (low-flow) system
เป็นระบบที่ควำมเข้มข้นของออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับไม่คงที่ ขึ้นกับ flow rate, อัตรำกำรหำยใจและ
ควำมแรงของกำรหำยใจของผู้ป่วย โดยผู้ป่วยได้รับอำกำศส่วนหนึ่งจำกอุปกรณ์กำรให้ออกซิเจน อีกส่วนหนึ่ง
ได้รับจำกบรรยำกำศ ตัวอย่ำงของอุปกรณ์ในกลุ่มนี้ได้แก่ nasal cannula, face mask, oxygen hood และ
oxygen tent เป็นต้น
2. Fixed performance (high-flow) system
เป็นระบบที่ควำมเข้มข้นของออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับคงที่ตำมที่ปรับไว้ ไม่ขึ้นกับกำรหำยใจของผู้ป่วย
ผู้ป่วยจะได้รับอำกำศทั้งหมดจำกอุปกรณ์กำรให้ออกซิเจน ไม่มีบรรยำกำศภำยนอกเข้ำมำผสม ตัวอย่ำง
อุปกรณ์ในกลุ่มนี้ได้แก่ อุปกรณ์กำรให้ออกซิเจนในเครื่องช่วยหำยใจ, oxygen blender และ air-entrainment
หรือ venturi mask เป็นต้น
ตัวอย่างอุปกรณ์ให้ออกซิเจน (oxygen delivery device) ที่ใช้บ่อย
Nasal cannula เหมำะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องกำรควำมเข้มข้นออกซิเจนไม่สูง ในเด็กทำรกปรับอัตรำกำรไหล
ของออกซิเจนไม่เกิน 2 ลิตร/นำที (Level V, Grade A) สำหรับเด็กโตให้เพิ่มอัตรำกำรไหลออกซิเจนได้ถึง 6
ลิตร/นำที (Level V, Grade A) ไม่ควรใช้อัตรำกำรไหลของออกซิเจนที่สูงเกินไปเนื่องจำกอำจทำให้เยื่อบุจมูก
แห้งและแสบจมูกได้ (Level V, Grade A ) ข้อดีของกำรให้ออกซิเจนวิธีนี้คือประหยัด ติดยึดกับผู้ป่วยได้ง่ำย
7
กว่ำ face mask สำมำรถให้นมหรืออำหำรแก่ผู้ป่วยได้โดยไม่ต้องหยุดให้ออกซิเจน แต่มีข้อจำกัดในผู้ป่วยที่มี
น้ำมูกมำก เยื่อบุจมูกบวม หรือผนังจมูกเอียง
ข้อควรระวัง (Level IV)
- ขนำด nasal prong ที่ใหญ่เกินไปจะทำให้เกิดกำรอุดกั้นและระคำยจมูก
- nasal prong เลื่อนหลุด ซึ่งเกิดได้บ่อยในเด็กเล็ก ทำให้เกิดกำรขำดออกซิเจน
- อัตรำกำรไหลของออกซิเจนมำกเกินไป ทำให้เกิดกำรระคำยเคืองต่อเยื่อบุจมูก
- ในรำยที่ใช้ nasal prong ขนำดใหญ่และให้อัตรำกำรไหลออกซิเจนมำกเกินไป มีรำยงำน
ว่ำทำให้เกิดควำมดันบวกในทำงเดินหำยใจ (continuous positive airway pressure)
- อำจเกิดอำกำรระคำยเคืองของผิวหนังบริเวณที่สำยกดทับและบริเวณที่ปิดเทปเหนียว
- ในเด็กเล็ก ควรติดสำย nasal cannula ให้พ้นคอเพื่อป้ องกันกำรอุดกั้นทำงเดินหำยใจ
Simple face mask เป็นหน้ำกำกครอบบริเวณจมูกและปำก มีสำยรัดศีรษะให้หน้ำกำกยึดและแนบสนิท
กับใบหน้ำ เหมำะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องกำรควำมเข้มข้นออกซิเจนระดับปำนกลำง 35%-50% ในช่วงระยะเวลำ
สั้นๆ เช่น ระหว่ำงทำหัตถกำร หรือเคลื่อนย้ำยผู้ป่วย ควรเปิด flow rate 5-10 ลิตร/นำที ไม่ควรน้อยกว่ำ 5
ลิตร/นำที เพื่อป้ องกันกำรคั่งของก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ใน mask ที่เกิดขึ้นขณะหำยใจออก (Level V ,
Grade A ) ควำมเข้มข้นออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับขึ้นกับกำรหำยใจของผู้ป่วย อัตรำกำรไหลของออกซิเจน และ
หน้ำกำกที่ครอบใบหน้ำว่ำสนิทดีหรือไม่ แต่ไม่ควรรัดแน่นเกินไปเนื่องจำกอำจทำให้ผู้ป่วยเจ็บ เกิดอำกำร
ระคำยเคืองหรือเป็นแผลกดทับที่ใบหน้ำได้
ข้อควรระวัง (Level IV)
- อำจเกิดกำรสูดสำลักสิ่งแปลกปลอมได้ในผู้ป่วยที่อำเจียน และไม่รู้สึกตัว
- เกิดแผลกดทับ ถ้ำใช้ mask ที่แน่นและนำนไป
- คำร์บอนไดออกไซด์คั่งในรำยที่เปิด oxygen flow rate ต่ำเกินไป
Partial-rebreathing mask เป็นหน้ำกำกให้ออกซิเจนเช่นเดียวกับ simple face mask แตกต่ำงกันที่
partial rebreathing mask มี reservoir bag ที่ปลำยด้ำนหนึ่งของหน้ำกำก เพื่อเก็บก๊ำซออกซิเจนไว้ เป็นกำร
เพิ่มควำมเข้มข้นของออกซิเจนในขณะหำยใจเข้ำ ให้ควำมเข้มข้นออกซิเจน 40%-60% เมื่อเปิดอัตรำกำรไหล
ของก๊ำซ 6-10 ลิตร/นำที (Level V, Grade A) โดยขณะที่ใช้ควรปรับอัตรำกำรไหลของออกซิเจนให้ reservoir
bag โป่งเสมอ
Non-rebreathing mask มีลักษณะเช่นเดียวกับ partial-rebreathing mask แต่มี valve 2 อันเพื่อป้ องกัน
กำรผสมกันระหว่ำงลมหำยใจออกของผู้ป่วยและก๊ำซออกซิเจนที่เปิดเข้ำไปใน mask โดย valve อันหนึ่งกั้น
ระหว่ำงหน้ำกำกและ reservoir bag ซึ่งจะเปิดเฉพำะช่วงหำยใจเข้ำและปิดในช่วงหำยใจออก ทำให้ลม
หำยใจออกของผู้ป่วยไม่เข้ำไปผสมกับก๊ำซออกซิเจนใน reservoir bag ส่วน valve อีกอันหนึ่งปิดช่องด้ำนข้ำง
ของหน้ำกำกทำหน้ำที่เป็น valve สำหรับให้ลมหำยใจออกผ่ำนออกไป และกั้นอำกำศจำกภำยนอกไม่ให้เข้ำ
8
มำใน mask ขณะหำยใจเข้ำ ทำให้ผู้ป่วยได้ควำมเข้มข้นของออกซิเจนสูงกว่ำ partial rebreathing mask คือ
ตั้งแต่ 60%-80% เมื่อเปิด flow rate อย่ำงน้อย 10 ลิตร/นำที (Level V , Grade A )
Oxygen hood มีลักษณะเป็นกล่องพลำสติกใสวำงครอบศีรษะเด็ก เหมำะสำหรับกำรให้ออกซิเจนใน
ทำรกแรกเกิดและเด็กเล็ก ควำมเข้มข้นของออกซิเจนที่ได้ประมำณ 30%-70% ขึ้นกับขนำดของ hood, อัตรำ
กำรไหลของออกซิเจนที่เปิด และกำรหำยใจของผู้ป่วย ควรเปิดออกซิเจนอย่ำงน้อย 7 ลิตร/นำที เพื่อป้ องกัน
กำรคั่งของก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ (Level V , Grade A ) อย่ำงไรก็ตำม ในทำรกแรกเกิด ขนำดของ oxygen
hood ที่ใช้มักมีขนำดเล็ก ดังนั้น จึงไม่จำเป็นต้องใช้ flow rate มำก โดยทั่วไปแนะนำให้ใช้ประมำณ 3-5 ลิตร/
นำทีและหำกต้องกำรปรับลดระดับควำมเข้มข้นของออกซิเจน ไม่ควรลด flow rate ลงเหลือน้อยกว่ำ 3 ลิตร/
นำทีเนื่องจำกจะมีผลทำให้เกิดกำรคั่งของก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ภำยใน oxygen hood ได้ ควรใช้
อุปกรณ์เสริมที่สำมำรถปรับระดับควำมเข้มข้นของออกซิเจนได้หรือให้ออกซิเจนร่วมกับอำกำศธรรมดำ (air)
(Level V, Grade A) กำรใช้ oxygen hood ในทำรกแรกเกิดโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งทำรกเกิดก่อนกำหนด ควรวัด
ควำมเข้มข้นของออกซิเจนขณะใช้โดยใช้ oxygen analyzer วำงบริเวณใกล้จมูกของผู้ป่วยเพื่อให้ได้ค่ำควำม
เข้มข้นของออกซิเจนใกล้เคียงกับที่ผู้ป่วยได้รับจริงมำกที่สุด (Level V , Grade A ) เนื่องจำกควำมเข้มข้นของ
ออกซิเจนบริเวณต่ำงๆ ภำยใน hood ไม่เท่ำกัน โดยจะมีควำมเข้มข้นสูงที่ส่วนล่ำงและลดต่ำลงที่ส่วนบนของ
hood ข้อดีของกำรให้ออกซิเจนวิธีนี้คือรบกวนผู้ป่วยน้อยเนื่องจำกไม่มีส่วนใดของอุปกรณ์สัมผัสกับใบหน้ำ
ผู้ป่วย
ข้อควรระวัง (Level IV)
- อำจเกิดกำรกดทับบริเวณคอผู้ป่วยได้ ถ้ำส่วนที่ครอบบริเวณคอแคบเกินไป
- อำจเกิดปัญหำกำรได้ยิน เนื่องจำกเสียงดังที่เกิดขึ้นภำยใน oxygen hood
- ควรควบคุมและติดตำมอุณหภูมิภำยใน oxygen hood เพื่อป้ องกัน cold stress หรือ
overheat
Oxygen tent นิยมใช้ในผู้ป่วยที่ต้องกำรออกซิเจนและควำมชื้นสูง เช่น ผู้ป่วย croup ควรเปิดอัตรำกำร
ไหลของออกซิเจน 10-15 ลิตร/นำที ซึ่งจะให้ควำมเข้มข้นของออกซิเจน 40%-50%(Level V, Grade A) ควำม
เข้มข้นของออกซิเจนไม่ค่อยคงที่ขึ้นกับกำรเปิด-ปิดของ oxygen tent
ข้อควรระวัง (Level IV)
- มองเห็นผู้ป่วยได้ยำกเนื่องจำกถูกบังโดยละอองไอน้ำภำยใน oxygen tent
- ผู้ป่วยไม่ค่อยยอมรับ เนื่องจำกถูกแยกจำกผู้ดูแลและต้องอยู่ตำมลำพังใน oxygen tent
- มีก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์คั่งได้ ถ้ำเปิดอัตรำกำรไหลของออกซิเจนไม่เพียงพอ
9
ตำรำงที่ 1: แสดงชนิดของอุปกรณ์กำรให้ออกซิเจน, flow rate, FiO2 ที่ได้ และ humidifier ที่เหมำะสม
อุปกรณ์ Flow rate
(ลิตร/นำที)
FiO2 (%) Humidifier
Nasal cannula เด็กทำรก: < 2
เด็กโต: < 6
24%-40% Bubble humidifier
Simple mask 5-10 35%-50% Bubble humidifier
Partial-rebreathing mask 6-10 40%-60% Bubble humidifier
Non-rebreathing mask 10 60%-80% Bubble humidifier
Oxygen hood*  7 30%-70% Jet nebulizer
Oxygen tent 10-15 40%-50% Jet nebulizer
หมำยเหตุ * ยกเว้นในทำรกแรกเกิดที่ใช้ oxygen hood ขนำดเล็ก แนะนำให้เปิด flow rate 3-5 ลิตร/นำที
แหล่งกาเนิดออกซิเจน
ก. ระบบจัดเก็บและการนาก๊าซออกซิเจนมาใช้
ถังออกซิเจน (oxygen cylinder) ตัวถังต้องไม่มีรอยต่อและผลิตจำก chrome molybdenum steel
เมื่อบรรจุก๊ำซออกซิเจนเต็มถังจะมีแรงดันสูงประมำณ 2,200 psi มีหลำยขนำดให้เลือกใช้ ขนำดของถัง
ออกซิเจนที่นิยมใช้ แสดงไว้ในตำรำงที่ 2 ส่วนวิธีคำนวณระยะเวลำที่สำมำรถใช้ออกซิเจนในถังแต่ละ
ขนำดแสดงในภำคผนวก
ตำรำงที่ 2: ขนำดของถังออกซิเจนและระยะเวลำที่สำมำรถใช้ออกซิเจนในถังได้โดยประมำณ
ขนำดถัง ควำมจุ (ลูกบำศก์ฟุต) factor for duration of flow
(L/psi)
ระยะเวลำโดยประมำณ
(ถ้ำเปิด flow rate 1 L/min)
D 12.7 0.16 5 ชั่วโมง
E 22 0.28 10 ชั่วโมง
G 187 2.41 88 ชั่วโมง
H 244 3.14 115 ชั่วโมง
Oxygen concentrator เป็นอุปกรณ์ผลิตออกซิเจนที่ทำงำนโดยแยกก๊ำซออกซิเจนออกจำกไนโตรเจน
และก๊ำซอื่นๆในอำกำศโดยอำศัยพลังงำนไฟฟ้ ำและแผ่นกรองเฉพำะ (molecular sieve material) ซึ่งจะ
แยกก๊ำซชนิดต่ำงๆโดยอำศัยขนำดและ polarity ออกซิเจนที่ผลิตได้จะมีควำมเข้มข้นสูงถึง 80-95%
โดยทั่วไปสำมำรถเปิด flow rate ของออกซิเจนได้ 1-5 ลิตร/นำที ในปัจจุบันมีชนิดที่สำมำรถเปิด flow
rate ของออกซิเจนได้สูงถึง 10 ลิตร/นำที สำมำรถนำไปใช้ที่บ้ำนได้ (Level IV, Grade A)
10
Liquid oxygen สำมำรถให้ปริมำณก๊ำซออกซิเจนได้มำก โดยออกซิเจนเหลว 1 ลบ.ฟุต สำมำรถให้
ก๊ำซออกซิเจนได้ 860.6 ลบ.ฟุต (24,355 lit) หรือออกซิเหลว 1 ลิตรให้ก๊ำซออกซิเจนได้ 840 ลิตร จึง
สะดวกมำกในกำรเคลื่อนย้ำย (portable) แต่รำคำแพงมำก และต้องมีระบบขนส่ง รวมทั้งกำรเติมก๊ำซ
โดยเฉพำะ
ข. อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ (regulation of gas flow)
อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซชนิดใช้กับก๊าซที่มีแรงดันสูง (high-pressure gas
regulator) เป็นอุปกรณ์ควบคุม (regulator) ที่ช่วยกำหนดอัตรำกำรไหลของก๊ำซและควบคุมค่ำแรงดัน
ของก๊ำซในถังออกซิเจนให้ลดลงเหลือเท่ำกับค่ำ working pressure ซึ่งมีค่ำน้อยกว่ำหรือเท่ำกับ 50 psi
(ภำพที่ 1)
อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซชนิดใช้กับก๊าซที่มีแรงดันต่า (low-pressure gas
regulator หรือ flow meter) เป็นอุปกรณ์ที่ควบคุมอัตรำกำรไหลของก๊ำซออกซิเจนให้ออกมำถูกต้อง
ตำมที่ต้องกำร (ภำพที่ 2)
ภำพที่ 1 high-pressure gas regulator
ภำพที่ 2 แสดง low-pressure gas regulator (flow meter)
ข้อควรระวังหรือข้อห้าม
ไม่มีข้อห้ำมในกำรให้ออกซิเจน แต่มีข้อจำกัดในกำรใช้อุปกรณ์แต่ละชนิด ดังกล่ำวแล้วในรำยละเอียดของ
อุปกรณ์
ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง
1. ผลข้ำงเคียงของกำรให้ออกซิเจน (Level IV)
- กำรให้ออกซิเจนที่มีควำมเข้มข้นสูง > 50% อำจทำให้เกิด absorptive atelectasis, oxygen
toxicity และลดกำรทำงำนของ cilia และเม็ดเลือดขำวได้
11
- ในผู้ป่วยที่มีคำร์บอนไดออกไซด์คั่งอยู่นำนๆ กำรแก้ภำวะ hypoxemia อำจกดกำรหำยใจของ
ผู้ป่วยได้
- ในทำรกเกิดก่อนกำหนด ระดับ PaO2 ที่สูงกว่ำ 80 มม.ปรอท อำจทำให้เกิด retinopathy of
prematurity
- ในทำรกที่เป็น ductus-dependent heart lesion กำรเพิ่มระดับ PaO2 อำจทำให้ ductus
arteriosus ปิดได้
- กำรให้ออกซิเจนต้องระมัดระวังในผู้ป่วยที่ได้รับสำรพิษกลุ่ม paraquat หรือเคยได้รับยำในกลุ่ม
bleomycin
2. ผลข้ำงเคียงจำกแหล่งกำเนิดออกซิเจน อำจเกิดกำรระเบิดหรือติดไฟได้
3. ผลข้ำงเคียงจำกอุปกรณ์ที่ให้ ขึ้นกับชนิดของอุปกรณ์ที่ให้ ดังกล่ำวข้ำงต้น
การประเมินและติดตามผู้ป่วย
- ปรับปริมำณออกซิเจนให้เหมำะสมกับผู้ป่วยโดยติดตำมอำกำรทำงคลินิกหรือใช้เครื่อง pulse
oximeter ร่วมด้วย (Level V, Grade A)
- กรณีเจ็บป่วยแบบเฉียบพลัน ควรให้ออกซิเจนเพื่อรักษำระดับค่ำควำมอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
แดง (SpO2) ให้อยู่ระหว่ำง 94%-98% สำหรับผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรังที่มีแนวโน้มจะเกิด hypercapnic
respiratory failure ค่ำ SpO2 ควรอยู่ระหว่ำง 88%-92% (Level V, Grade A)
การดูแลรักษาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมและป้ องกันการติดเชื้อ (infection control)
กำรใช้ nasal cannula, simple face mask, partial-rebreathing mask และ non-rebreathing mask
หำกใช้ในผู้ป่วยคนเดียวกัน ไม่จำเปลี่ยนต้องเปลี่ยน เนื่องจำกควำมเสี่ยงต่อกำรติดเชื้อโรคมีน้อย (Level V,
Grade B) ส่วน oxygen hood ให้ทำควำมสะอำดเมื่อสังเกตว่ำมีกำรปนเปื้อน (Level V, Grade B)
II. การให้การรักษาด้วยออกซิเจนที่บ้าน (Home oxygen therapy)
ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A)
- ผู้ป่วยที่มีภำวะพร่องออกซิเจน (SpO2 <90% ขณะหำยใจในอำกำศธรรมดำ) โดยไม่ได้มีสำเหตุจำก
cyanotic heart disease
- ในผู้ป่วยบำงรำยอำจไม่มีภำวะพร่องออกซิเจนขณะพัก แต่มีภำวะพร่องออกซิเจนเฉพำะเวลำที่มี
กิจกรรมบำงอย่ำง เช่น ขณะหลับ ออกกำลังกำย ควรให้ออกซิเจนเฉพำะเวลำที่มีกิจกรรมดังกล่ำว
วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้
1. Oxygen delivery device ในผู้ป่วยทำรกหรือเด็กเล็กควรใช้เป็น nasal cannula (Level V, Grade B)
ส่วน pulse-dose oxygen delivery conserving devices (PDOD), demand oxygen delivery systems
(DODS) เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ช่วยลดกำรสิ้นเปลือง/สูญเสียก๊ำซ โดยเป็นอุปกรณ์ electronic หรือ
12
pneumatic ที่จ่ำยก๊ำซออกมำเป็นระยะๆแบบ bolus volume หรือ flow ตำมค่ำที่ตั้งไว้ สัมพันธ์กับช่วงเวลำ
หำยใจเข้ำของผู้ป่วยในลักษณะของ time-cycled หรือ pressure trigger sensitivity หรือ trigger response
time ใช้ได้กับทั้งถัง compressed gas cylinders, liquid oxygen และ oxygen concentrator ห้ำมต่อผ่ำน
bubble humidifier เหมำะสำหรับใช้กับผู้ป่วยขณะพักผ่อน นอนหลับและ/หรือออกกำลังกำย
2. Oxygen source (Level V, Grade B)
Compressed gas cylinder เหมำะสำหรับใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยใช้ oxygen flow ต่ำ ควรเลือกใช้ถังขนำด
ใหญ่ (H cylinder) สำหรับกำรใช้งำนประจำในบ้ำน โดยจัดตั้งในสถำนที่ที่เหมำะสม วำงชิดผนัง มีที่ยึดตรึงถัง
ไม่ให้เสี่ยงต่อกำรล้ม ไม่อยู่ใกล้ประกำยไฟ ควรมีถังขนำดเล็ก เช่น size D สำหรับใช้เวลำเคลื่อนย้ำยผู้ป่วย
และใช้เป็นถังสำรองในกรณีที่ระบบหลักที่ใช้งำนหมดหรือขัดข้อง ถังที่ใช้สำหรับเคลื่อนย้ำยควรมีกระเป๋ ำ
สะพำยหรือทำเป็นรถมีล้อสำหรับเข็นเพื่อให้สะดวกในกำรใช้งำนขณะเคลื่อนย้ำยผู้ป่วย
Oxygen concentrator เหมำะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้ออกซิเจนต่อเนื่องระยะยำว
Liquid oxygen system ปัจจุบันสำมำรถใช้ PDOD/ DODS ซึ่งเป็น oxygen conserving devices ใช้
ต่อกับ portable liquid oxygen system เพื่อจ่ำยก๊ำซเป็นระยะๆ ลดกำรสิ้นเปลืองก๊ำซได้
ข้อควรระวังหรือข้อห้าม
เช่นเดียวกับกำรให้ออกซิเจนในโรงพยำบำล
ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง
เช่นเดียวกับกำรให้ออกซิเจนในโรงพยำบำล
การประเมินและติดตามผู้ป่วย
สำหรับผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังซึ่งจำเป็นต้องกลับไปให้ออกซิเจนต่อเนื่องที่บ้ำนจำเป็นต้องได้รับกำรประเมิน
และติดตำมอำกำรจำกทีมบุคลำกรทำงกำรแพทย์ ซึ่งประกอบด้วยกุมำรแพทย์และพยำบำล ทำหน้ำที่
ประสำนงำนระหว่ำงบ้ำนกับโรงพยำบำล รวมทั้งต้องมีกำรประเมินสภำพเศรษฐกิจ สภำพบ้ำน ควำมสะดวก
ในกำรเติมก๊ำซออกซิเจน ก่อนจำหน่ำยผู้ป่วยกลับบ้ำน (Level V, Grade B)
1. การเตรียมผู้ป่วย
ควรประเมินผู้ป่วยก่อนกลับบ้ำนว่ำควรได้รับปริมำณออกซิเจนน้อยที่สุดเท่ำใดจึงจะประหยัดและ
เพียงพอสำหรับรักษำให้ระดับออกซิเจนในเลือดของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ที่เหมำะสม โดยกำรติดตำมวัดค่ำ
SpO2 ด้วยเครื่อง pulse oximeter อย่ำงต่อเนื่องในผู้ป่วยที่ให้ออกซิเจนทำง nasal cannula อย่ำงน้อย 6-12
ชั่วโมง/วันทั้งในขณะหลับ ขณะตื่น ขณะร้องไห้ ขณะดูดนม และขณะออกกำลังกำย พร้อมกับกำรปรับอัตรำ
กำรไหลของออกซิเจนเพื่อให้ได้ค่ำ SpO2 ที่เหมำะสม (Level V, grade B) โดยควรให้ผู้ป่วยมีค่ำ SpO2
มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 92 % ตลอดเวลำ โดยเฉพำะกลุ่มทำรกเกิดก่อนกำหนดควรรักษำระดับ SpO2 ที่ระหว่ำง
92-94 % ซึ่งมีกำรศึกษำพบว่ำผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอัตรำกำรเจริญเติบโตและพัฒนำกำรทำงด้ำนร่ำงกำยและ
สติปัญญำไม่แตกต่ำงจำกกลุ่มเด็กที่มีค่ำระดับ SpO2 มำกกว่ำนี้และมีภำวะแทรกซ้อนจำกกำรให้ออกซิเจน
น้อยกว่ำ (Level I, grade A)
13
2. การเตรียมครอบครัวและผู้ดูแลผู้ป่วย
ผู้ดูแลผู้ป่วยควรได้รับกำรฝึกฝนทักษะกำรใช้และดูแลเครื่องผลิตออกซิเจนและถังออกซิเจน วิธีกำรต่อ
เครื่องทำควำมชื้น, nasal cannula และกำรปรับ flow meter รวมถึงกำรทำควำมสะอำดอุปกรณ์ต่ำงๆ สำยต่อ
และ nasal cannula นอกจำกนี้ผู้ดูแลต้องฝึกทักษะกำรสังเกตเมื่ออุปกรณ์เกิดขัดข้องในกรณีต่ำงๆที่สำคัญ
ก่อนกลับบ้ำน เช่น สำย nasal cannula หลุดหรืออุดตัน, ถังออกซิเจนหมด หรือวำล์วปิด ผู้ดูแลจำเป็นจะต้อง
มีควำมสำมำรถในกำรประเมินอำกำรของผู้ป่วย โดยเฉพำะกำรสังเกตลักษณะสีผิวที่แสดงถึงภำวะกำรขำด
ออกซิเจน และสำมำรถปรับออกซิเจนตำมควำมเหมำะสมกับสภำวะที่เด็กต้องกำรได้ (Level V, Grade B)
ทีมบุคลำกรทำงแพทย์ควรตรวจสภำพบ้ำนและอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งำนก่อนส่งผู้ป่วยกลับบ้ำน ผู้ดูแล
จะต้องมีหมำยเลขโทรศัพท์สำหรับติดต่อกับทีมบุคลำกรทำงกำรแพทย์ได้ตลอดเวลำหำกมีปัญหำขัดข้อง
(Level V, Grade B)
3. การติดตามผู้ป่วย
ภำยหลังจำกจำหน่ำยผู้ป่วยกลับบ้ำนแล้ว ทีมบุคลำกรทำงกำรแพทย์ควรมีกำรติดตำมประเมินผลหลัง
กลับบ้ำนโดยกำรเยี่ยมบ้ำนและกำรติดต่อทำงโทรศัพท์ แพทย์ควรนัดผู้ป่วยกลับมำตรวจที่โรงพยำบำลตำม
ควำมจำเป็น เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีควำมมั่นใจในกำรดูแลผู้ป่วยมำกขึ้น และสำมำรถขอคำแนะนำ
ในกำรดูแลผู้ป่วยได้สะดวกขึ้น (Level V, Grade B)
4. การลดออกซิเจน
เมื่อผู้ป่วยอำกำรดีขึ้น สำมำรถลดปริมำณกำรให้ออกซิเจนได้ โดยกำรติดตำมระดับ SpO2 และอัตรำ
กำรเต้นของหัวใจ ให้ระดับ SpO2 ≥ 92% ตลอดเวลำและอัตรำกำรเต้นของหัวใจไม่เร็วขึ้นขณะลดออกซิเจน
(Level V, Grade A) โดยทั่วไป จะลดปริมำณออกซิเจนที่ให้แก่ผู้ป่วยในเวลำกลำงวันก่อน ถ้ำผู้ป่วยอำกำรดี
คงที่จึงลดปริมำณออกซิเจนที่ให้ขณะหลับ ควรติดตำมค่ำ SpO2 ขณะหลับอย่ำงต่อเนื่องตลอดคืน เพื่อให้
มั่นใจว่ำสำมำรถหยุดกำรใช้ออกซิเจนขณะหลับได้จริง (Level IV, Grade B) ถ้ำผู้ป่วยมีน้ำหนักลดลงโดยหำ
สำเหตุอื่นไม่ได้ ควรพิจำรณำให้ออกซิเจนกลับเข้ำไปใหม่ (Level IV, Grade C)
การดูแลรักษาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง (Level V, Grade B)
- ผู้ทำหน้ำที่ดูแลผู้ป่วยที่บ้ำนต้องได้รับคำแนะนำและฝึกฝนกำรใช้อุปกรณ์ จนมีควำมรู้และทักษะ
สำมำรถปฏิบัติได้ถูกต้อง และมีควำมมั่นใจในกำรใช้ก่อนที่จะให้ผู้ป่วยกลับบ้ำน
- มีคู่มือกำรใช้งำนและบำรุงรักษำอุปกรณ์สำหรับ home oxygen therapy
- ตรวจสอบควำมพร้อมของอุปกรณ์ทุกชิ้นอย่ำงน้อยวันละ 1 ครั้ง โดยตรวจสอบกำรทำงำนของ
อุปกรณ์, flow rate ของก๊ำซออกซิเจน, ปริมำณก๊ำซที่เหลือในถัง compressed gas cylinders หรือ
liquid oxygen system ทั้งถังที่ใช้งำนและถังสำรอง
- oxygen source เช่น oxygen concentrator, liquid oxygen system ควรได้รับบริกำรบำรุงรักษำ
ตรวจสอบกำรทำงำนของเครื่องจำกบริษัทที่จำหน่ำยตำมวงรอบอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง
14
เอกสารอ้างอิง
1. American Association for Respiratory Care. AARC Clinical practice guideline: selection of an
oxygen delivery device for neonatal and pediatric patients-2002 Revision & Update. Respir
Care 2002; 47:707-16.
2. American Association for Respiratory Care. AARC clinical practice guideline: oxygen therapy
for adults in the acute care facility-2002 Revision & Update. Respir Care 2002; 47:717-20.
3. American Association for Respiratory Care. AARC clinical practice guideline: oxygen therapy
in the home or alternate site health care facility-2007 Revision & Update. Respir Care 2007;
52:1063-8.
4. Balfour-Lynn IM, Primhak R A, Shaw B N J. Home oxygen for children: who, how and when?
Thorax 2005; 60:76-81.
5. Fitzgerald DA, Massie RJH, Nixon GM, et al. Infant with chronic neonatal lung disease:
recommendations for the use of home oxygen therapy. MJA 2008; 189:578-82.
6. Balfour-Lynn IM. Domiciliary oxygen for children. Pediatr Clin N Am 2009; 56:275-96.
7. Askie LM, Henderson-Smart DJ, Irwig L, et al. Oxygen-saturation targets and outcomes in
extremely preterm infants. N Engl J Med 2003; 349:959-67.
8. Anonymous. Supplemental therapeutic oxygen for prethreshold retinopathy of prematurity
(STOP-ROP), a randomized, controlled trial. I: primary outcomes. Pediatrics 2000:105:295-310.
15
แนวทางปฏิบัติการให้ความชื้นและยาพ่นฝอยละออง (Humidity and aerosol therapy)
I. การบาบัดรักษาโดยการให้ความชื้น (Humidity therapy)
ขณะหำยใจเข้ำทำงเดินหำยใจส่วนต้นมีหน้ำที่สำคัญในกำรกรองอำกำศที่หำยใจเข้ำไป ทำให้อำกำศอุ่น
และชื้นขึ้นก่อนที่จะเข้ำไปถึงปอด เพื่อรักษำสมดุลในกำรทำงำนของเซลล์ในทำงเดินหำยใจ เมื่อใดร่ำงกำย
สูญเสียควำมสำมำรถดังกล่ำว อำจส่งผลกระทบต่อกำรทำงำนของระบบหำยใจได้ เช่น กำรโบกพัดของ cilia
(mucociliary clearance) เสียไป เสมหะเหนียวข้นก่อให้เกิดกำรอุดกั้นของทำงเดินหำยใจจนเกิดปอดแฟบและ
ปอดอักเสบได้ ดังนั้น กำรให้ควำมชื้น (humidity) จึงเป็นพื้นฐำนสำคัญของกำรดูแลและบำบัดรักษำผู้ป่วยทำง
ระบบหำยใจ ผู้ที่ดูแลรักษำผู้ป่วย จึงควรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในเรื่องนี้เพื่อให้กำรดูแลผู้ป่วยเป็นไปอย่ำงมี
ประสิทธิภำพ
ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A)
- ผู้ป่วยที่มีปัญหำทำงระบบหำยใจที่ต้องได้รับกำรรักษำด้วยออกซิเจนทำงท่อช่วยหำยใจหรือใช้
เครื่องช่วยหำยใจ
- ผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียวข้นหรือจำเป็นต้องได้รับกำรระบำยเสมหะ เช่น ผู้ป่วยโรคหลอดลมโป่งพอง
(bronchiectasis)
- ผู้ป่วยที่ต้องกำรเก็บเสมหะเพื่อส่งตรวจทำงห้องปฏิบัติกำร
วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้
อุปกรณ์ทำควำมชื้น (humidifier) แบ่งเป็น 2 ประเภทตำมลักษณะกำรทำงำน ได้แก่
- Active humidifier
- Passive humidifier หรือ heated and moisture exchanger (HME หรือ artificial nose)
Active humidifier เป็นอุปกรณ์ที่ให้ควำมชื้นเข้ำไปในก๊ำซที่ให้เเก่ผู้ป่วย เช่น
- อุปกรณ์ที่ทำควำมชื้นโดยให้ก๊ำซปุดผ่ำนใต้น้ำ (bubble humidifier) (ภำพที่1)
ภำพที่ 1 แสดงกำรทำงำนของ bubble humidifier
- อุปกรณ์ที่ทำควำมชื้นโดยให้ก๊ำซผ่ำนผิวน้ำ (pass-over or blow-by humidifier) (ภำพที่ 2)
16
ภำพที่ 2 แสดงหลักกำรทำงำนของ pass-over humidifier
- อุปกรณ์ทำควำมชื้นชนิด Wick (ภำพที่3) เพิ่มประสิทธิภำพกำรทำงำนด้วยกำรเพิ่มพื้นผิว
ของน้ำให้สัมผัสก๊ำซได้มำกขึ้น
ภำพที่ 3 แสดงกำรทำงำนของ humidifier ชนิด Wick
- อุปกรณ์ที่ให้ควำมชื้นในรูปฝอยละออง (nebulizer) (ภำพที่4) หลักกำรคือทำให้น้ำอยู่ในรูป
ของของเหลวที่มีอนุภำคขนำดเล็กเป็นฝอยละออง (aerosol) แขวนลอยในอำกำศหรือก๊ำซ
ผ่ำนเข้ำไปในทำงเดินหำยใจและปอด ให้ควำมชื้นสูง โดยอำศัยหลัก Bernoulli’s principle
ตัวอย่ำงเช่น Puritan®
(ภำพที่ 5) ซึ่งสำมำรถเป็นได้ทั้ง bubble humidifier และ nebulizer
ใช้กับอุปกรณ์ที่ต้องให้ก๊ำซในปริมำณมำกหรือมีอัตรำกำรไหลของก๊ำซ (gas flow) สูง เช่น
hood หรือ box
17
ภำพที่ 4 แสดงกำรทำงำนของ nebulizer
ภำพที่ 5 เครื่อง Puritan ที่เป็นได้ทั้ง bubble humidifier และ nebulizer
active humidifier แบ่งเป็น 2 ชนิดตำมลักษณะกำรทำงำน คือ ชนิดที่ไม่ทำควำมอุ่นชื้น (unheated)
และชนิดที่ให้ควำมอุ่นชื้น (heated)
ชนิดที่ไม่ทำควำมอุ่นชื้น (Unheated humidifier)
ปัจจุบันนิยมใช้ชนิด bubble ในกำรให้ออกซิเจนที่ให้อัตรำกำรไหลของก๊ำซขนำดต่ำ เช่น
cannula, simple mask หรือ mask with reservoir bag กำรให้ควำมชื้นชนิดนี้ช่วยให้ก๊ำซที่แห้งมี
ควำมชื้นสัมพัทธ์เพิ่มขึ้นประมำณร้อยละ 40 ของควำมชื้นสัมพัทธ์ที่อุณหภูมิร่ำงกำย ปริมำณควำมชื้นที่
เครื่องสำมำรถทำได้ขึ้นกับอุณหภูมิของบรรยำกำศ อัตรำกำรไหลของก๊ำซ ขนำดของลมปุดและปริมำณ
น้ำในเครื่องทำควำมชื้น
ชนิดที่ทำควำมอุ่นชื้น (Heated humidifier)
18
หลักกำรคือ ทำให้ก๊ำซอิ่มตัวด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิสูงกว่ำอุณหภูมิห้อง มักทำควำมอุ่นชื้นของก๊ำซ
ได้ระหว่ำง 30ซ.-34ซ. และให้ควำมชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 100 ที่ทำงเดินหำยใจของผู้ป่วย อุปกรณ์ส่วน
ใหญ่จะมีระบบ servo-controlled เพื่อรักษำอุณหภูมิของน้ำให้ได้ตำมระดับที่ตั้งไว้ heated humidifiers
ที่นิยมใช้คือ ชนิด Cascade และ Cascade II humidifiers (ภำพที่ 6) ซึ่งมักใช้กับเครื่องช่วยหำยใจ
ภำพที่ 6 แสดงกำรทำงำนของ humidifier ชนิด cascade diffusion
Passive humidifier หรือ Heated and moisture exchanger (HME หรือ artificial nose)
เป็นอุปกรณ์ที่กักเก็บควำมอุ่นชื้นจำกลมหำยใจออกของผู้ป่วยและปล่อยควำมอุ่นชื้นกลับคืนให้
ผู้ป่วยเมื่อหำยใจเข้ำผ่ำนอุปกรณ์ชนิดนี้จึงมักเรียกกันว่ำ จมูกเทียม (ภำพที่ 7) HME มีควำมสำมำรถใน
กำรรักษำควำมอุ่นชื้นได้เพียงระยะสั้น (ไม่เกิน 72-96 ชั่วโมง) หรืออำจใช้เป็นช่วงๆ ประมำณ 16-20
ชั่วโมงต่อวันในผู้ป่วยที่ต้องใช้เป็นระยะเวลำนำน (Level V, Grade C) HME มี 3 ชนิด ได้แก่
- Condenser humidifier
- Hygroscopic condenser humidifier
- Hydrophobic condenser humidifier
โดยชนิด hydrophobic condenser humidifier สำมำรถให้ควำมชื้นได้สูงสุดคือประมำณร้อยละ
70 และสำมำรถกรองแบคทีเรียได้ด้วย
ภำพที่ 7 แสดงกำรทำงำนของ heated moisture exchangers (HMEs)
19
ข้อควรระวังหรือข้อห้ามใช้ (Level V, Grade A)
ห้ำมใช้ HME ในผู้ป่วยที่มีภำวะต่อไปนี้
- เสมหะเหนียวข้นหรือมีเลือดปน
- expired tidal volume น้อยกว่ำร้อยละ 70 ของ inspired tidal volume (เช่น ผู้ป่วยที่ใส่ท่อ
หลอดคอขนำดเล็กหรือไม่มี cuff)
- ได้รับกำรรักษำด้วยยำพ่นฝอยละออง (aerosol therapy)
ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง
ภำวะแทรกซ้อนหรืออันตรำยจำกกำรใช้ heated humidifier ได้แก่ (Level IV)
- อุณหภูมิร่ำงกำยต่ำหรือสูงเกินไป (hypothermia/hyperthermia)
- thermal injury ในทำงเดินหำยใจจำกกำรตั้งอุณหภูมิสูงไป
- ควำมอุ่นชื้นน้อยเกินไป ทำให้เสมหะแห้งเหนียวและอุดกั้นทำงเดินหำยใจ
- hypoventilation และ/หรือมีลมคั่งค้ำงในถุงลม (alveolar gas trapping) เนื่องจำกเสมหะ
อุดกั้นในหลอดลม
- ผู้ป่วยต้องใช้แรงในกำรหำยใจมำกขึ้น เนื่องจำกมีเสมหะอุดกั้นในหลอดลม ทำให้แรง
ต้ำนทำนในหลอดลมสูงขึ้น
- แรงดันในทำงเดินหำยใจ (airway pressure) สูงขึ้น เนื่องจำกควำมชื้นกลั่นตัวเป็นน้ำและ
ค้ำงอยู่ในทำงเดินหำยใจของผู้ป่วย
- ผู้ป่วยหำยใจไม่สัมพันธ์กับเครื่องช่วยหำยใจ หรือทำให้เครื่องช่วยหำยใจทำงำนไม่เหมำะสม
จำกกำรที่มีน้ำกลั่นตัวและค้ำงอยู่ใน circuit ของเครื่อง
- เพิ่มควำมเสี่ยงต่อกำรติดเชื้อ (nosocomial infection) จำกกำรปนเปื้อนของน้ำที่กลั่นตัวเป็น
หยดน้ำอยู่ใน circuit ของเครื่องและไหลย้อนกลับเข้ำไปในท่อช่วยหำยใจของผู้ป่วยหรือ
ปนเปื้อนผ่ำนฝอยละอองไอน้ำที่มำจำกเครื่องทำควำมชื้น
- ไฟฟ้ ำลัดวงจร
- สำยวงจรหลอมละลำย
ภำวะแทรกซ้อนหรืออันตรำยจำกกำรใช้ HME ได้แก่ (Level IV)
- alveolar hypoventilation จำกเสมหะอุดติดที่ HME ทำให้ทำงเดินหำยใจอุดกั้นและมี air
trapping เกิดขึ้น นอกจำกนี้ยังอำจเกิดจำก dead space ที่เพิ่มขึ้นจำกตัวอุปกรณ์เอง
- ผู้ป่วยอำจต้องใช้แรงในกำรหำยใจมำกขึ้นเนื่องจำกแรงต้ำนทำนในหลอดลมสูงขึ้นจำก
เสมหะอุดกั้นในหลอดลม
- ในกรณีที่ใส่ HME เข้ำไปในวงจรเครื่องช่วยหำยใจจะทำให้เพิ่มแรงต้ำนทำนในวงจร ดังนั้น
หำกเกิด disconnection ของเครื่องช่วยหำยใจ เครื่องอำจจะไม่ส่งสัญญำณร้องเตือน
(alarm)
20
การประเมินและติดตามผู้ป่วย (Level V, Grade A)
ควรมีกำรติดตำมกำรทำงำนของอุปกรณ์อย่ำงสม่ำเสมอระหว่ำงกำรใช้งำน
อุปกรณ์ชนิด bubble humidifier ต้องสังเกตว่ำมีลมปุดใต้น้ำตลอดเวลำ กรณีที่ไม่มีลมปุดใต้น้ำ อำจเกิด
จำกเกลียวที่ต่อระหว่ำงท่อนำก๊ำซกับ flow meter ไม่แน่นสนิทดี หรือมีอุปกรณ์บำงส่วนอุดตัน
อุปกรณ์ชนิด heated humidifier ควรมีกำรตรวจสอบดังนี้
- กำรตั้งระดับควำมอุ่นชื้น (temperature setting หรือ numeric dial setting) ควรตั้งค่ำให้
ก๊ำซที่หำยใจเข้ำมีอุณหภูมิ 33±2 ซ. และควำมชื้นสมบูรณ์ไม่น้อยกว่ำ 30 มก./ลิตร
- อุณหภูมิของก๊ำซที่หำยใจเข้ำ ไม่ควรเกิน 37ซ. ควรเฝ้ ำสังเกตเป็นระยะ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง
หำกใช้กับทำรกที่อยู่ใน incubator หรือ radiant warmer และใช้ heated wire กับ circuit
ของเครื่องช่วยหำยใจ ควรวำง temperature probe ให้อยู่นอก incubator หรือห่ำงจำก
radiant warmer เพื่อป้ องกันกำรกลั่นตัวเป็นหยดน้ำใน circuit ของเครื่องช่วยหำยใจ
- กำรตั้งค่ำเตือน (alarm setting) ควรตั้งค่ำสูงสุดไม่เกิน 37ซ. และค่ำต่ำสุดไม่น้อยกว่ำ 30
ซ.
- ควรหมั่นตรวจสอบระดับน้ำใน humidifier เป็นระยะๆ ไม่ให้น้ำแห้ง เพรำะจะทำให้ผู้ป่วยขำด
ควำมชื้น และก๊ำซที่ผู้ป่วยได้อำจร้อนเกินไปจนเกิดอันตรำย และทำให้เครื่องทำควำมชื้น
เสียหำยได้
- ติดตำมและบันทึกปริมำณและลักษณะเสมหะของผู้ป่วย เพื่อช่วยในกำรพิจำรณำปรับเพิ่ม
ควำมอุ่นชื้นหำกมีเสมหะเหนียวแห้ง
อุปกรณ์ชนิด HME ควรตรวจสอบว่ำมีกำรอุดตันของอุปกรณ์จำกเสมหะหรือไม่ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อ
พบว่ำ peak airway pressure สูงขึ้น และผู้ป่วยต้องใช้แรงในกำรหำยใจมำกขึ้น หำกเสมหะเหนียวแห้งมำก
เนื่องจำกควำมชื้นไม่พออำจต้องพิจำรณำใช้ heated humidifier แทน
การดูแลรักษาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ควรศึกษำวิธีใช้และใช้อุปกรณ์อย่ำงถูกต้อง บำรุงรักษำเครื่องมือให้สำมำรถใช้งำนได้ดีอยู่เสมอ เพื่อให้
เกิดควำมปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้ป่วย รวมทั้งควรมีกำรควบคุมกำรติดเชื้อ (infection control) อย่ำง
เหมำะสม ดังต่อไปนี้
- อุปกรณ์ทำควำมชื้นชนิด reusable ควรทำให้ปลอดเชื้อโดยวิธีอบก๊ำซ ethylene oxide
ภำยหลังจำกล้ำงด้วยน้ำสบู่และน้ำประปำและผึ่งให้แห้งแล้ว (Level V, grade B) มี
กำรศึกษำพบว่ำ กำรเปลี่ยน circuit บ่อยอำจเพิ่มอัตรำกำรติดเชื้อ ดังนั้น จึงแนะนำให้
เปลี่ยนเมื่อสังเกตว่ำอุปกรณ์มีกำรปนเปื้อน (Level I, Grade B) น้ำที่ใช้เติมในระบบควรเป็น
sterile water และเติมแบบวิธีระบบปิด (closed system) เพื่อลดโอกำสเสี่ยงต่อกำร
ปนเปื้อนเชื้อโรค (Level V, Grade B) อุปกรณ์ทำควำมชื้นชนิด unheated humidifier เมื่อ
ระดับน้ำพร่องควรเทน้ำที่เหลือทิ้งก่อนแล้วจึงเติม sterile water ลงไปจนถึงระดับที่พอเหมำะ
21
และควรเปลี่ยนชุดอุปกรณ์ทุก 24 ชั่วโมง และทำให้ปลอดเชื้อด้วยวิธีอบก๊ำซ ethylene oxide
(Level V, Grade B)
- หยดน้ำที่กลั่นตัวรวมกันใน circuit ของเครื่องช่วยหำยใจ อำจเป็นแหล่งเพำะเชื้อ ดังนั้น ควร
กำจัดทิ้งโดยเทออกนอก circuit ห้ำมเทน้ำที่ค้ำงใน circuit กลับคืนเข้ำสู่อุปกรณ์ทำควำมชื้น
(Level V, Grade A)
- ควรใช้แนวทำงกำรป้ องกันกำรติดเชื้อแบบ strict universal precaution (Level V, Grade B)
II. การให้ยาพ่นฝอยละออง (Aerosol therapy)
เป็นกำรรักษำโดยกำรให้ฝอยละอองน้ำหรือยำเข้ำไปในทำงเดินหำยใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มควำม
ชุ่มชื้นในระบบหำยใจ เพิ่มประสิทธิภำพกำรทำงำนของ mucociliary escalator และเพื่อบริหำรยำทำงระบบ
หำยใจ มีหลำยวิธี ได้แก่ jet nebulizer, continuous nebulizer, ultrasonic nebulizer, pressurized metered-
dose inhaler (p-MDI) และ dry powder inhaler (DPI)
ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A)
กำรให้ยำพ่นฝอยละอองมีที่ใช้ในผู้ป่วยที่มีภำวะต่อไปนี้
- เสมหะเหนียวข้น ไม่สำมำรถไอเอำเสมหะออกมำได้เองอย่ำงมีประสิทธิภำพ
- ต้องได้รับกำรรักษำด้วยยำที่บริหำรทำงระบบหำยใจ
- ต้องกำรเก็บเสมหะเพื่อส่งตรวจทำงห้องปฏิบัติกำร
วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้
1. Nebulization
มักเป็นกำรบริหำรยำในผู้ป่วยที่มีอำกำรแบบเฉียบพลัน และไม่สำมำรถบริหำรยำด้วย p-MDI หรือ
DPI ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ยำที่ใช้กำรบริหำรด้วยวิธีนี้ส่วนใหญ่มักเป็นยำขยำยหลอดลมชนิด liquid solution
เช่น salbutamol, terbutaline ซึ่งต้องมีอุปกรณ์เสริม ดังนี้
Jet nebulizer
เป็นกำรบริหำรยำโดยอำศัยหลักกำรของ jet อุปกรณ์ที่ใช้คือ กระเปำะใส่ยำที่ต่อสำยไปยังท่อนำก๊ำซ
(อำจเป็นถังออกซิเจน หรือ air compressor) และอุปกรณ์พ่นยำ, mouthpiece หรือ face mask
หลักกำร คือ ผ่ำนก๊ำซที่มีแรงดันสูงให้ไหลผ่ำนท่อเล็กๆ ในกระเปำะใส่ยำ ทำให้เกิดแรงดูดที่ปลำยท่อ
ก๊ำซ ดึงของเหลวที่อยู่รอบๆ capillary tube ขึ้นมำ ของเหลวที่ถูกดูดขึ้นมำจะปะทะกับก๊ำซแรงดันสูงนั้น ทำให้
แตกกระจำยออกเป็นฝอยละอองแขวนลอยในก๊ำซ โดยแผ่นกั้นที่เรียกว่ำ baffle จะกั้นฝอยละอองขนำดใหญ่ให้
ตกลงมำในกระเปำะใหม่ (ภำพที่ 8) ผู้ป่วยจะสูดฝอยละอองที่มีขนำดเล็กประมำณ 1-5 ไมครอนเข้ำสู่ปอด
กระเปำะใส่ยำจะเป็นชนิด small volume ซึ่งจะมีสำรน้ำตกค้ำงในกระเปำะ (dead volume) ประมำณ 0.5-1
มล. ทำให้ผู้ป่วยอำจได้รับยำไม่เพียงพอ ดังนั้น จึงแนะนำให้มีสำรน้ำในกระเปำะประมำณ 2.5-4 มล. เปิดอัตรำ
ไหลของก๊ำซประมำณ 6-8 ลิตรต่อนำที จะได้ปริมำณฝอยละอองที่ได้ผลในกำรรักษำ (Level IV, Grade A)
22
แนะนำให้ผู้ป่วยสูดยำผ่ำนทำง mouthpiece เพื่อให้ยำเข้ำสู่ปอดได้มำกขึ้น (Level IV, Grade A) ในเด็กที่อำยุ
น้อยกว่ำ 4 ปีหรือเด็กที่ไม่สำมำรถใช้ mouthpiece ได้ ให้ใช้ aerosol face mask ที่มีขนำดพอเหมำะและ
กระชับกับใบหน้ำของผู้ป่วย (Level V, Grade B)
ภำพที่ 8 แสดงกำรทำงำนของ jet nebulizer
Continuous nebulization
เป็นวิธีกำรพ่นฝอยละอองยำอย่ำงต่อเนื่อง สำหรับรักษำโรคหืดเฉียบพลันแบบรุนแรงซึ่งจำเป็นต้อง
ได้รับยำขยำยหลอดลมอย่ำงต่อเนื่อง โดยใช้อุปกรณ์พิเศษที่สำมำรถเติมยำและพ่นฝอยละอองยำอย่ำงต่อเนื่องได้
อุปกรณ์ที่นิยมใช้เรียกว่ำ HEART nebulizer ซึ่งย่อมำจำก High-output Extended Aerosol Respiratory
Therapy มีปริมำตรสำหรับใส่ยำ 240 มล. วิธีกำรต่อ HEART nebulizer กับ face mask และ oxygen flow meter
ดังแสดงในภำพที่ 9 กำรพ่นยำด้วยวิธีนี้ใช้เฉพำะในผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำในโรงพยำบำล (Level V, Grade A)
ภำพที่ 9 แสดงกำรต่อ HEART nebulizer (ลูกศรชี้) กับ face mask และ oxygen flow meter
23
กำรเตรียมยำสำหรับกำรพ่นฝอยละอองยำอย่ำงต่อเนื่องทำโดยใช้ salbutamol respiratory solution
(0.5%) กับ normal saline solution ผสมตำมสัดส่วนต่ำงๆ (ตำรำงที่ 1) มักเริ่มจำกกำรให้ยำขนำด 0.5 มก./กก./
ชม. แล้วค่อยๆปรับขนำดเพิ่มขึ้นตำมควำมรุนแรงของอำกำรโรคหืด ปริมำณยำมำกที่สุดไม่ควรเกิน 60 มก./ชม.
ตำรำงที่ 1 กำรเตรียมยำ salbutamol ใน HEART nebulizer
จำกตำรำงจะเห็นว่ำถ้ำเปิดอัตรำกำรไหลของออกซิเจนเข้ำไปในกระเปำะ 10 ลิตร/นำที จะสำมำรถผลิต
ละอองยำ (nebulizer output) ได้ในปริมำณ 30 มล./ชม. แต่ถ้ำควำมเร็วของลมหำยใจเข้ำของผู้ป่วยเร็วกว่ำ 10
ลิตร/นำที ต้องเพิ่มอัตรำกำรไหลของออกซิเจนเป็น 15 ลิตร/นำที ซึ่งจะผลิตละอองยำได้ในปริมำณมำกขึ้นคือ 50
มล./ชม. แต่ต้องเติมยำบ่อยขึ้นด้วย ในเด็กเล็กที่ไม่ยอมใส่ face mask ต้องใช้วิธีพ่นยำเข้ำไปใน oxygen box
แทน และเปิดอัตรำกำรไหลของออกซิเจนเป็น 15 ลิตร/นำที (Level V, Grade A)
Ultrasonic nebulizer
เป็นอุปกรณ์พ่นยำที่ใช้หลักกำรของกำรเปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำให้เป็นคลื่นเสียงควำมถี่สูง ไปสั่น
สะเทือนของเหลวที่ใส่อยู่ในภำชนะที่วำงอยู่ส่วนบนของเครื่อง ทำให้ของเหลวนั้นแตกเป็นฝอยละอองขนำด
ประมำณ 1-6 ไมครอน (ภำพที่ 10) สำมำรถบริหำรยำได้อย่ำงรวดเร็ว ได้ปริมำณยำมำกกว่ำกำรใช้ jet
nebulizer
ข้อเสียของ ultrasonic nebulizer คือ คลื่นเสียงควำมถี่สูงอำจทำให้เกิดควำมร้อนและโครงสร้ำงยำ
เปลี่ยนแปลง ทำให้ประสิทธิภำพของยำลดลง นอกจำกนี้ยำที่อยู่ในรูป suspension เช่น steroid suspension
หรือยำที่มีควำมหนืดมำก ปริมำณฝอยละอองยำที่เกิดขึ้นจะน้อยลง
O2 Flow Rate  Neb Output 10 ลิตร/นำที  30 มล./ชม. 15 ลิตร/นำที  50 มล./ชม.
Desired salbutamol dose (มก./ชม.)
Salbutamol 0.5% solution (มล.)
NSS (มล.)
10 20 30 40 50 60
2 4 6 8 10 12
28 26 24 22 20 18
10 20 30 40 50 60
2 4 6 8 10 12
48 46 44 42 40 38
24
ภำพที่ 10 แสดงกำรทำงำนของ ultrasonic nebulizer
2. Pressurized metered-dose inhaler
Pressurized metered-dose inhaler (p-MDI) เป็นวิธีกำรบริหำรยำชนิดฝอยละออง ได้แก่ ยำ
ขยำยหลอดลม และยำ corticosteroid (ภำพที่ 11) โดยอนุภำคยำแขวนลอยหรือละลำยอยู่ในสำร propellent
ซึ่งปัจจุบันใช้สำร hydrofluoroalkane (HFA) เป็น propellent ข้อดีของวิธีนี้คือ อุปกรณ์มีขนำดเล็ก พกพำ
สะดวก รำคำถูกกว่ำกำรใช้ยำพ่นชนิดอื่น และปริมำณยำของกำรกดยำแต่ละครั้งจะเท่ำกัน ตัวอย่ำงยำที่ใช้กับ
อุปกรณ์ชนิดนี้เช่น fluticasone, budesonide, salbutamol เป็นต้น
ภำพที่ 11 แสดงโครงสร้ำงภำยในของ pressurized-metered dose inhaler (p-MDI)
ข้อแนะนาในการใช้ p-MDI ในเด็ก
กำรบริหำรยำโดยใช้ p-MDI ทำได้ 2 วิธี คือ สูดยำจำก p-MDI โดยตรงและสูดยำผ่ำน spacer มี
ข้อแนะนำกำรใช้ในเด็กดังนี้
- ให้ใช้โดยวิธีสูดยำผ่ำน spacer เสมอ เนื่องจำกเด็กส่วนใหญ่ไม่สำมำรถกำหนดจังหวะกำร
หำยใจให้สัมพันธ์กับกำรกดยำพ่นได้ดี กำรสูดยำผ่ำน spacer จะช่วยให้ยำเข้ำสู่ทำงเดิน
25
หำยใจส่วนล่ำงและปอดได้ในปริมำณสูง ลดกำรตกค้ำงของยำในช่องปำก (Level II, Grade
A)
- ในเด็กโตที่สำมำรถกำหนดจังหวะกำรหำยใจให้สัมพันธ์กับกำรกดยำพ่นได้ดี อำจสูดยำจำก
p-MDI โดยตรงโดยไม่ต้องใช้ spacer (Level II, Grade C) แต่ควรใช้กับยำขยำยหลอดลม
เท่ำนั้น ไม่ใช้กับยำในกลุ่ม corticosteroid
วิธีการใช้ p-MDI โดยไม่ใช้ spacer (Level V, Grade A)
1. เปิดฝำครอบหลอดยำ
2. เขย่ำหลอดยำในแนวดิ่ง 3-4 ครั้ง ให้ยำผสมกันดี
3. หำยใจออก (ห้ำมหำยใจออกเข้ำไปในหลอดยำ)
4. ใช้ปำกอม mouthpiece ของหลอดยำ ปิดปำกให้สนิท โดยให้ mouthpiece อยู่ระหว่ำง
ฟัน (closed mouth technique) หรืออ้ำปำกและถือหลอดยำให้ mouthpiece ห่ำงจำก
ปำกประมำณ 4 ซม. (opened mouth technique) ซึ่งทั้ง 2 วิธีนี้ได้ผลในกำรรักษำไม่
แตกต่ำงกัน หำกทำอย่ำงถูกวิธี (Level II, Grade A) (ภำพที่ 12)
5. หำยใจเข้ำทำงปำกพร้อมกดหลอดยำ สูดหำยใจเข้ำช้ำๆทำงปำกจนลึกสุด
6. นำหลอดยำออกจำกปำก กลั้นหำยใจ 5-10 วินำที แล้วจึงหำยใจออกทำงจมูก
ภำพที่ 12 แสดงวิธีพ่นยำแบบ closed mouth (ภำพซ้ำย) และ opened mouth technique (ภำพขวำ)
วิธีการใช้ p-MDI ร่วมกับ spacer
มีข้อควรทรำบเกี่ยวกับ spacer ดังนี้
- spacer ที่ใช้ควรมีปริมำตร 150-750 มิลลิลิตร เด็กอำยุ 2-3 ปีควรใช้ spacer ชนิดที่มี
ปริมำตรน้อย เช่น Babyhaler®
, Aerochamber®
, ACE®
เป็นต้น
- ในเด็กที่สำมำรถหำยใจทำงปำกได้และร่วมมือในกำรพ่นยำดี ให้เลือกใช้ spacer ต่อกับ
mouthpiece ซึ่งจะทำให้ปริมำณยำเข้ำสู่ทำงเดินหำยใจส่วนล่ำงได้ดีและลดกำรตกค้ำงของ
26
ฝอยละอองยำในจมูก สำหรับเด็กเล็กอำยุน้อยกว่ำ 4 ปี หรือเด็กที่ไม่ร่วมมือให้ใช้ชนิด
facemask (Level V, Grade A)
- spacer บำงอย่ำงใช้ได้กับหลอดยำบำงชนิดเท่ำนั้น ดังนั้น ก่อนสั่งยำและ spacer ให้ผู้ป่วย
ควรทดลองต่อหลอดยำเข้ำกับ spacer ดูก่อน
- spacer ชนิดพลาสติกจะมีประจุไฟฟ้ าที่ผิวด้านใน ทาให้ละอองยาไปเกาะติดได้ง่าย
การศึกษาเกี่ยวกับการเคลือบ (priming) spacer โดยการกดยาพ่น 15 - 20 puff เข้าไปใน
spacer พบว่าช่วยให้ยาเข้าสู่ปอดและหลอดลมได้มากขึ้น (Level I, Grade C) แต่ในทาง
ปฏิบัติไม่ได้แนะนาให้ทาเช่นนี้เนื่องจากเป็นการสิ้นเปลืองมาก ข้อแนะนาของคณะ
ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้พ่นยา 2-4 puff เพื่อเคลือบ spacer (Level V, Grade B) สาหรับการ
ใช้ยาครั้งต่อๆไป ไม่จาเป็นต้องพ่นยาเพื่อเคลือบ spacer อีก นอกจากนี้กำรทำควำมสะอำด
ด้ำนใน spacer โดยกำรล้ำงด้วยน้ำยำล้ำงจำนที่เจือจำง (1:250 ถึง 1: 500) แล้วปล่อยให้
แห้งโดยไม่ต้องล้ำงน้ำเปล่ำซ้ำ จะช่วยลดประจุไฟฟ้ ำ และเมื่อนำมำใช้อีกก็ไม่มีควำม
จำเป็นต้องพ่นยำเพื่อเคลือบ spacer (Level II, Grade A) ไม่แนะนำให้ใช้ผ้ำเช็ดทำควำม
สะอำด เพรำะจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้ ำสถิตอีก (Level V, Grade A) สำหรับ spacer ที่ทำ
ด้วยโลหะ จะไม่มีปัญหำเรื่องประจุไฟฟ้ ำและกำรเกำะติดของละอองยำที่ spacer
- spacer ชนิดที่ทำขึ้นใช้เอง ซึ่งจะไม่มี one-way valve เช่น ขวดพลำสติกขนำด 500
มิลลิลิตร อำจพิจำรณำนำมำใช้ได้ เนื่องจำกมีกำรศึกษำพบว่ำสำมำรถให้ฝอยละอองยำ
เข้ำถึงทำงเดินหำยใจส่วนล่ำงได้ดีใกล้เคียงกับ spacer ที่ผลิตจำกบริษัท (Level I, Grade C)
วิธีการใช้ p-MDI ร่วมกับ spacer (Level V, Grade A)
1. เปิดฝำครอบหลอดยำ
2. เขย่ำหลอดยำในแนวดิ่ง 3-4 ครั้ง ให้ยำผสมกันดี
3. ต่อหลอดยำเข้ำกับ spacer
4. ครอบ facemask ของ spacer เข้ำกับจมูกและปำก กรณีที่ใช้ mouthpiece ให้ใช้ปำกอม
mouthpiece ให้สนิท โดยให้ mouthpiece อยู่ระหว่ำงฟัน
5. กดยำให้เข้ำไปใน spacer
6. หำยใจเข้ำออกธรรมดำ 5-10 ครั้ง โดยไม่จำเป็นต้องกลั้นหำยใจ หลังจำกนั้นเอำ
mouthpiece หรือ facemask ออกจำกปำกหรือใบหน้ำ
7. หำกต้องกำรใช้ยำมำกกว่ำ 1 กด ให้เว้นช่วงในกำรกดยำแต่ละครั้งอย่ำงน้อย 15-30
วินำที แล้วทำซ้ำข้อ 4-6
8. ในกรณีที่ใช้ยำในกลุ่ม corticosteroid ต้องบ้วนปำกทุกครั้งหลังใช้ยำ หำกใช้ facemask
ควรใช้ผ้ำชุบน้ำเช็ดบริเวณหน้ำและรอบปำกทุกครั้งหลังกำรใช้ยำ
การตรวจสอบปริมาณยาในกระบอกยา
27
เนื่องจำกยำชนิด p-MDI ไม่มีตัวเลขแสดงว่ำมียำเหลืออยู่ปริมำณเท่ำใด ดังนั้น แพทย์ต้องแนะนำ
ให้ผู้ใช้ยำทรำบถึงวิธีตรวจสอบ แต่เดิมแนะนำให้ทำ floating test โดยถอดหลอดยำส่วนที่เป็นโลหะ (canister)
ออกจำกส่วนที่เป็นพลำสติกแล้วนำไปลอยน้ำ สังเกตดูกำรเอียงของ canister ในปัจจุบันไม่แนะนำให้ใช้วิธีนี้
เนื่องจำกไม่แม่นยำ กำรตรวจสอบปริมำณยำที่เหลืออยู่ที่ดีที่สุด คือ กำรจดบันทึกวันที่เริ่มใช้ยำและคำนวณว่ำ
ยำจะหมดเมื่อใด โดยคิดจำกปริมำณยำที่มีทั้งหมดและปริมำณยำที่ใช้ในแต่ละวัน (Level II, Grade A) เช่น ยำ
1 หลอดใช้ได้ 120 กด ถ้ำใช้วันละ 2 กด ควรใช้ได้ประมำณ 60 วัน เป็นต้น
3. Dry powder inhaler
Dry powder inhaler (DPI) เป็นวิธีกำรบริหำรยำชนิดฝอยละออง โดยอนุภำคยำอยู่ในรูปผง
เมื่อผู้ใช้สูดหำยใจเข้ำ แรงสูดจะทำให้อนุภำคยำแยกหลุดจำกกันแตกออกเป็นฝอยละออง อุปกรณ์ที่ใช้มีหลำย
ชนิด เช่น Turbuhaler®
(ภำพที่ 13), Accuhaler®
(หรือ Diskus®
) (ภำพที่ 14), Easyhaler®
ปริมำณยำที่เข้ำสู่
ปอดจะสูงกว่ำกำรใช้ยำแบบ p-MDI ประมำณ 2 เท่ำ
ภำพที่ 13 แสดงกำรทำงำนของ DPI ชนิด turbuhaler®
28
ภำพที่ 14 แสดงกำรทำงำนของ DPI ชนิด diskus®
หรือ accuhaler®
ข้อดีของกำรใช้ยำวิธีนี้คือ พกพำสะดวกเนื่องจำกมีขนำดเล็ก ไม่มีสำร CFC มีตัวเลขบอก
ปริมำณยำที่เหลืออยู่ ไม่มี cold freon effect และที่สำคัญคือ ไม่ต้องกำหนดจังหวะกำรหำยใจให้สัมพันธ์กับ
กำรกดยำ เพียงอำศัยแรงสูดที่มำกพอเท่ำนั้น โดยต้องมี inspiratory flow rate ประมำณ 30-60 ลิตร/นำที
ขึ้นกับชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้ (Level I, Grade A)
ข้อจำกัดของกำรใช้ยำคือ ในเด็กอำยุน้อยมักสูดไม่เป็นหรือแรงสูดไม่มำกพอ นอกจำกนี้
ผู้ป่วยที่กำลังมีอำกำรหอบเหนื่อย อำจไม่มีแรงสูดที่มำกพอ
วิธีการใช้ยาชนิด Turbuhaler®
(Level V, Grade A)
1. เปิดฝำหลอดยำ
2. ใช้มือข้ำงหนึ่งจับที่ฐำนหลอดยำ ให้หลอดยำตั้งตรง แล้วใช้มืออีกข้ำงหมุนหลอดยำไป
ทำงขวำแล้วหมุนกลับจนมีเสียงคลิก (เพื่อปล่อยยำออกมำ)
3. หำยใจออก
4. ใช้ปำกอม mouthpiece ปิดปำกให้สนิท ให้ mouthpiece อยู่ระหว่ำงฟัน
5. สูดยำโดยหำยใจเข้ำทำงปำกแรงพอควร สูดหำยใจช้ำๆ ไม่จำเป็นต้องกลั้นหำยใจ
6. เอำหลอดยำออกจำกปำก แล้วหำยใจออกช้ำ ๆ (ห้ำมหำยใจออกเข้ำไปในหลอดยำ)
7. ถ้ำเป็นยำชนิด corticosteroid ต้องบ้วนปำกทุกครั้งหลังใช้ยำ
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก

More Related Content

What's hot

Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
piyarat wongnai
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
Utai Sukviwatsirikul
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Nickson Butsriwong
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
Krongdai Unhasuta
 
Warning sign
Warning signWarning sign
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
Nursing Room By Rangsima
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
Aphisit Aunbusdumberdor
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
wichudaice
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างานตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
Department of Anesthesiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 

What's hot (20)

Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างานตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 

Similar to แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก

แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
Asthma 2012
Asthma 2012Asthma 2012
Asthma 2012
Hummd Mdhum
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555Utai Sukviwatsirikul
 
Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555
แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555
แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
Kamol Khositrangsikun
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
codexstudio
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Parinya Damrongpokkapun
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก (20)

Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
 
Asthma 2012
Asthma 2012Asthma 2012
Asthma 2012
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
 
Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012
 
แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555
แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555
แนวทางปฏิบัติบริการสาธารณสุขการดูแลผู้ป่วยโรคหืด พ.ศ. 2555
 
Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก

  • 1. 1 สารบัญ หน้า คำนำ 2 รำยชื่อคณะทำงำน 3 กระบวนกำรจัดทำ 5 กำรให้น้ำหนักของหลักฐำนและระดับคำแนะนำ 6 แนวทำงปฏิบัติกำรรักษำด้วยออกซิเจน (Oxygen therapy) 7 แนวทำงปฏิบัติกำรให้ควำมชื้นและยำพ่นฝอยละออง (Humidity and aerosol therapy) 16 แนวทำงปฏิบัติกำรทำกำยภำพบำบัดทรวงอก (Chest physiotherapy) 34 แนวทำงปฏิบัติกำรดูดเสมหะและกำรล้ำงจมูก (Suctioning and nasal irrigation) 44 แนวทำงปฏิบัติกำรดูแลผู้ป่วยเด็กที่ใส่ท่อหลอดคอ (Tracheostomy care) 55 ภำคผนวก 62
  • 2. 2 รายชื่อคณะทางานจัดทา “แนวทางการบาบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก” ที่ปรึกษา ศ. เกียรติคุณ พญ. สุภรี สุวรรณจูฑะ ศ. เกียรติคุณ นพ. ธีรชัย ฉันทโรจน์ศิริ ประธาน รศ. พญ. นวลจันทร์ ปรำบพำล เลขานุการ รศ. พญ. สุชำดำ ศรีทิพยวรรณ กลุ่มที่ 1: แนวทางปฏิบัติการรักษาด้วยการให้ออกซิเจน (Oxygen therapy) ประธาน รศ. พญ. จิตลัดดำ ดีโรจนวงศ์ เลขานุการ ผศ. พญ. กนกพร อุดมอิทธิพงศ์ คณะทางาน นอ. หญิง สุพิชชำ แสงโชติ อ. นพ. สนิท เรืองรองรัตน์ รศ. นพ. รุจิภัตต์ สำรำญสำรวจกิจ รอ. หญิง ยุพิน วำนิชทวีวัฒน์ กลุ่มที่ 2: แนวทางปฏิบัติการให้ความชื้นและยาพ่นฝอยละออง (Humidity and aerosol therapy) ประธาน รศ. พอ. หญิง ชลิดำ เลำหพันธ์ เลขานุการ พท. หญิงสนิตรำ ศิริธำงกุล คณะทางาน พตอ. หญิง นำเรศ วงศ์ไพฑูรย์ รศ. พญ. จำมรี ธีรตกุลพิศำล รศ. พญ. วนพร อนันตเสรี ผศ. นพ. จักรพันธ์ สุศิวะ พท. หญิง สุพิชญำ จึงจิตรักษ์ กลุ่มที่ 3: แนวทางปฏิบัติการทากายภาพบาบัดทรวงอก (Chest physiotherapy) ประธาน ศ. พญ. อรุณวรรณ พฤทธิพันธ์ เลขานุการ ผศ. นพ. อรรถพล เอี่ยมอุดมกำล คณะทางาน รศ. พญ. วนิดำ เปำอินทร์ ผศ. พญ. อำภัสสร วัฒนำศรมศิริ อ. นพ. ธีรเดช คุปตำนนท์ อ. พญ. หฤทัย กมลำภรณ์ อ. พญ. ปิยะพร ชื่นอิ่ม อ. พญ. โรจนี เลิศบุญเหรียญ
  • 3. 3 กลุ่มที่ 4: แนวทางปฏิบัติการดูดเสมหะและการล้างจมูก (Suctioning and nasal irrigation) ประธาน รศ. พิเศษ นพ. สรศักดิ์ โล่ห์จินดำรัตน์ เลขานุการ อ. นพ. เฉลิมไทย เอกศิลป์ คณะทางาน นท. ชำตรี พลสยม อ. พญ. พนิดำ ศรีสันต์ ผศ. นพ. สรวุฒิ พงศ์โรจน์เผ่ำ อ. นพ. ประวิทย์ เจตนชัย กลุ่มที่ 5: แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยเด็กที่ใส่ท่อหลอดคอ (Tracheostomy care) ประธาน ผศ. พอ. ดุสิต สถำวร เลขานุการ ผศ. นพ. กวีวรรณ ลิ้มประยูร คณะทางาน อ. นพ. ธีระศักดิ์ บริสุทธิบัณฑิต รศ. นพ. สมชำย สุนทรโลหะนะกูล อ. นพ. สมรัก รังคกูลนุวัฒน์ อ. นพ. มนูธรรม มำนวธงชัย
  • 4. 4 กระบวนการจัดทา “แนวทางการบาบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก” 1. จัดตั้งคณะทำงำนเพื่อร่ำง “แนวทำงกำรบำบัดรักษำทำงระบบหำยใจในเด็ก” ซึ่งประกอบด้วยกุมำรแพทย์ ผู้เชี่ยวชำญด้ำนโรคระบบกำรหำยใจและเวชบำบัดวิกฤตจำนวน 37 ท่ำน ดังมีรำยชื่อดังกล่ำวข้ำงต้น 2. แบ่งคณะทำงำนเป็น 5 กลุ่มย่อย เพื่อค้นคว้ำหำข้อมูลสำหรับร่ำงแนวปฏิบัติในหัวข้อย่อยที่กลุ่ม รับผิดชอบ โดยแหล่งข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรจัดทำร่ำงแนวปฏิบัติได้แก่ - ตำรำภำษำอังกฤษที่เกี่ยวกับโรคทำงระบบหำยใจและกำรดูแลรักษำ - นิพนธ์ต้นฉบับที่เกี่ยวข้อง โดยกำรค้นหำจำก Pubmed หรือแหล่งข้อมูลสำรสนเทศอื่นๆ - สอบถำมควำมเห็นจำกผู้เชี่ยวชำญ 3. คณะทำงำนทั้งหมดประชุมร่วมกันเพื่อพิจำรณำร่ำงแนวทำงที่จัดทำขึ้น เพื่อลงควำมเห็นเป็นเอกฉันท์ใน เรื่องเกี่ยวกับแนวทำงปฏิบัติที่แต่ละกลุ่มได้เขียนขึ้น พิจำรณำให้น้ำหนักหรือกำหนดระดับควำมน่ำเชื่อถือ ของหลักฐำนทำงกำรแพทย์ที่นำมำใช้อ้ำงอิง ตลอดจนให้ระดับของคำแนะนำสำหรับแนวทำงปฏิบัติแต่ละ เรื่องตำมหลักเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ 4. ขอควำมเห็นเพิ่มเติมจำกบุคคลภำยนอก ได้แก่ แพทย์ พยำบำล หรือบุคลำกรทำงกำรแพทย์ที่เกี่ยวข้องใน กำรให้กำรบำบัดรักษำทำงระบบหำยใจในผู้ป่วยเด็ก โดยกำรส่งแบบสอบถำมไปยังโรงพยำบำลต่ำงๆทั้ง ในกรุงเทพมหำนครและส่วนภูมิภำค ร่วมกับนำเสนอในกำรประชุมประจำปีของรำชวิทยำลัยกุมำรแพทย์ แห่งประเทศไทย 5. ปรับปรุงแก้ไขร่ำงแนวปฏิบัติตำมข้อเสนอแนะที่ได้รับจำกบุคคลภำยนอก 6. ส่งร่ำงแนวปฏิบัติฉบับแก้ไขแล้วให้รำชวิทยำลัยกุมำรแพทย์แห่งประเทศไทยจัดพิมพ์และเผยแพร่แนว ปฏิบัติที่จัดทำขึ้นให้กุมำรแพทย์ทั่วไปและบุคลำกรที่มีหน้ำที่ดูแลรักษำผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหำทำงระบบ หำยใจให้รับทรำบและนำไปปฏิบัติ 7. ประเมินแนวปฏิบัติที่จัดทำขึ้นโดยกำรใช้แบบประเมิน ให้กุมำรแพทย์ทั่วไปและบุคลำกรที่ใช้แนวปฏิบัติ ดังกล่ำวในกำรดูแลรักษำทำงระบบหำยใจในผู้ป่วยเด็กประเมินผลกำรนำแนวทำงปฏิบัตินี้ไปใช้ในกำร ปฏิบัติงำน
  • 5. 5 การให้น้าหนักของหลักฐานและระดับคาแนะนา การให้น้าหนักของหลักฐาน (Level of evidence) ระดับ I หลักฐำนได้จำกงำนวิจัยที่เป็น randomized controlled trials หรือ systematic review ที่ดีอย่ำงน้อย 1 งำนวิจัย ระดับ II หลักฐำนที่ได้จำกกำรศึกษำที่เป็น non-randomized controlled trials หรือ before & after clinical trials หรือ cohort studies ระดับ III หลักฐำนที่ได้จำกกำรศึกษำที่เป็น case-control studies ระดับ IV หลักฐำนที่ได้จำกกำรศึกษำที่เป็น descriptive, case reports หรือ case series ระดับที่ V หลักฐำนที่เป็น expert opinion หรือฉันทำมติ (consensus) ของคณะผู้เชี่ยวชำญ หมำยเหตุ: น้ำหนักของหลักฐำน (Level of evidence) นี้ประยุกต์มำจำก Cochrane data base study, Oxford cetre for evidence-based medicine 2001 (http://wwwcebm.net) และ School of Health and Related Research, University of Sheffield, UK (source: pshipman@mail.mcg.edu) การให้ระดับของคาแนะนาสาหรับแนวทางปฏิบัติ (Grade of recommendation) ระดับ A แนวทำงปฏิบัตินี้ให้มีกำรนำไปใช้ (Strongly recommended) ระดับ B แนวทำงปฏิบัตินี้ควรนำไปใช้ (Recommended) ระดับ C แนวทำงปฏิบัตินี้เป็นทำงเลือกหนึ่งในกำรนำไปใช้ (Optional) ระดับ D แนวทำงปฏิบัตินี้ไม่แนะนำให้นำไปใช้ในกรณีทั่วไป (Not recommended in normal situation) ระดับ E แนวทำงปฏิบัตินี้ไม่แนะนำให้ไปใช้ (Not recommended in all situations) หมำยเหตุ: ระดับของคำแนะนำสำหรับแนวทำงปฏิบัติ (Grade of recommendation) นี้ได้จำกมติของ คณะอนุกรรมกำรจัดทำ CPG โดยประยุกต์มำจำก Classifying recommendations for clinical practice guidelines, American Academy of Pediatrics ใน Pediatrics 2004; 114: 874-877
  • 6. 6 แนวทางปฏิบัติการรักษาด้วยออกซิเจน (Oxygen therapy) กำรรักษำด้วยออกซิเจน (oxygen therapy) คือ กำรให้ออกซิเจนที่มีควำมเข้มข้นสูงกว่ำควำมเข้มข้นปกติ ในบรรยำกำศ เพื่อรักษำและป้ องกันภำวะพร่องออกซิเจน (hypoxia) แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ - กำรให้ในโรงพยำบำลหรือสถำนพยำบำล (Acute care setting) - กำรให้ที่บ้ำน (Home oxygen therapy) I. การให้การรักษาด้วยออกซิเจนในโรงพยาบาล (Acute care setting) ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A) - ผู้ป่วยที่มีภำวะพร่องออกซิเจน (PaO2 ในเลือด < 60 มม.ปรอท หรือ SpO2 < 90% หรือทำรกที่มี PaO2 ในเลือด < 50 มม.ปรอท หรือ SpO2 < 88% ขณะหำยใจในอำกำศธรรมดำหรือ room air) - ผู้ป่วยที่สงสัยว่ำอำจมีภำวะพร่องออกซิเจนแบบเฉียบพลัน - ผู้ป่วยที่มีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax) - ผู้ป่วยหลังกำรดมยำสลบ โดยให้ในระยะเวลำสั้นๆ วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้ กำรให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยต้องมีกำรเขียนคำสั่งของแพทย์ บอกวิธีกำรให้และอัตรำกำรไหล (flow rate) ของออกซิเจน อุปกรณ์กำรให้ออกซิเจนแบ่งเป็น 2 ระบบดังนี้ 1. Variable performance (low-flow) system เป็นระบบที่ควำมเข้มข้นของออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับไม่คงที่ ขึ้นกับ flow rate, อัตรำกำรหำยใจและ ควำมแรงของกำรหำยใจของผู้ป่วย โดยผู้ป่วยได้รับอำกำศส่วนหนึ่งจำกอุปกรณ์กำรให้ออกซิเจน อีกส่วนหนึ่ง ได้รับจำกบรรยำกำศ ตัวอย่ำงของอุปกรณ์ในกลุ่มนี้ได้แก่ nasal cannula, face mask, oxygen hood และ oxygen tent เป็นต้น 2. Fixed performance (high-flow) system เป็นระบบที่ควำมเข้มข้นของออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับคงที่ตำมที่ปรับไว้ ไม่ขึ้นกับกำรหำยใจของผู้ป่วย ผู้ป่วยจะได้รับอำกำศทั้งหมดจำกอุปกรณ์กำรให้ออกซิเจน ไม่มีบรรยำกำศภำยนอกเข้ำมำผสม ตัวอย่ำง อุปกรณ์ในกลุ่มนี้ได้แก่ อุปกรณ์กำรให้ออกซิเจนในเครื่องช่วยหำยใจ, oxygen blender และ air-entrainment หรือ venturi mask เป็นต้น ตัวอย่างอุปกรณ์ให้ออกซิเจน (oxygen delivery device) ที่ใช้บ่อย Nasal cannula เหมำะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องกำรควำมเข้มข้นออกซิเจนไม่สูง ในเด็กทำรกปรับอัตรำกำรไหล ของออกซิเจนไม่เกิน 2 ลิตร/นำที (Level V, Grade A) สำหรับเด็กโตให้เพิ่มอัตรำกำรไหลออกซิเจนได้ถึง 6 ลิตร/นำที (Level V, Grade A) ไม่ควรใช้อัตรำกำรไหลของออกซิเจนที่สูงเกินไปเนื่องจำกอำจทำให้เยื่อบุจมูก แห้งและแสบจมูกได้ (Level V, Grade A ) ข้อดีของกำรให้ออกซิเจนวิธีนี้คือประหยัด ติดยึดกับผู้ป่วยได้ง่ำย
  • 7. 7 กว่ำ face mask สำมำรถให้นมหรืออำหำรแก่ผู้ป่วยได้โดยไม่ต้องหยุดให้ออกซิเจน แต่มีข้อจำกัดในผู้ป่วยที่มี น้ำมูกมำก เยื่อบุจมูกบวม หรือผนังจมูกเอียง ข้อควรระวัง (Level IV) - ขนำด nasal prong ที่ใหญ่เกินไปจะทำให้เกิดกำรอุดกั้นและระคำยจมูก - nasal prong เลื่อนหลุด ซึ่งเกิดได้บ่อยในเด็กเล็ก ทำให้เกิดกำรขำดออกซิเจน - อัตรำกำรไหลของออกซิเจนมำกเกินไป ทำให้เกิดกำรระคำยเคืองต่อเยื่อบุจมูก - ในรำยที่ใช้ nasal prong ขนำดใหญ่และให้อัตรำกำรไหลออกซิเจนมำกเกินไป มีรำยงำน ว่ำทำให้เกิดควำมดันบวกในทำงเดินหำยใจ (continuous positive airway pressure) - อำจเกิดอำกำรระคำยเคืองของผิวหนังบริเวณที่สำยกดทับและบริเวณที่ปิดเทปเหนียว - ในเด็กเล็ก ควรติดสำย nasal cannula ให้พ้นคอเพื่อป้ องกันกำรอุดกั้นทำงเดินหำยใจ Simple face mask เป็นหน้ำกำกครอบบริเวณจมูกและปำก มีสำยรัดศีรษะให้หน้ำกำกยึดและแนบสนิท กับใบหน้ำ เหมำะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องกำรควำมเข้มข้นออกซิเจนระดับปำนกลำง 35%-50% ในช่วงระยะเวลำ สั้นๆ เช่น ระหว่ำงทำหัตถกำร หรือเคลื่อนย้ำยผู้ป่วย ควรเปิด flow rate 5-10 ลิตร/นำที ไม่ควรน้อยกว่ำ 5 ลิตร/นำที เพื่อป้ องกันกำรคั่งของก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ใน mask ที่เกิดขึ้นขณะหำยใจออก (Level V , Grade A ) ควำมเข้มข้นออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับขึ้นกับกำรหำยใจของผู้ป่วย อัตรำกำรไหลของออกซิเจน และ หน้ำกำกที่ครอบใบหน้ำว่ำสนิทดีหรือไม่ แต่ไม่ควรรัดแน่นเกินไปเนื่องจำกอำจทำให้ผู้ป่วยเจ็บ เกิดอำกำร ระคำยเคืองหรือเป็นแผลกดทับที่ใบหน้ำได้ ข้อควรระวัง (Level IV) - อำจเกิดกำรสูดสำลักสิ่งแปลกปลอมได้ในผู้ป่วยที่อำเจียน และไม่รู้สึกตัว - เกิดแผลกดทับ ถ้ำใช้ mask ที่แน่นและนำนไป - คำร์บอนไดออกไซด์คั่งในรำยที่เปิด oxygen flow rate ต่ำเกินไป Partial-rebreathing mask เป็นหน้ำกำกให้ออกซิเจนเช่นเดียวกับ simple face mask แตกต่ำงกันที่ partial rebreathing mask มี reservoir bag ที่ปลำยด้ำนหนึ่งของหน้ำกำก เพื่อเก็บก๊ำซออกซิเจนไว้ เป็นกำร เพิ่มควำมเข้มข้นของออกซิเจนในขณะหำยใจเข้ำ ให้ควำมเข้มข้นออกซิเจน 40%-60% เมื่อเปิดอัตรำกำรไหล ของก๊ำซ 6-10 ลิตร/นำที (Level V, Grade A) โดยขณะที่ใช้ควรปรับอัตรำกำรไหลของออกซิเจนให้ reservoir bag โป่งเสมอ Non-rebreathing mask มีลักษณะเช่นเดียวกับ partial-rebreathing mask แต่มี valve 2 อันเพื่อป้ องกัน กำรผสมกันระหว่ำงลมหำยใจออกของผู้ป่วยและก๊ำซออกซิเจนที่เปิดเข้ำไปใน mask โดย valve อันหนึ่งกั้น ระหว่ำงหน้ำกำกและ reservoir bag ซึ่งจะเปิดเฉพำะช่วงหำยใจเข้ำและปิดในช่วงหำยใจออก ทำให้ลม หำยใจออกของผู้ป่วยไม่เข้ำไปผสมกับก๊ำซออกซิเจนใน reservoir bag ส่วน valve อีกอันหนึ่งปิดช่องด้ำนข้ำง ของหน้ำกำกทำหน้ำที่เป็น valve สำหรับให้ลมหำยใจออกผ่ำนออกไป และกั้นอำกำศจำกภำยนอกไม่ให้เข้ำ
  • 8. 8 มำใน mask ขณะหำยใจเข้ำ ทำให้ผู้ป่วยได้ควำมเข้มข้นของออกซิเจนสูงกว่ำ partial rebreathing mask คือ ตั้งแต่ 60%-80% เมื่อเปิด flow rate อย่ำงน้อย 10 ลิตร/นำที (Level V , Grade A ) Oxygen hood มีลักษณะเป็นกล่องพลำสติกใสวำงครอบศีรษะเด็ก เหมำะสำหรับกำรให้ออกซิเจนใน ทำรกแรกเกิดและเด็กเล็ก ควำมเข้มข้นของออกซิเจนที่ได้ประมำณ 30%-70% ขึ้นกับขนำดของ hood, อัตรำ กำรไหลของออกซิเจนที่เปิด และกำรหำยใจของผู้ป่วย ควรเปิดออกซิเจนอย่ำงน้อย 7 ลิตร/นำที เพื่อป้ องกัน กำรคั่งของก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ (Level V , Grade A ) อย่ำงไรก็ตำม ในทำรกแรกเกิด ขนำดของ oxygen hood ที่ใช้มักมีขนำดเล็ก ดังนั้น จึงไม่จำเป็นต้องใช้ flow rate มำก โดยทั่วไปแนะนำให้ใช้ประมำณ 3-5 ลิตร/ นำทีและหำกต้องกำรปรับลดระดับควำมเข้มข้นของออกซิเจน ไม่ควรลด flow rate ลงเหลือน้อยกว่ำ 3 ลิตร/ นำทีเนื่องจำกจะมีผลทำให้เกิดกำรคั่งของก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ภำยใน oxygen hood ได้ ควรใช้ อุปกรณ์เสริมที่สำมำรถปรับระดับควำมเข้มข้นของออกซิเจนได้หรือให้ออกซิเจนร่วมกับอำกำศธรรมดำ (air) (Level V, Grade A) กำรใช้ oxygen hood ในทำรกแรกเกิดโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งทำรกเกิดก่อนกำหนด ควรวัด ควำมเข้มข้นของออกซิเจนขณะใช้โดยใช้ oxygen analyzer วำงบริเวณใกล้จมูกของผู้ป่วยเพื่อให้ได้ค่ำควำม เข้มข้นของออกซิเจนใกล้เคียงกับที่ผู้ป่วยได้รับจริงมำกที่สุด (Level V , Grade A ) เนื่องจำกควำมเข้มข้นของ ออกซิเจนบริเวณต่ำงๆ ภำยใน hood ไม่เท่ำกัน โดยจะมีควำมเข้มข้นสูงที่ส่วนล่ำงและลดต่ำลงที่ส่วนบนของ hood ข้อดีของกำรให้ออกซิเจนวิธีนี้คือรบกวนผู้ป่วยน้อยเนื่องจำกไม่มีส่วนใดของอุปกรณ์สัมผัสกับใบหน้ำ ผู้ป่วย ข้อควรระวัง (Level IV) - อำจเกิดกำรกดทับบริเวณคอผู้ป่วยได้ ถ้ำส่วนที่ครอบบริเวณคอแคบเกินไป - อำจเกิดปัญหำกำรได้ยิน เนื่องจำกเสียงดังที่เกิดขึ้นภำยใน oxygen hood - ควรควบคุมและติดตำมอุณหภูมิภำยใน oxygen hood เพื่อป้ องกัน cold stress หรือ overheat Oxygen tent นิยมใช้ในผู้ป่วยที่ต้องกำรออกซิเจนและควำมชื้นสูง เช่น ผู้ป่วย croup ควรเปิดอัตรำกำร ไหลของออกซิเจน 10-15 ลิตร/นำที ซึ่งจะให้ควำมเข้มข้นของออกซิเจน 40%-50%(Level V, Grade A) ควำม เข้มข้นของออกซิเจนไม่ค่อยคงที่ขึ้นกับกำรเปิด-ปิดของ oxygen tent ข้อควรระวัง (Level IV) - มองเห็นผู้ป่วยได้ยำกเนื่องจำกถูกบังโดยละอองไอน้ำภำยใน oxygen tent - ผู้ป่วยไม่ค่อยยอมรับ เนื่องจำกถูกแยกจำกผู้ดูแลและต้องอยู่ตำมลำพังใน oxygen tent - มีก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์คั่งได้ ถ้ำเปิดอัตรำกำรไหลของออกซิเจนไม่เพียงพอ
  • 9. 9 ตำรำงที่ 1: แสดงชนิดของอุปกรณ์กำรให้ออกซิเจน, flow rate, FiO2 ที่ได้ และ humidifier ที่เหมำะสม อุปกรณ์ Flow rate (ลิตร/นำที) FiO2 (%) Humidifier Nasal cannula เด็กทำรก: < 2 เด็กโต: < 6 24%-40% Bubble humidifier Simple mask 5-10 35%-50% Bubble humidifier Partial-rebreathing mask 6-10 40%-60% Bubble humidifier Non-rebreathing mask 10 60%-80% Bubble humidifier Oxygen hood*  7 30%-70% Jet nebulizer Oxygen tent 10-15 40%-50% Jet nebulizer หมำยเหตุ * ยกเว้นในทำรกแรกเกิดที่ใช้ oxygen hood ขนำดเล็ก แนะนำให้เปิด flow rate 3-5 ลิตร/นำที แหล่งกาเนิดออกซิเจน ก. ระบบจัดเก็บและการนาก๊าซออกซิเจนมาใช้ ถังออกซิเจน (oxygen cylinder) ตัวถังต้องไม่มีรอยต่อและผลิตจำก chrome molybdenum steel เมื่อบรรจุก๊ำซออกซิเจนเต็มถังจะมีแรงดันสูงประมำณ 2,200 psi มีหลำยขนำดให้เลือกใช้ ขนำดของถัง ออกซิเจนที่นิยมใช้ แสดงไว้ในตำรำงที่ 2 ส่วนวิธีคำนวณระยะเวลำที่สำมำรถใช้ออกซิเจนในถังแต่ละ ขนำดแสดงในภำคผนวก ตำรำงที่ 2: ขนำดของถังออกซิเจนและระยะเวลำที่สำมำรถใช้ออกซิเจนในถังได้โดยประมำณ ขนำดถัง ควำมจุ (ลูกบำศก์ฟุต) factor for duration of flow (L/psi) ระยะเวลำโดยประมำณ (ถ้ำเปิด flow rate 1 L/min) D 12.7 0.16 5 ชั่วโมง E 22 0.28 10 ชั่วโมง G 187 2.41 88 ชั่วโมง H 244 3.14 115 ชั่วโมง Oxygen concentrator เป็นอุปกรณ์ผลิตออกซิเจนที่ทำงำนโดยแยกก๊ำซออกซิเจนออกจำกไนโตรเจน และก๊ำซอื่นๆในอำกำศโดยอำศัยพลังงำนไฟฟ้ ำและแผ่นกรองเฉพำะ (molecular sieve material) ซึ่งจะ แยกก๊ำซชนิดต่ำงๆโดยอำศัยขนำดและ polarity ออกซิเจนที่ผลิตได้จะมีควำมเข้มข้นสูงถึง 80-95% โดยทั่วไปสำมำรถเปิด flow rate ของออกซิเจนได้ 1-5 ลิตร/นำที ในปัจจุบันมีชนิดที่สำมำรถเปิด flow rate ของออกซิเจนได้สูงถึง 10 ลิตร/นำที สำมำรถนำไปใช้ที่บ้ำนได้ (Level IV, Grade A)
  • 10. 10 Liquid oxygen สำมำรถให้ปริมำณก๊ำซออกซิเจนได้มำก โดยออกซิเจนเหลว 1 ลบ.ฟุต สำมำรถให้ ก๊ำซออกซิเจนได้ 860.6 ลบ.ฟุต (24,355 lit) หรือออกซิเหลว 1 ลิตรให้ก๊ำซออกซิเจนได้ 840 ลิตร จึง สะดวกมำกในกำรเคลื่อนย้ำย (portable) แต่รำคำแพงมำก และต้องมีระบบขนส่ง รวมทั้งกำรเติมก๊ำซ โดยเฉพำะ ข. อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ (regulation of gas flow) อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซชนิดใช้กับก๊าซที่มีแรงดันสูง (high-pressure gas regulator) เป็นอุปกรณ์ควบคุม (regulator) ที่ช่วยกำหนดอัตรำกำรไหลของก๊ำซและควบคุมค่ำแรงดัน ของก๊ำซในถังออกซิเจนให้ลดลงเหลือเท่ำกับค่ำ working pressure ซึ่งมีค่ำน้อยกว่ำหรือเท่ำกับ 50 psi (ภำพที่ 1) อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซชนิดใช้กับก๊าซที่มีแรงดันต่า (low-pressure gas regulator หรือ flow meter) เป็นอุปกรณ์ที่ควบคุมอัตรำกำรไหลของก๊ำซออกซิเจนให้ออกมำถูกต้อง ตำมที่ต้องกำร (ภำพที่ 2) ภำพที่ 1 high-pressure gas regulator ภำพที่ 2 แสดง low-pressure gas regulator (flow meter) ข้อควรระวังหรือข้อห้าม ไม่มีข้อห้ำมในกำรให้ออกซิเจน แต่มีข้อจำกัดในกำรใช้อุปกรณ์แต่ละชนิด ดังกล่ำวแล้วในรำยละเอียดของ อุปกรณ์ ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง 1. ผลข้ำงเคียงของกำรให้ออกซิเจน (Level IV) - กำรให้ออกซิเจนที่มีควำมเข้มข้นสูง > 50% อำจทำให้เกิด absorptive atelectasis, oxygen toxicity และลดกำรทำงำนของ cilia และเม็ดเลือดขำวได้
  • 11. 11 - ในผู้ป่วยที่มีคำร์บอนไดออกไซด์คั่งอยู่นำนๆ กำรแก้ภำวะ hypoxemia อำจกดกำรหำยใจของ ผู้ป่วยได้ - ในทำรกเกิดก่อนกำหนด ระดับ PaO2 ที่สูงกว่ำ 80 มม.ปรอท อำจทำให้เกิด retinopathy of prematurity - ในทำรกที่เป็น ductus-dependent heart lesion กำรเพิ่มระดับ PaO2 อำจทำให้ ductus arteriosus ปิดได้ - กำรให้ออกซิเจนต้องระมัดระวังในผู้ป่วยที่ได้รับสำรพิษกลุ่ม paraquat หรือเคยได้รับยำในกลุ่ม bleomycin 2. ผลข้ำงเคียงจำกแหล่งกำเนิดออกซิเจน อำจเกิดกำรระเบิดหรือติดไฟได้ 3. ผลข้ำงเคียงจำกอุปกรณ์ที่ให้ ขึ้นกับชนิดของอุปกรณ์ที่ให้ ดังกล่ำวข้ำงต้น การประเมินและติดตามผู้ป่วย - ปรับปริมำณออกซิเจนให้เหมำะสมกับผู้ป่วยโดยติดตำมอำกำรทำงคลินิกหรือใช้เครื่อง pulse oximeter ร่วมด้วย (Level V, Grade A) - กรณีเจ็บป่วยแบบเฉียบพลัน ควรให้ออกซิเจนเพื่อรักษำระดับค่ำควำมอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด แดง (SpO2) ให้อยู่ระหว่ำง 94%-98% สำหรับผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรังที่มีแนวโน้มจะเกิด hypercapnic respiratory failure ค่ำ SpO2 ควรอยู่ระหว่ำง 88%-92% (Level V, Grade A) การดูแลรักษาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง การควบคุมและป้ องกันการติดเชื้อ (infection control) กำรใช้ nasal cannula, simple face mask, partial-rebreathing mask และ non-rebreathing mask หำกใช้ในผู้ป่วยคนเดียวกัน ไม่จำเปลี่ยนต้องเปลี่ยน เนื่องจำกควำมเสี่ยงต่อกำรติดเชื้อโรคมีน้อย (Level V, Grade B) ส่วน oxygen hood ให้ทำควำมสะอำดเมื่อสังเกตว่ำมีกำรปนเปื้อน (Level V, Grade B) II. การให้การรักษาด้วยออกซิเจนที่บ้าน (Home oxygen therapy) ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A) - ผู้ป่วยที่มีภำวะพร่องออกซิเจน (SpO2 <90% ขณะหำยใจในอำกำศธรรมดำ) โดยไม่ได้มีสำเหตุจำก cyanotic heart disease - ในผู้ป่วยบำงรำยอำจไม่มีภำวะพร่องออกซิเจนขณะพัก แต่มีภำวะพร่องออกซิเจนเฉพำะเวลำที่มี กิจกรรมบำงอย่ำง เช่น ขณะหลับ ออกกำลังกำย ควรให้ออกซิเจนเฉพำะเวลำที่มีกิจกรรมดังกล่ำว วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. Oxygen delivery device ในผู้ป่วยทำรกหรือเด็กเล็กควรใช้เป็น nasal cannula (Level V, Grade B) ส่วน pulse-dose oxygen delivery conserving devices (PDOD), demand oxygen delivery systems (DODS) เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ช่วยลดกำรสิ้นเปลือง/สูญเสียก๊ำซ โดยเป็นอุปกรณ์ electronic หรือ
  • 12. 12 pneumatic ที่จ่ำยก๊ำซออกมำเป็นระยะๆแบบ bolus volume หรือ flow ตำมค่ำที่ตั้งไว้ สัมพันธ์กับช่วงเวลำ หำยใจเข้ำของผู้ป่วยในลักษณะของ time-cycled หรือ pressure trigger sensitivity หรือ trigger response time ใช้ได้กับทั้งถัง compressed gas cylinders, liquid oxygen และ oxygen concentrator ห้ำมต่อผ่ำน bubble humidifier เหมำะสำหรับใช้กับผู้ป่วยขณะพักผ่อน นอนหลับและ/หรือออกกำลังกำย 2. Oxygen source (Level V, Grade B) Compressed gas cylinder เหมำะสำหรับใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยใช้ oxygen flow ต่ำ ควรเลือกใช้ถังขนำด ใหญ่ (H cylinder) สำหรับกำรใช้งำนประจำในบ้ำน โดยจัดตั้งในสถำนที่ที่เหมำะสม วำงชิดผนัง มีที่ยึดตรึงถัง ไม่ให้เสี่ยงต่อกำรล้ม ไม่อยู่ใกล้ประกำยไฟ ควรมีถังขนำดเล็ก เช่น size D สำหรับใช้เวลำเคลื่อนย้ำยผู้ป่วย และใช้เป็นถังสำรองในกรณีที่ระบบหลักที่ใช้งำนหมดหรือขัดข้อง ถังที่ใช้สำหรับเคลื่อนย้ำยควรมีกระเป๋ ำ สะพำยหรือทำเป็นรถมีล้อสำหรับเข็นเพื่อให้สะดวกในกำรใช้งำนขณะเคลื่อนย้ำยผู้ป่วย Oxygen concentrator เหมำะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้ออกซิเจนต่อเนื่องระยะยำว Liquid oxygen system ปัจจุบันสำมำรถใช้ PDOD/ DODS ซึ่งเป็น oxygen conserving devices ใช้ ต่อกับ portable liquid oxygen system เพื่อจ่ำยก๊ำซเป็นระยะๆ ลดกำรสิ้นเปลืองก๊ำซได้ ข้อควรระวังหรือข้อห้าม เช่นเดียวกับกำรให้ออกซิเจนในโรงพยำบำล ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง เช่นเดียวกับกำรให้ออกซิเจนในโรงพยำบำล การประเมินและติดตามผู้ป่วย สำหรับผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังซึ่งจำเป็นต้องกลับไปให้ออกซิเจนต่อเนื่องที่บ้ำนจำเป็นต้องได้รับกำรประเมิน และติดตำมอำกำรจำกทีมบุคลำกรทำงกำรแพทย์ ซึ่งประกอบด้วยกุมำรแพทย์และพยำบำล ทำหน้ำที่ ประสำนงำนระหว่ำงบ้ำนกับโรงพยำบำล รวมทั้งต้องมีกำรประเมินสภำพเศรษฐกิจ สภำพบ้ำน ควำมสะดวก ในกำรเติมก๊ำซออกซิเจน ก่อนจำหน่ำยผู้ป่วยกลับบ้ำน (Level V, Grade B) 1. การเตรียมผู้ป่วย ควรประเมินผู้ป่วยก่อนกลับบ้ำนว่ำควรได้รับปริมำณออกซิเจนน้อยที่สุดเท่ำใดจึงจะประหยัดและ เพียงพอสำหรับรักษำให้ระดับออกซิเจนในเลือดของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ที่เหมำะสม โดยกำรติดตำมวัดค่ำ SpO2 ด้วยเครื่อง pulse oximeter อย่ำงต่อเนื่องในผู้ป่วยที่ให้ออกซิเจนทำง nasal cannula อย่ำงน้อย 6-12 ชั่วโมง/วันทั้งในขณะหลับ ขณะตื่น ขณะร้องไห้ ขณะดูดนม และขณะออกกำลังกำย พร้อมกับกำรปรับอัตรำ กำรไหลของออกซิเจนเพื่อให้ได้ค่ำ SpO2 ที่เหมำะสม (Level V, grade B) โดยควรให้ผู้ป่วยมีค่ำ SpO2 มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 92 % ตลอดเวลำ โดยเฉพำะกลุ่มทำรกเกิดก่อนกำหนดควรรักษำระดับ SpO2 ที่ระหว่ำง 92-94 % ซึ่งมีกำรศึกษำพบว่ำผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอัตรำกำรเจริญเติบโตและพัฒนำกำรทำงด้ำนร่ำงกำยและ สติปัญญำไม่แตกต่ำงจำกกลุ่มเด็กที่มีค่ำระดับ SpO2 มำกกว่ำนี้และมีภำวะแทรกซ้อนจำกกำรให้ออกซิเจน น้อยกว่ำ (Level I, grade A)
  • 13. 13 2. การเตรียมครอบครัวและผู้ดูแลผู้ป่วย ผู้ดูแลผู้ป่วยควรได้รับกำรฝึกฝนทักษะกำรใช้และดูแลเครื่องผลิตออกซิเจนและถังออกซิเจน วิธีกำรต่อ เครื่องทำควำมชื้น, nasal cannula และกำรปรับ flow meter รวมถึงกำรทำควำมสะอำดอุปกรณ์ต่ำงๆ สำยต่อ และ nasal cannula นอกจำกนี้ผู้ดูแลต้องฝึกทักษะกำรสังเกตเมื่ออุปกรณ์เกิดขัดข้องในกรณีต่ำงๆที่สำคัญ ก่อนกลับบ้ำน เช่น สำย nasal cannula หลุดหรืออุดตัน, ถังออกซิเจนหมด หรือวำล์วปิด ผู้ดูแลจำเป็นจะต้อง มีควำมสำมำรถในกำรประเมินอำกำรของผู้ป่วย โดยเฉพำะกำรสังเกตลักษณะสีผิวที่แสดงถึงภำวะกำรขำด ออกซิเจน และสำมำรถปรับออกซิเจนตำมควำมเหมำะสมกับสภำวะที่เด็กต้องกำรได้ (Level V, Grade B) ทีมบุคลำกรทำงแพทย์ควรตรวจสภำพบ้ำนและอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งำนก่อนส่งผู้ป่วยกลับบ้ำน ผู้ดูแล จะต้องมีหมำยเลขโทรศัพท์สำหรับติดต่อกับทีมบุคลำกรทำงกำรแพทย์ได้ตลอดเวลำหำกมีปัญหำขัดข้อง (Level V, Grade B) 3. การติดตามผู้ป่วย ภำยหลังจำกจำหน่ำยผู้ป่วยกลับบ้ำนแล้ว ทีมบุคลำกรทำงกำรแพทย์ควรมีกำรติดตำมประเมินผลหลัง กลับบ้ำนโดยกำรเยี่ยมบ้ำนและกำรติดต่อทำงโทรศัพท์ แพทย์ควรนัดผู้ป่วยกลับมำตรวจที่โรงพยำบำลตำม ควำมจำเป็น เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีควำมมั่นใจในกำรดูแลผู้ป่วยมำกขึ้น และสำมำรถขอคำแนะนำ ในกำรดูแลผู้ป่วยได้สะดวกขึ้น (Level V, Grade B) 4. การลดออกซิเจน เมื่อผู้ป่วยอำกำรดีขึ้น สำมำรถลดปริมำณกำรให้ออกซิเจนได้ โดยกำรติดตำมระดับ SpO2 และอัตรำ กำรเต้นของหัวใจ ให้ระดับ SpO2 ≥ 92% ตลอดเวลำและอัตรำกำรเต้นของหัวใจไม่เร็วขึ้นขณะลดออกซิเจน (Level V, Grade A) โดยทั่วไป จะลดปริมำณออกซิเจนที่ให้แก่ผู้ป่วยในเวลำกลำงวันก่อน ถ้ำผู้ป่วยอำกำรดี คงที่จึงลดปริมำณออกซิเจนที่ให้ขณะหลับ ควรติดตำมค่ำ SpO2 ขณะหลับอย่ำงต่อเนื่องตลอดคืน เพื่อให้ มั่นใจว่ำสำมำรถหยุดกำรใช้ออกซิเจนขณะหลับได้จริง (Level IV, Grade B) ถ้ำผู้ป่วยมีน้ำหนักลดลงโดยหำ สำเหตุอื่นไม่ได้ ควรพิจำรณำให้ออกซิเจนกลับเข้ำไปใหม่ (Level IV, Grade C) การดูแลรักษาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง (Level V, Grade B) - ผู้ทำหน้ำที่ดูแลผู้ป่วยที่บ้ำนต้องได้รับคำแนะนำและฝึกฝนกำรใช้อุปกรณ์ จนมีควำมรู้และทักษะ สำมำรถปฏิบัติได้ถูกต้อง และมีควำมมั่นใจในกำรใช้ก่อนที่จะให้ผู้ป่วยกลับบ้ำน - มีคู่มือกำรใช้งำนและบำรุงรักษำอุปกรณ์สำหรับ home oxygen therapy - ตรวจสอบควำมพร้อมของอุปกรณ์ทุกชิ้นอย่ำงน้อยวันละ 1 ครั้ง โดยตรวจสอบกำรทำงำนของ อุปกรณ์, flow rate ของก๊ำซออกซิเจน, ปริมำณก๊ำซที่เหลือในถัง compressed gas cylinders หรือ liquid oxygen system ทั้งถังที่ใช้งำนและถังสำรอง - oxygen source เช่น oxygen concentrator, liquid oxygen system ควรได้รับบริกำรบำรุงรักษำ ตรวจสอบกำรทำงำนของเครื่องจำกบริษัทที่จำหน่ำยตำมวงรอบอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง
  • 14. 14 เอกสารอ้างอิง 1. American Association for Respiratory Care. AARC Clinical practice guideline: selection of an oxygen delivery device for neonatal and pediatric patients-2002 Revision & Update. Respir Care 2002; 47:707-16. 2. American Association for Respiratory Care. AARC clinical practice guideline: oxygen therapy for adults in the acute care facility-2002 Revision & Update. Respir Care 2002; 47:717-20. 3. American Association for Respiratory Care. AARC clinical practice guideline: oxygen therapy in the home or alternate site health care facility-2007 Revision & Update. Respir Care 2007; 52:1063-8. 4. Balfour-Lynn IM, Primhak R A, Shaw B N J. Home oxygen for children: who, how and when? Thorax 2005; 60:76-81. 5. Fitzgerald DA, Massie RJH, Nixon GM, et al. Infant with chronic neonatal lung disease: recommendations for the use of home oxygen therapy. MJA 2008; 189:578-82. 6. Balfour-Lynn IM. Domiciliary oxygen for children. Pediatr Clin N Am 2009; 56:275-96. 7. Askie LM, Henderson-Smart DJ, Irwig L, et al. Oxygen-saturation targets and outcomes in extremely preterm infants. N Engl J Med 2003; 349:959-67. 8. Anonymous. Supplemental therapeutic oxygen for prethreshold retinopathy of prematurity (STOP-ROP), a randomized, controlled trial. I: primary outcomes. Pediatrics 2000:105:295-310.
  • 15. 15 แนวทางปฏิบัติการให้ความชื้นและยาพ่นฝอยละออง (Humidity and aerosol therapy) I. การบาบัดรักษาโดยการให้ความชื้น (Humidity therapy) ขณะหำยใจเข้ำทำงเดินหำยใจส่วนต้นมีหน้ำที่สำคัญในกำรกรองอำกำศที่หำยใจเข้ำไป ทำให้อำกำศอุ่น และชื้นขึ้นก่อนที่จะเข้ำไปถึงปอด เพื่อรักษำสมดุลในกำรทำงำนของเซลล์ในทำงเดินหำยใจ เมื่อใดร่ำงกำย สูญเสียควำมสำมำรถดังกล่ำว อำจส่งผลกระทบต่อกำรทำงำนของระบบหำยใจได้ เช่น กำรโบกพัดของ cilia (mucociliary clearance) เสียไป เสมหะเหนียวข้นก่อให้เกิดกำรอุดกั้นของทำงเดินหำยใจจนเกิดปอดแฟบและ ปอดอักเสบได้ ดังนั้น กำรให้ควำมชื้น (humidity) จึงเป็นพื้นฐำนสำคัญของกำรดูแลและบำบัดรักษำผู้ป่วยทำง ระบบหำยใจ ผู้ที่ดูแลรักษำผู้ป่วย จึงควรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในเรื่องนี้เพื่อให้กำรดูแลผู้ป่วยเป็นไปอย่ำงมี ประสิทธิภำพ ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A) - ผู้ป่วยที่มีปัญหำทำงระบบหำยใจที่ต้องได้รับกำรรักษำด้วยออกซิเจนทำงท่อช่วยหำยใจหรือใช้ เครื่องช่วยหำยใจ - ผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียวข้นหรือจำเป็นต้องได้รับกำรระบำยเสมหะ เช่น ผู้ป่วยโรคหลอดลมโป่งพอง (bronchiectasis) - ผู้ป่วยที่ต้องกำรเก็บเสมหะเพื่อส่งตรวจทำงห้องปฏิบัติกำร วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้ อุปกรณ์ทำควำมชื้น (humidifier) แบ่งเป็น 2 ประเภทตำมลักษณะกำรทำงำน ได้แก่ - Active humidifier - Passive humidifier หรือ heated and moisture exchanger (HME หรือ artificial nose) Active humidifier เป็นอุปกรณ์ที่ให้ควำมชื้นเข้ำไปในก๊ำซที่ให้เเก่ผู้ป่วย เช่น - อุปกรณ์ที่ทำควำมชื้นโดยให้ก๊ำซปุดผ่ำนใต้น้ำ (bubble humidifier) (ภำพที่1) ภำพที่ 1 แสดงกำรทำงำนของ bubble humidifier - อุปกรณ์ที่ทำควำมชื้นโดยให้ก๊ำซผ่ำนผิวน้ำ (pass-over or blow-by humidifier) (ภำพที่ 2)
  • 16. 16 ภำพที่ 2 แสดงหลักกำรทำงำนของ pass-over humidifier - อุปกรณ์ทำควำมชื้นชนิด Wick (ภำพที่3) เพิ่มประสิทธิภำพกำรทำงำนด้วยกำรเพิ่มพื้นผิว ของน้ำให้สัมผัสก๊ำซได้มำกขึ้น ภำพที่ 3 แสดงกำรทำงำนของ humidifier ชนิด Wick - อุปกรณ์ที่ให้ควำมชื้นในรูปฝอยละออง (nebulizer) (ภำพที่4) หลักกำรคือทำให้น้ำอยู่ในรูป ของของเหลวที่มีอนุภำคขนำดเล็กเป็นฝอยละออง (aerosol) แขวนลอยในอำกำศหรือก๊ำซ ผ่ำนเข้ำไปในทำงเดินหำยใจและปอด ให้ควำมชื้นสูง โดยอำศัยหลัก Bernoulli’s principle ตัวอย่ำงเช่น Puritan® (ภำพที่ 5) ซึ่งสำมำรถเป็นได้ทั้ง bubble humidifier และ nebulizer ใช้กับอุปกรณ์ที่ต้องให้ก๊ำซในปริมำณมำกหรือมีอัตรำกำรไหลของก๊ำซ (gas flow) สูง เช่น hood หรือ box
  • 17. 17 ภำพที่ 4 แสดงกำรทำงำนของ nebulizer ภำพที่ 5 เครื่อง Puritan ที่เป็นได้ทั้ง bubble humidifier และ nebulizer active humidifier แบ่งเป็น 2 ชนิดตำมลักษณะกำรทำงำน คือ ชนิดที่ไม่ทำควำมอุ่นชื้น (unheated) และชนิดที่ให้ควำมอุ่นชื้น (heated) ชนิดที่ไม่ทำควำมอุ่นชื้น (Unheated humidifier) ปัจจุบันนิยมใช้ชนิด bubble ในกำรให้ออกซิเจนที่ให้อัตรำกำรไหลของก๊ำซขนำดต่ำ เช่น cannula, simple mask หรือ mask with reservoir bag กำรให้ควำมชื้นชนิดนี้ช่วยให้ก๊ำซที่แห้งมี ควำมชื้นสัมพัทธ์เพิ่มขึ้นประมำณร้อยละ 40 ของควำมชื้นสัมพัทธ์ที่อุณหภูมิร่ำงกำย ปริมำณควำมชื้นที่ เครื่องสำมำรถทำได้ขึ้นกับอุณหภูมิของบรรยำกำศ อัตรำกำรไหลของก๊ำซ ขนำดของลมปุดและปริมำณ น้ำในเครื่องทำควำมชื้น ชนิดที่ทำควำมอุ่นชื้น (Heated humidifier)
  • 18. 18 หลักกำรคือ ทำให้ก๊ำซอิ่มตัวด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิสูงกว่ำอุณหภูมิห้อง มักทำควำมอุ่นชื้นของก๊ำซ ได้ระหว่ำง 30ซ.-34ซ. และให้ควำมชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 100 ที่ทำงเดินหำยใจของผู้ป่วย อุปกรณ์ส่วน ใหญ่จะมีระบบ servo-controlled เพื่อรักษำอุณหภูมิของน้ำให้ได้ตำมระดับที่ตั้งไว้ heated humidifiers ที่นิยมใช้คือ ชนิด Cascade และ Cascade II humidifiers (ภำพที่ 6) ซึ่งมักใช้กับเครื่องช่วยหำยใจ ภำพที่ 6 แสดงกำรทำงำนของ humidifier ชนิด cascade diffusion Passive humidifier หรือ Heated and moisture exchanger (HME หรือ artificial nose) เป็นอุปกรณ์ที่กักเก็บควำมอุ่นชื้นจำกลมหำยใจออกของผู้ป่วยและปล่อยควำมอุ่นชื้นกลับคืนให้ ผู้ป่วยเมื่อหำยใจเข้ำผ่ำนอุปกรณ์ชนิดนี้จึงมักเรียกกันว่ำ จมูกเทียม (ภำพที่ 7) HME มีควำมสำมำรถใน กำรรักษำควำมอุ่นชื้นได้เพียงระยะสั้น (ไม่เกิน 72-96 ชั่วโมง) หรืออำจใช้เป็นช่วงๆ ประมำณ 16-20 ชั่วโมงต่อวันในผู้ป่วยที่ต้องใช้เป็นระยะเวลำนำน (Level V, Grade C) HME มี 3 ชนิด ได้แก่ - Condenser humidifier - Hygroscopic condenser humidifier - Hydrophobic condenser humidifier โดยชนิด hydrophobic condenser humidifier สำมำรถให้ควำมชื้นได้สูงสุดคือประมำณร้อยละ 70 และสำมำรถกรองแบคทีเรียได้ด้วย ภำพที่ 7 แสดงกำรทำงำนของ heated moisture exchangers (HMEs)
  • 19. 19 ข้อควรระวังหรือข้อห้ามใช้ (Level V, Grade A) ห้ำมใช้ HME ในผู้ป่วยที่มีภำวะต่อไปนี้ - เสมหะเหนียวข้นหรือมีเลือดปน - expired tidal volume น้อยกว่ำร้อยละ 70 ของ inspired tidal volume (เช่น ผู้ป่วยที่ใส่ท่อ หลอดคอขนำดเล็กหรือไม่มี cuff) - ได้รับกำรรักษำด้วยยำพ่นฝอยละออง (aerosol therapy) ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียง ภำวะแทรกซ้อนหรืออันตรำยจำกกำรใช้ heated humidifier ได้แก่ (Level IV) - อุณหภูมิร่ำงกำยต่ำหรือสูงเกินไป (hypothermia/hyperthermia) - thermal injury ในทำงเดินหำยใจจำกกำรตั้งอุณหภูมิสูงไป - ควำมอุ่นชื้นน้อยเกินไป ทำให้เสมหะแห้งเหนียวและอุดกั้นทำงเดินหำยใจ - hypoventilation และ/หรือมีลมคั่งค้ำงในถุงลม (alveolar gas trapping) เนื่องจำกเสมหะ อุดกั้นในหลอดลม - ผู้ป่วยต้องใช้แรงในกำรหำยใจมำกขึ้น เนื่องจำกมีเสมหะอุดกั้นในหลอดลม ทำให้แรง ต้ำนทำนในหลอดลมสูงขึ้น - แรงดันในทำงเดินหำยใจ (airway pressure) สูงขึ้น เนื่องจำกควำมชื้นกลั่นตัวเป็นน้ำและ ค้ำงอยู่ในทำงเดินหำยใจของผู้ป่วย - ผู้ป่วยหำยใจไม่สัมพันธ์กับเครื่องช่วยหำยใจ หรือทำให้เครื่องช่วยหำยใจทำงำนไม่เหมำะสม จำกกำรที่มีน้ำกลั่นตัวและค้ำงอยู่ใน circuit ของเครื่อง - เพิ่มควำมเสี่ยงต่อกำรติดเชื้อ (nosocomial infection) จำกกำรปนเปื้อนของน้ำที่กลั่นตัวเป็น หยดน้ำอยู่ใน circuit ของเครื่องและไหลย้อนกลับเข้ำไปในท่อช่วยหำยใจของผู้ป่วยหรือ ปนเปื้อนผ่ำนฝอยละอองไอน้ำที่มำจำกเครื่องทำควำมชื้น - ไฟฟ้ ำลัดวงจร - สำยวงจรหลอมละลำย ภำวะแทรกซ้อนหรืออันตรำยจำกกำรใช้ HME ได้แก่ (Level IV) - alveolar hypoventilation จำกเสมหะอุดติดที่ HME ทำให้ทำงเดินหำยใจอุดกั้นและมี air trapping เกิดขึ้น นอกจำกนี้ยังอำจเกิดจำก dead space ที่เพิ่มขึ้นจำกตัวอุปกรณ์เอง - ผู้ป่วยอำจต้องใช้แรงในกำรหำยใจมำกขึ้นเนื่องจำกแรงต้ำนทำนในหลอดลมสูงขึ้นจำก เสมหะอุดกั้นในหลอดลม - ในกรณีที่ใส่ HME เข้ำไปในวงจรเครื่องช่วยหำยใจจะทำให้เพิ่มแรงต้ำนทำนในวงจร ดังนั้น หำกเกิด disconnection ของเครื่องช่วยหำยใจ เครื่องอำจจะไม่ส่งสัญญำณร้องเตือน (alarm)
  • 20. 20 การประเมินและติดตามผู้ป่วย (Level V, Grade A) ควรมีกำรติดตำมกำรทำงำนของอุปกรณ์อย่ำงสม่ำเสมอระหว่ำงกำรใช้งำน อุปกรณ์ชนิด bubble humidifier ต้องสังเกตว่ำมีลมปุดใต้น้ำตลอดเวลำ กรณีที่ไม่มีลมปุดใต้น้ำ อำจเกิด จำกเกลียวที่ต่อระหว่ำงท่อนำก๊ำซกับ flow meter ไม่แน่นสนิทดี หรือมีอุปกรณ์บำงส่วนอุดตัน อุปกรณ์ชนิด heated humidifier ควรมีกำรตรวจสอบดังนี้ - กำรตั้งระดับควำมอุ่นชื้น (temperature setting หรือ numeric dial setting) ควรตั้งค่ำให้ ก๊ำซที่หำยใจเข้ำมีอุณหภูมิ 33±2 ซ. และควำมชื้นสมบูรณ์ไม่น้อยกว่ำ 30 มก./ลิตร - อุณหภูมิของก๊ำซที่หำยใจเข้ำ ไม่ควรเกิน 37ซ. ควรเฝ้ ำสังเกตเป็นระยะ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง หำกใช้กับทำรกที่อยู่ใน incubator หรือ radiant warmer และใช้ heated wire กับ circuit ของเครื่องช่วยหำยใจ ควรวำง temperature probe ให้อยู่นอก incubator หรือห่ำงจำก radiant warmer เพื่อป้ องกันกำรกลั่นตัวเป็นหยดน้ำใน circuit ของเครื่องช่วยหำยใจ - กำรตั้งค่ำเตือน (alarm setting) ควรตั้งค่ำสูงสุดไม่เกิน 37ซ. และค่ำต่ำสุดไม่น้อยกว่ำ 30 ซ. - ควรหมั่นตรวจสอบระดับน้ำใน humidifier เป็นระยะๆ ไม่ให้น้ำแห้ง เพรำะจะทำให้ผู้ป่วยขำด ควำมชื้น และก๊ำซที่ผู้ป่วยได้อำจร้อนเกินไปจนเกิดอันตรำย และทำให้เครื่องทำควำมชื้น เสียหำยได้ - ติดตำมและบันทึกปริมำณและลักษณะเสมหะของผู้ป่วย เพื่อช่วยในกำรพิจำรณำปรับเพิ่ม ควำมอุ่นชื้นหำกมีเสมหะเหนียวแห้ง อุปกรณ์ชนิด HME ควรตรวจสอบว่ำมีกำรอุดตันของอุปกรณ์จำกเสมหะหรือไม่ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อ พบว่ำ peak airway pressure สูงขึ้น และผู้ป่วยต้องใช้แรงในกำรหำยใจมำกขึ้น หำกเสมหะเหนียวแห้งมำก เนื่องจำกควำมชื้นไม่พออำจต้องพิจำรณำใช้ heated humidifier แทน การดูแลรักษาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ควรศึกษำวิธีใช้และใช้อุปกรณ์อย่ำงถูกต้อง บำรุงรักษำเครื่องมือให้สำมำรถใช้งำนได้ดีอยู่เสมอ เพื่อให้ เกิดควำมปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้ป่วย รวมทั้งควรมีกำรควบคุมกำรติดเชื้อ (infection control) อย่ำง เหมำะสม ดังต่อไปนี้ - อุปกรณ์ทำควำมชื้นชนิด reusable ควรทำให้ปลอดเชื้อโดยวิธีอบก๊ำซ ethylene oxide ภำยหลังจำกล้ำงด้วยน้ำสบู่และน้ำประปำและผึ่งให้แห้งแล้ว (Level V, grade B) มี กำรศึกษำพบว่ำ กำรเปลี่ยน circuit บ่อยอำจเพิ่มอัตรำกำรติดเชื้อ ดังนั้น จึงแนะนำให้ เปลี่ยนเมื่อสังเกตว่ำอุปกรณ์มีกำรปนเปื้อน (Level I, Grade B) น้ำที่ใช้เติมในระบบควรเป็น sterile water และเติมแบบวิธีระบบปิด (closed system) เพื่อลดโอกำสเสี่ยงต่อกำร ปนเปื้อนเชื้อโรค (Level V, Grade B) อุปกรณ์ทำควำมชื้นชนิด unheated humidifier เมื่อ ระดับน้ำพร่องควรเทน้ำที่เหลือทิ้งก่อนแล้วจึงเติม sterile water ลงไปจนถึงระดับที่พอเหมำะ
  • 21. 21 และควรเปลี่ยนชุดอุปกรณ์ทุก 24 ชั่วโมง และทำให้ปลอดเชื้อด้วยวิธีอบก๊ำซ ethylene oxide (Level V, Grade B) - หยดน้ำที่กลั่นตัวรวมกันใน circuit ของเครื่องช่วยหำยใจ อำจเป็นแหล่งเพำะเชื้อ ดังนั้น ควร กำจัดทิ้งโดยเทออกนอก circuit ห้ำมเทน้ำที่ค้ำงใน circuit กลับคืนเข้ำสู่อุปกรณ์ทำควำมชื้น (Level V, Grade A) - ควรใช้แนวทำงกำรป้ องกันกำรติดเชื้อแบบ strict universal precaution (Level V, Grade B) II. การให้ยาพ่นฝอยละออง (Aerosol therapy) เป็นกำรรักษำโดยกำรให้ฝอยละอองน้ำหรือยำเข้ำไปในทำงเดินหำยใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มควำม ชุ่มชื้นในระบบหำยใจ เพิ่มประสิทธิภำพกำรทำงำนของ mucociliary escalator และเพื่อบริหำรยำทำงระบบ หำยใจ มีหลำยวิธี ได้แก่ jet nebulizer, continuous nebulizer, ultrasonic nebulizer, pressurized metered- dose inhaler (p-MDI) และ dry powder inhaler (DPI) ข้อบ่งชี้ (Level V, Grade A) กำรให้ยำพ่นฝอยละอองมีที่ใช้ในผู้ป่วยที่มีภำวะต่อไปนี้ - เสมหะเหนียวข้น ไม่สำมำรถไอเอำเสมหะออกมำได้เองอย่ำงมีประสิทธิภำพ - ต้องได้รับกำรรักษำด้วยยำที่บริหำรทำงระบบหำยใจ - ต้องกำรเก็บเสมหะเพื่อส่งตรวจทำงห้องปฏิบัติกำร วิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. Nebulization มักเป็นกำรบริหำรยำในผู้ป่วยที่มีอำกำรแบบเฉียบพลัน และไม่สำมำรถบริหำรยำด้วย p-MDI หรือ DPI ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ยำที่ใช้กำรบริหำรด้วยวิธีนี้ส่วนใหญ่มักเป็นยำขยำยหลอดลมชนิด liquid solution เช่น salbutamol, terbutaline ซึ่งต้องมีอุปกรณ์เสริม ดังนี้ Jet nebulizer เป็นกำรบริหำรยำโดยอำศัยหลักกำรของ jet อุปกรณ์ที่ใช้คือ กระเปำะใส่ยำที่ต่อสำยไปยังท่อนำก๊ำซ (อำจเป็นถังออกซิเจน หรือ air compressor) และอุปกรณ์พ่นยำ, mouthpiece หรือ face mask หลักกำร คือ ผ่ำนก๊ำซที่มีแรงดันสูงให้ไหลผ่ำนท่อเล็กๆ ในกระเปำะใส่ยำ ทำให้เกิดแรงดูดที่ปลำยท่อ ก๊ำซ ดึงของเหลวที่อยู่รอบๆ capillary tube ขึ้นมำ ของเหลวที่ถูกดูดขึ้นมำจะปะทะกับก๊ำซแรงดันสูงนั้น ทำให้ แตกกระจำยออกเป็นฝอยละอองแขวนลอยในก๊ำซ โดยแผ่นกั้นที่เรียกว่ำ baffle จะกั้นฝอยละอองขนำดใหญ่ให้ ตกลงมำในกระเปำะใหม่ (ภำพที่ 8) ผู้ป่วยจะสูดฝอยละอองที่มีขนำดเล็กประมำณ 1-5 ไมครอนเข้ำสู่ปอด กระเปำะใส่ยำจะเป็นชนิด small volume ซึ่งจะมีสำรน้ำตกค้ำงในกระเปำะ (dead volume) ประมำณ 0.5-1 มล. ทำให้ผู้ป่วยอำจได้รับยำไม่เพียงพอ ดังนั้น จึงแนะนำให้มีสำรน้ำในกระเปำะประมำณ 2.5-4 มล. เปิดอัตรำ ไหลของก๊ำซประมำณ 6-8 ลิตรต่อนำที จะได้ปริมำณฝอยละอองที่ได้ผลในกำรรักษำ (Level IV, Grade A)
  • 22. 22 แนะนำให้ผู้ป่วยสูดยำผ่ำนทำง mouthpiece เพื่อให้ยำเข้ำสู่ปอดได้มำกขึ้น (Level IV, Grade A) ในเด็กที่อำยุ น้อยกว่ำ 4 ปีหรือเด็กที่ไม่สำมำรถใช้ mouthpiece ได้ ให้ใช้ aerosol face mask ที่มีขนำดพอเหมำะและ กระชับกับใบหน้ำของผู้ป่วย (Level V, Grade B) ภำพที่ 8 แสดงกำรทำงำนของ jet nebulizer Continuous nebulization เป็นวิธีกำรพ่นฝอยละอองยำอย่ำงต่อเนื่อง สำหรับรักษำโรคหืดเฉียบพลันแบบรุนแรงซึ่งจำเป็นต้อง ได้รับยำขยำยหลอดลมอย่ำงต่อเนื่อง โดยใช้อุปกรณ์พิเศษที่สำมำรถเติมยำและพ่นฝอยละอองยำอย่ำงต่อเนื่องได้ อุปกรณ์ที่นิยมใช้เรียกว่ำ HEART nebulizer ซึ่งย่อมำจำก High-output Extended Aerosol Respiratory Therapy มีปริมำตรสำหรับใส่ยำ 240 มล. วิธีกำรต่อ HEART nebulizer กับ face mask และ oxygen flow meter ดังแสดงในภำพที่ 9 กำรพ่นยำด้วยวิธีนี้ใช้เฉพำะในผู้ป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำในโรงพยำบำล (Level V, Grade A) ภำพที่ 9 แสดงกำรต่อ HEART nebulizer (ลูกศรชี้) กับ face mask และ oxygen flow meter
  • 23. 23 กำรเตรียมยำสำหรับกำรพ่นฝอยละอองยำอย่ำงต่อเนื่องทำโดยใช้ salbutamol respiratory solution (0.5%) กับ normal saline solution ผสมตำมสัดส่วนต่ำงๆ (ตำรำงที่ 1) มักเริ่มจำกกำรให้ยำขนำด 0.5 มก./กก./ ชม. แล้วค่อยๆปรับขนำดเพิ่มขึ้นตำมควำมรุนแรงของอำกำรโรคหืด ปริมำณยำมำกที่สุดไม่ควรเกิน 60 มก./ชม. ตำรำงที่ 1 กำรเตรียมยำ salbutamol ใน HEART nebulizer จำกตำรำงจะเห็นว่ำถ้ำเปิดอัตรำกำรไหลของออกซิเจนเข้ำไปในกระเปำะ 10 ลิตร/นำที จะสำมำรถผลิต ละอองยำ (nebulizer output) ได้ในปริมำณ 30 มล./ชม. แต่ถ้ำควำมเร็วของลมหำยใจเข้ำของผู้ป่วยเร็วกว่ำ 10 ลิตร/นำที ต้องเพิ่มอัตรำกำรไหลของออกซิเจนเป็น 15 ลิตร/นำที ซึ่งจะผลิตละอองยำได้ในปริมำณมำกขึ้นคือ 50 มล./ชม. แต่ต้องเติมยำบ่อยขึ้นด้วย ในเด็กเล็กที่ไม่ยอมใส่ face mask ต้องใช้วิธีพ่นยำเข้ำไปใน oxygen box แทน และเปิดอัตรำกำรไหลของออกซิเจนเป็น 15 ลิตร/นำที (Level V, Grade A) Ultrasonic nebulizer เป็นอุปกรณ์พ่นยำที่ใช้หลักกำรของกำรเปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำให้เป็นคลื่นเสียงควำมถี่สูง ไปสั่น สะเทือนของเหลวที่ใส่อยู่ในภำชนะที่วำงอยู่ส่วนบนของเครื่อง ทำให้ของเหลวนั้นแตกเป็นฝอยละอองขนำด ประมำณ 1-6 ไมครอน (ภำพที่ 10) สำมำรถบริหำรยำได้อย่ำงรวดเร็ว ได้ปริมำณยำมำกกว่ำกำรใช้ jet nebulizer ข้อเสียของ ultrasonic nebulizer คือ คลื่นเสียงควำมถี่สูงอำจทำให้เกิดควำมร้อนและโครงสร้ำงยำ เปลี่ยนแปลง ทำให้ประสิทธิภำพของยำลดลง นอกจำกนี้ยำที่อยู่ในรูป suspension เช่น steroid suspension หรือยำที่มีควำมหนืดมำก ปริมำณฝอยละอองยำที่เกิดขึ้นจะน้อยลง O2 Flow Rate  Neb Output 10 ลิตร/นำที  30 มล./ชม. 15 ลิตร/นำที  50 มล./ชม. Desired salbutamol dose (มก./ชม.) Salbutamol 0.5% solution (มล.) NSS (มล.) 10 20 30 40 50 60 2 4 6 8 10 12 28 26 24 22 20 18 10 20 30 40 50 60 2 4 6 8 10 12 48 46 44 42 40 38
  • 24. 24 ภำพที่ 10 แสดงกำรทำงำนของ ultrasonic nebulizer 2. Pressurized metered-dose inhaler Pressurized metered-dose inhaler (p-MDI) เป็นวิธีกำรบริหำรยำชนิดฝอยละออง ได้แก่ ยำ ขยำยหลอดลม และยำ corticosteroid (ภำพที่ 11) โดยอนุภำคยำแขวนลอยหรือละลำยอยู่ในสำร propellent ซึ่งปัจจุบันใช้สำร hydrofluoroalkane (HFA) เป็น propellent ข้อดีของวิธีนี้คือ อุปกรณ์มีขนำดเล็ก พกพำ สะดวก รำคำถูกกว่ำกำรใช้ยำพ่นชนิดอื่น และปริมำณยำของกำรกดยำแต่ละครั้งจะเท่ำกัน ตัวอย่ำงยำที่ใช้กับ อุปกรณ์ชนิดนี้เช่น fluticasone, budesonide, salbutamol เป็นต้น ภำพที่ 11 แสดงโครงสร้ำงภำยในของ pressurized-metered dose inhaler (p-MDI) ข้อแนะนาในการใช้ p-MDI ในเด็ก กำรบริหำรยำโดยใช้ p-MDI ทำได้ 2 วิธี คือ สูดยำจำก p-MDI โดยตรงและสูดยำผ่ำน spacer มี ข้อแนะนำกำรใช้ในเด็กดังนี้ - ให้ใช้โดยวิธีสูดยำผ่ำน spacer เสมอ เนื่องจำกเด็กส่วนใหญ่ไม่สำมำรถกำหนดจังหวะกำร หำยใจให้สัมพันธ์กับกำรกดยำพ่นได้ดี กำรสูดยำผ่ำน spacer จะช่วยให้ยำเข้ำสู่ทำงเดิน
  • 25. 25 หำยใจส่วนล่ำงและปอดได้ในปริมำณสูง ลดกำรตกค้ำงของยำในช่องปำก (Level II, Grade A) - ในเด็กโตที่สำมำรถกำหนดจังหวะกำรหำยใจให้สัมพันธ์กับกำรกดยำพ่นได้ดี อำจสูดยำจำก p-MDI โดยตรงโดยไม่ต้องใช้ spacer (Level II, Grade C) แต่ควรใช้กับยำขยำยหลอดลม เท่ำนั้น ไม่ใช้กับยำในกลุ่ม corticosteroid วิธีการใช้ p-MDI โดยไม่ใช้ spacer (Level V, Grade A) 1. เปิดฝำครอบหลอดยำ 2. เขย่ำหลอดยำในแนวดิ่ง 3-4 ครั้ง ให้ยำผสมกันดี 3. หำยใจออก (ห้ำมหำยใจออกเข้ำไปในหลอดยำ) 4. ใช้ปำกอม mouthpiece ของหลอดยำ ปิดปำกให้สนิท โดยให้ mouthpiece อยู่ระหว่ำง ฟัน (closed mouth technique) หรืออ้ำปำกและถือหลอดยำให้ mouthpiece ห่ำงจำก ปำกประมำณ 4 ซม. (opened mouth technique) ซึ่งทั้ง 2 วิธีนี้ได้ผลในกำรรักษำไม่ แตกต่ำงกัน หำกทำอย่ำงถูกวิธี (Level II, Grade A) (ภำพที่ 12) 5. หำยใจเข้ำทำงปำกพร้อมกดหลอดยำ สูดหำยใจเข้ำช้ำๆทำงปำกจนลึกสุด 6. นำหลอดยำออกจำกปำก กลั้นหำยใจ 5-10 วินำที แล้วจึงหำยใจออกทำงจมูก ภำพที่ 12 แสดงวิธีพ่นยำแบบ closed mouth (ภำพซ้ำย) และ opened mouth technique (ภำพขวำ) วิธีการใช้ p-MDI ร่วมกับ spacer มีข้อควรทรำบเกี่ยวกับ spacer ดังนี้ - spacer ที่ใช้ควรมีปริมำตร 150-750 มิลลิลิตร เด็กอำยุ 2-3 ปีควรใช้ spacer ชนิดที่มี ปริมำตรน้อย เช่น Babyhaler® , Aerochamber® , ACE® เป็นต้น - ในเด็กที่สำมำรถหำยใจทำงปำกได้และร่วมมือในกำรพ่นยำดี ให้เลือกใช้ spacer ต่อกับ mouthpiece ซึ่งจะทำให้ปริมำณยำเข้ำสู่ทำงเดินหำยใจส่วนล่ำงได้ดีและลดกำรตกค้ำงของ
  • 26. 26 ฝอยละอองยำในจมูก สำหรับเด็กเล็กอำยุน้อยกว่ำ 4 ปี หรือเด็กที่ไม่ร่วมมือให้ใช้ชนิด facemask (Level V, Grade A) - spacer บำงอย่ำงใช้ได้กับหลอดยำบำงชนิดเท่ำนั้น ดังนั้น ก่อนสั่งยำและ spacer ให้ผู้ป่วย ควรทดลองต่อหลอดยำเข้ำกับ spacer ดูก่อน - spacer ชนิดพลาสติกจะมีประจุไฟฟ้ าที่ผิวด้านใน ทาให้ละอองยาไปเกาะติดได้ง่าย การศึกษาเกี่ยวกับการเคลือบ (priming) spacer โดยการกดยาพ่น 15 - 20 puff เข้าไปใน spacer พบว่าช่วยให้ยาเข้าสู่ปอดและหลอดลมได้มากขึ้น (Level I, Grade C) แต่ในทาง ปฏิบัติไม่ได้แนะนาให้ทาเช่นนี้เนื่องจากเป็นการสิ้นเปลืองมาก ข้อแนะนาของคณะ ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้พ่นยา 2-4 puff เพื่อเคลือบ spacer (Level V, Grade B) สาหรับการ ใช้ยาครั้งต่อๆไป ไม่จาเป็นต้องพ่นยาเพื่อเคลือบ spacer อีก นอกจากนี้กำรทำควำมสะอำด ด้ำนใน spacer โดยกำรล้ำงด้วยน้ำยำล้ำงจำนที่เจือจำง (1:250 ถึง 1: 500) แล้วปล่อยให้ แห้งโดยไม่ต้องล้ำงน้ำเปล่ำซ้ำ จะช่วยลดประจุไฟฟ้ ำ และเมื่อนำมำใช้อีกก็ไม่มีควำม จำเป็นต้องพ่นยำเพื่อเคลือบ spacer (Level II, Grade A) ไม่แนะนำให้ใช้ผ้ำเช็ดทำควำม สะอำด เพรำะจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้ ำสถิตอีก (Level V, Grade A) สำหรับ spacer ที่ทำ ด้วยโลหะ จะไม่มีปัญหำเรื่องประจุไฟฟ้ ำและกำรเกำะติดของละอองยำที่ spacer - spacer ชนิดที่ทำขึ้นใช้เอง ซึ่งจะไม่มี one-way valve เช่น ขวดพลำสติกขนำด 500 มิลลิลิตร อำจพิจำรณำนำมำใช้ได้ เนื่องจำกมีกำรศึกษำพบว่ำสำมำรถให้ฝอยละอองยำ เข้ำถึงทำงเดินหำยใจส่วนล่ำงได้ดีใกล้เคียงกับ spacer ที่ผลิตจำกบริษัท (Level I, Grade C) วิธีการใช้ p-MDI ร่วมกับ spacer (Level V, Grade A) 1. เปิดฝำครอบหลอดยำ 2. เขย่ำหลอดยำในแนวดิ่ง 3-4 ครั้ง ให้ยำผสมกันดี 3. ต่อหลอดยำเข้ำกับ spacer 4. ครอบ facemask ของ spacer เข้ำกับจมูกและปำก กรณีที่ใช้ mouthpiece ให้ใช้ปำกอม mouthpiece ให้สนิท โดยให้ mouthpiece อยู่ระหว่ำงฟัน 5. กดยำให้เข้ำไปใน spacer 6. หำยใจเข้ำออกธรรมดำ 5-10 ครั้ง โดยไม่จำเป็นต้องกลั้นหำยใจ หลังจำกนั้นเอำ mouthpiece หรือ facemask ออกจำกปำกหรือใบหน้ำ 7. หำกต้องกำรใช้ยำมำกกว่ำ 1 กด ให้เว้นช่วงในกำรกดยำแต่ละครั้งอย่ำงน้อย 15-30 วินำที แล้วทำซ้ำข้อ 4-6 8. ในกรณีที่ใช้ยำในกลุ่ม corticosteroid ต้องบ้วนปำกทุกครั้งหลังใช้ยำ หำกใช้ facemask ควรใช้ผ้ำชุบน้ำเช็ดบริเวณหน้ำและรอบปำกทุกครั้งหลังกำรใช้ยำ การตรวจสอบปริมาณยาในกระบอกยา
  • 27. 27 เนื่องจำกยำชนิด p-MDI ไม่มีตัวเลขแสดงว่ำมียำเหลืออยู่ปริมำณเท่ำใด ดังนั้น แพทย์ต้องแนะนำ ให้ผู้ใช้ยำทรำบถึงวิธีตรวจสอบ แต่เดิมแนะนำให้ทำ floating test โดยถอดหลอดยำส่วนที่เป็นโลหะ (canister) ออกจำกส่วนที่เป็นพลำสติกแล้วนำไปลอยน้ำ สังเกตดูกำรเอียงของ canister ในปัจจุบันไม่แนะนำให้ใช้วิธีนี้ เนื่องจำกไม่แม่นยำ กำรตรวจสอบปริมำณยำที่เหลืออยู่ที่ดีที่สุด คือ กำรจดบันทึกวันที่เริ่มใช้ยำและคำนวณว่ำ ยำจะหมดเมื่อใด โดยคิดจำกปริมำณยำที่มีทั้งหมดและปริมำณยำที่ใช้ในแต่ละวัน (Level II, Grade A) เช่น ยำ 1 หลอดใช้ได้ 120 กด ถ้ำใช้วันละ 2 กด ควรใช้ได้ประมำณ 60 วัน เป็นต้น 3. Dry powder inhaler Dry powder inhaler (DPI) เป็นวิธีกำรบริหำรยำชนิดฝอยละออง โดยอนุภำคยำอยู่ในรูปผง เมื่อผู้ใช้สูดหำยใจเข้ำ แรงสูดจะทำให้อนุภำคยำแยกหลุดจำกกันแตกออกเป็นฝอยละออง อุปกรณ์ที่ใช้มีหลำย ชนิด เช่น Turbuhaler® (ภำพที่ 13), Accuhaler® (หรือ Diskus® ) (ภำพที่ 14), Easyhaler® ปริมำณยำที่เข้ำสู่ ปอดจะสูงกว่ำกำรใช้ยำแบบ p-MDI ประมำณ 2 เท่ำ ภำพที่ 13 แสดงกำรทำงำนของ DPI ชนิด turbuhaler®
  • 28. 28 ภำพที่ 14 แสดงกำรทำงำนของ DPI ชนิด diskus® หรือ accuhaler® ข้อดีของกำรใช้ยำวิธีนี้คือ พกพำสะดวกเนื่องจำกมีขนำดเล็ก ไม่มีสำร CFC มีตัวเลขบอก ปริมำณยำที่เหลืออยู่ ไม่มี cold freon effect และที่สำคัญคือ ไม่ต้องกำหนดจังหวะกำรหำยใจให้สัมพันธ์กับ กำรกดยำ เพียงอำศัยแรงสูดที่มำกพอเท่ำนั้น โดยต้องมี inspiratory flow rate ประมำณ 30-60 ลิตร/นำที ขึ้นกับชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้ (Level I, Grade A) ข้อจำกัดของกำรใช้ยำคือ ในเด็กอำยุน้อยมักสูดไม่เป็นหรือแรงสูดไม่มำกพอ นอกจำกนี้ ผู้ป่วยที่กำลังมีอำกำรหอบเหนื่อย อำจไม่มีแรงสูดที่มำกพอ วิธีการใช้ยาชนิด Turbuhaler® (Level V, Grade A) 1. เปิดฝำหลอดยำ 2. ใช้มือข้ำงหนึ่งจับที่ฐำนหลอดยำ ให้หลอดยำตั้งตรง แล้วใช้มืออีกข้ำงหมุนหลอดยำไป ทำงขวำแล้วหมุนกลับจนมีเสียงคลิก (เพื่อปล่อยยำออกมำ) 3. หำยใจออก 4. ใช้ปำกอม mouthpiece ปิดปำกให้สนิท ให้ mouthpiece อยู่ระหว่ำงฟัน 5. สูดยำโดยหำยใจเข้ำทำงปำกแรงพอควร สูดหำยใจช้ำๆ ไม่จำเป็นต้องกลั้นหำยใจ 6. เอำหลอดยำออกจำกปำก แล้วหำยใจออกช้ำ ๆ (ห้ำมหำยใจออกเข้ำไปในหลอดยำ) 7. ถ้ำเป็นยำชนิด corticosteroid ต้องบ้วนปำกทุกครั้งหลังใช้ยำ